Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า

Description: การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า

Search

Read the Text Version

“เหด็ ฟาง” เปน็ เห็ดยอดนยิ มของคนไทย สามารถผลติ ได้ในทกุ พน้ื ทขี่ องประเทศไทย แต่เน่ืองจาก การเพาะเห็ดสว่ นใหญ่จะต้องใชพ้ น้ื ที่ในการเพาะ ทาให้ไมส่ ะดวกสาหรับผ้ทู ่มี พี ้ืนทน่ี ้อย จงึ ทาใหม้ ีการ พฒั นาวธิ ี “การเพาะเหด็ ฟางในตะกร้า” ซึ่งสามารถช่วยแก้ปญั หาเร่ืองพน้ื ทีก่ ารเพาะเหด็ และการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ ยงั เปน็ การเพาะเหด็ ทม่ี ีขัน้ ตอนการทาที่ไม่ยุง่ ยาก ใช้แรงงานนอ้ ย เหมาะสาหรับการทาเพื่อ บรโิ ภคในครัวเรือน หรอื เป็นอาชพี เสริม เหด็ ฟาง หรือเหด็ บัว มีชือ่ สามญั ว่า Straw Mushroom มีถิน่ กาเนิดจากประเทศจนี เหด็ ฟางเปน็ เหด็ ท่ี ขน้ึ ตามกองฟาง ดอกตูมมีลักษณะเปน็ ก้อนกลมสขี าว มเี ย่ือห้มุ กระเปาะคล้ายถ้วยรองรับฐานเห็ด เรยี กว่า “ผ้าอ้อมเห็ด” เมือ่ หมวกเหด็ เจริญเติบโตเตม็ ทีจ่ ะกางออกคล้ายร่ม ด้านบนของหมวกเห็ดจะมีสเี ทาออ่ นหรือ เทาเข้ม ผวิ เรียบและอาจมขี นละเอยี ดคลมุ อยู่บางๆ คลา้ ยเส้นไหม ด้านลา่ งมคี รีบดอกบางๆ ก้านดอกสขี าว เน้ือในแน่นละเอยี ด ออกดอกทุกฤดูกาล เหด็ ฟาง นอกจากสามารถนามาปรงุ อาหารได้หลายอย่าง ยงั มีสรรพคณุ ทางยาอกี ดว้ ย เพราะในเหด็ ฟางจะมีสาร Volvatoxin ซ่งึ มฤี ทธใ์ิ นการช่วยป้องกันการเจรญิ เตบิ โตของไวรัสที่ทาใหเ้ กิดไข้หวดั ใหญ่ ชว่ ย ลดปญั หาเก่ียวกบั ไขมนั ในเส้นเลอื ดและโรคหัวใจได้ และเห็ดฟางยังมสี ว่ นช่วยในการย่อยอาหาร แกร้ ้อน ใน และบารุงรา่ งกาย คุณคา่ ทางอาหารของเห็ดฟาง (100 กรัม) พลังงาน 35 Kcal โปรตีน 3.2 กรัม ไขมนั 0.2 กรัม คารโ์ บไฮเดรต 5 กรัม แคลเซยี ม 8 มิลลิกรมั ฟอสฟอรัส 18 มิลลกิ รัม เหลก็ 1.1 มลิ ลิกรมั ไนอะซนิ 3 มลิ ลกิ รัม วติ ามนิ ซี 7 มิลลกิ รัม

วัสดุและอปุ กรณ์ 1. ตะกร้าพลาสติก ขนาด สูง 11 นวิ้ เสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 18 นวิ้ - หากใชต้ ะกรา้ เก่า ให้ล้างทาความสะอาดแล้วตากแดดไว้ 1 แดด 2. วสั ดใุ นการเพาะเห็ดฟาง - กอ้ นเชือ้ เหด็ ทห่ี มดอายุ ควรเลือกกอ้ นเชื้อท่ีไม่เปน็ โรค หรอื มลี ักษณะการทาลายของแมลง (ถา้ เป็นกอ้ นเชื้อเหด็ นางฟา้ หรอื ภูฐานจะดกี วา่ เห็ดหูหนู) - ชานอ้อย / ขี้เล่อื ยไม้ยางพารา / เปลือกมันสาปะหลงั / ฟางขา้ ว / เปลอื กถวั่ เขียว / ตน้ กลว้ ย ตน้ ปรอื หั่นตากแห้ง / หญา้ ขนหรือหญ้าแห้งที่มีเนื้อหนา – ผกั ตบชวาแหง้ (ควรหมักด้วย EM) / ใบเตย (ใช้ชว่ งโคน ตน้ ) 3. หัวเชื้อเห็ดฟาง ควรมีลกั ษณะของหวั เชื้อเห็ดฟางทีด่ ี ดังน้ี 1) เส้นใยของเห็ดฟางเพ่ิงเดนิ เตม็ ถงุ หัวเช้ือใหม่ๆ ถา้ เชื้อเดินเตม็ แล้วควรใช้ภายใน 7 วนั 2) หัวเช้ือเห็ดฟางไม่ควรมกี ล่ินแอมโมเนีย ควรมีกล่ินหอมของเห็ดฟาง 3) เส้นใยของเหด็ ฟางเดนิ เต็มถงุ ไมม่ ีเชื้อราอืน่ หรือแมลงทาลายภายในถงุ กอ้ นหัวเช้ือเหด็ 4) เส้นใยไมย่ บุ ตัวหรอื สลายตวั เป็นสเี หลืองเหน็ หยด 5) เสน้ ใยของหัวเชอ้ื เห็ดต้องมสี เี ทาออ่ น ไมฟ่ ู หนาแน่นสมา่ เสมอ 6) ไมม่ ีดอกเหด็ เกดิ ในถุงหวั เช้ือเหด็ 7) วัสดุในถุงไมเ่ ละ ไม่เปยี ก ไม่แฉะ น้าไม่มาก 8) วัสดเุ ลี้ยงเชอ้ื เกาะเป็นก้อน เสน้ ใยสานกนั 4. อาหารกระตนุ้ หัวเช้ือเห็ด ไดแ้ ก่ แป้งสาลี หรือแปง้ ข้าวเหนียว 5. อาหารเสริม เชน่ ผักตบชวา (สด , แหง้ ) / มลู โคหรือมลู กระบือ (แห้ง) / ราละเอียด / ไส้นนุ่ / ปยุ๋ ยูเรยี / จอก

