รูปรา่ งลกั ษณะและชีวประวัติ (Papilio demoleus malayanus) ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางวันขนาดใหญ่ เมื่อกางปีกทั้งสองข้าง ขนาด 7.0-9.0 เซนติเมตร ปกี คหู่ นา้ มสี ีเทาปนดำ และมจี ดุ สีเหลอื ง กระจายอย่ทู ่ัวปีกท้งั สองขา้ ง ไข่ แมผ่ ีเสือ้ จะวางไข่เป็นฟองเด่ียวๆ ขนาดประมาณ 1.0 มลิ ลิเมตร บนใบอ่อนหรือยอดอ่อน ส้ม มลี ักษณะเป็นทรงกลมสเี หลอื งอ่อน ระยะไข่ 3-4 วนั หนอน หนอนวัยแรกๆ มีสีน้ำตาลปนเหลือง มีลักษณะคล้ายมูลนก พอโตข้ึนจะเปล่ียนเป็น สเี ขียว ขนาดโตเตม็ ที่ยาวประมาณ 3.5-4.0 เซนติเมตร ระยะหนอน 13-25 วัน ลอกคราบ 3-4 ครง้ั ดักแด้ มสี เี ขยี วหรอื สนี ำ้ ตาล มเี สน้ ใยเลก็ ๆ ยดึ ตดิ อยกู่ บั กงิ่ สม้ ประมาณ 9-12 วนั จงึ เปน็ ตวั เตม็ วยั มักพบหนอนแก้วสม้ ระบาดในชว่ งฤดฝู นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตลุ าคม พืชอาหาร ส้มโอ สม้ เขยี วหวาน และพืชตระกูลสม้ ทกุ ชนิด ศตั รูธรรมชาติ มวนพฆิ าต, Eocanthecona furcellata Wolff เปน็ ตัวหำ้ ในระยะหนอน และพบแตนเบยี น ไข่ Trichogramma papilionis ส่วนในระยะดักแด้พบแตนเบียน Pteromalus puparum L. และ แมลงวันเบยี น Erycia nymphalidophaga Baronoff การปอ้ งกนั กำจัด 1. หมั่นสำรวจแปลงเม่ือส้มโอแตกใบอ่อนสามารถเห็น ไข่ หนอน หรือดักแด้ ได้