ขน้ั ตอนการเตรยี มวสั ดเุ พาะและสถานท่ีเพาะ 1. การเตรียมสถานท่ี - พ้นื ที่เรยี บ สม่าเสมอ น้าไม่ทว่ ม - สะอาด ปราศจากโรคแมลง และสารพิษ - ไม่ห่างแหล่งน้า และสะดวกในการเขา้ ปฏิบตั ิงาน 2. การเตรียมวสั ดุเพาะ - วสั ดเุ พาะควรเปน็ วสั ดใุ หม่ ไม่เกา่ ค้างนานเปน็ ปี - สะอาด ปราศจากโรคแมลง และสารพิษ - ก่อนนามาเพาะจะต้องแชน่ ้า หรือรดนา้ จนมคี วามช้นื เพยี งพอ ซงึ่ วสั ดทุ ่ตี ่างชนดิ กัน จะมกี ารดดู เก็บความชื้นได้เรว็ ไม่เท่ากัน - การใช้ฟางเปน็ วัสดุเพาะ สามารถเตรียมได้ 2 แบบ คอื 1) การใช้ฟางแห้งแช่นา้ นาน 12 ชวั่ โมง แต่หากแช่นานเกนิ 12 ชัว่ โมง จะเร่มิ มีกล่ินเน่า ใช้ เพาะได้ไมด่ ี ในกรณีที่แช่ฟางน้อยกว่า 12 ชวั่ โมง ฟางจะแหง้ เกนิ ไปกอ่ นทจ่ี ะเกดิ ดอกเหด็ 2) การใชฟ้ างแหง้ หมกั จลุ ินทรยี น์ าน 30 นาที โดยใช้นา้ สะอาด 10 ลติ รผสมกับ EM 10 ซซี ี ตอ่ ฟางแหง้ 2 กิโลกรัม - การใช้ข้เี ล่อื ยไมย้ างพารา ไม้เน้ืออ่อน ไมม้ ะม่วง สะเดา จามจรุ ี เป็นวสั ดุเพาะเหด็ ฟาง ใหผ้ สมน้า สะอาด 10 ลิตร ผสมกับ EM 10 ซซี ี เทรดบนกองข้ีเลอื่ ย แลว้ คลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กนั ตรวจวัดความช้ืนใหไ้ ด้ ประมาณ 60 – 65 % โดยใหก้ าขเ้ี ลอ่ื ยทรี่ ดนา้ แลว้ บีบแรงๆ จะไมม่ นี า้ ไหลออกมาบริเวณง่ามนิว้ มอื พอคลาย มอื ออกขีเ้ ลื่อยจะเป็นก้อน แสดงวา่ มคี วามช้นื พอดี แลว้ คลมุ ดว้ ยกระสอบป่าน หมักท้งิ ไว้ 10 วนั - การใช้ก้อนเช้อื เห็ดนางฟ้า เหด็ นางรม ทหี่ มดอายุ ควรเลอื กกอ้ นเช้อื ท่ีไม่เป็นโรค หรอื มีลกั ษณะ การทาลายของแมลง และใหห้ มกั ไว้ 10 วนั

3. การเตรยี มอาหารเสรมิ - ให้เลือกผักตบชวาท่โี ตเตม็ ที่ ไม่มีโรค คัดใบแห้ง ใบเน่าออกให้หมด - ผักตบชวาในน้าไหล (แมน่ ้า ลาคลอง) จะดกี ว่าผกั ตบชวาในน้านงิ่ (บ่อ หนอง บงึ ) - ทาความสะอาดท้งั ตน้ ใบ ราก ดว้ ยการกดใหจ้ มนา้ และเขย่าในน้าสะอาด - หัน่ ผักตบชวาทัง้ ตน้ ใบ ราก - ห่นั เฉยี งขนาดไมเ่ กิน 1 นวิ้ 4. การเตรยี มหัวเช้ือเหด็ ฟาง - นาหวั เชื้อเหด็ ฟางมาฉกี เป็นชน้ิ เลก็ ๆ ขนาดประมาณหวั แม่มือ ใส่ในกะละมังท่เี ตรยี มไว้ - ใสแ่ ป้งสาลไี มเ่ กิน 1 ช้อนโตะ๊ พนู - โรยใหท้ ัว่ บนหัวเช้อื เหด็ ฟาง - คลกุ เคลา้ ให้เขา้ กนั ข้ันตอนการเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ 1. ใส่ฟางใหก้ ระจาย ให้ทว่ั สมา่ เสมอ อัดให้แน่น 2. ใส่ฟางหนาประมาณ 2 นวิ้ คร่งึ หรือประมาณชอ่ งที่สองของตะกร้า 3. ใส่อาหารเสริม (ผักตบชวา) ชิดขอบตะกร้ากว้างประมาณ 1 ฝา่ มือ โดยให้เวน้ ตรงกลางตะกร้าไว้ 4. นาหัวเชอ้ื เห็ดฟางท่ีเตรียมไว้ โดยใหห้ ยบิ เป็นชน้ิ ขนาดหัวแมม่ อื แล้วเหนบ็ บริเวณชิดรขู องตะกรา้ กดลกึ ลงบนอาหารเสรมิ (เสร็จชั้นที่ 1) 5. นาฟางใสแ่ ล้วอดั ให้แน่นถึงชอ่ งที่ 4 ของตะกรา้ (ใหม้ คี วามหนาเทา่ ชัน้ ที่ 1) 6. โรยอาหารเสรมิ เท่าชน้ั ที่ 1 7. นาหวั เชือ้ เห็ดฟางเหน็บบรเิ วณชดิ รตู ะกรา้ เหมอื นช้นั แรก 8. ใส่ฟางจนเตม็ ช่องบนสุดของตะกร้าแลว้ กดให้แนน่ 9. นาผกั ตบชวาใส่ให้เตม็ ทด่ี ้านบนแลว้ กดใหแ้ นน่ (ไมต่ ้องเว้นตรงกลาง) 10. นาหวั เชอ้ื วางเหน็บกระจายให้ท่วั แลว้ นาฟางคลุมด้านบนสดุ กดให้แนน่ โดยให้หนาประมาณ 1 นิ้ว

การดูแลเหด็ ฟางในตะกรา้ ปัจจยั สาคญั ทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเตบิ โต 1. อุณหภมู ิ ในช่วงท่เี ปน็ “เสน้ ใย” ควรอยทู่ ่รี ะดับ 38 องศาเซลเซียส (หรือ 36-40 องศาเซลเซียส) และในชว่ งเปน็ “ดอก” ควรอยทู่ ร่ี ะดบั 32 องศาเซลเซยี ส หรอื 30-34 องศาเซลเซียส ควบคุมอุณหภูมดิ ว้ ย การลดความรอ้ นภายใน (เปดิ ผา้ พลาสติกหรอื ใช้วัสดพุ รางแสงคลุมเพ่มิ ) 2. ความช้ืนสัมพัทธ์ ในช่วงทเี่ ป็น “เส้นใย” ควรอยทู่ ร่ี ะดบั 85 % และในชว่ งทีเ่ ปน็ “ดอก” อยู่ที่ ระดบั 75 % 3. กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ - วนั ที่ 1-3 ใหอ้ ุณหภูมอิ ยู่ท่ี 38 องศาเซลเซียส - วนั ท่ี 4 เชอื้ เหด็ จะเดินเต็มวสั ดุเพาะ พรอ้ มจะสร้างดอกเหด็ (ใหเ้ ปดิ ผ้าพลาสติกออก ทัง้ หมดในชว่ งเยน็ เป็นเวลา 30 นาที เพือ่ กระตุ้นให้เสน้ ใยเห็ดสรา้ งดอกเหด็ ) - วนั ที่ 5 เปดิ ผ้าพลาสตกิ ออกเพื่อระบายอากาศ 15 นาที ทกุ เช้าและเยน็ จนกระท่งั เก็บ ผลผลติ คร้ังสดุ ท้าย - วนั ท่ี 8 เร่ิมเกบ็ ผลผลติ ได้ - การเกบ็ ผลผลติ ควรเกบ็ ตอนเชา้ มืด เพอื่ ดอกเหด็ จะไดไ้ ม่บาน - วธิ กี ารเก็บ ดา้ นบนให้ใชน้ ้ิวหวั แมม่ ือกับนิ้วชีก้ ดดอกเห็ดแล้วหมนุ เล็กน้อย ยกข้นึ เบาๆ ดอกเห็ดจะหลุดออกมาโดยงา่ ย ถ้ามดี อกเหด็ อยู่ตดิ กนั หลายดอกใหเ้ กบ็ พร้อมกันท้ังหมด เพราะหากเกบ็ เฉพาะดอกทีโ่ ต ดอกทเ่ี หลือจะฝอ่ และตาย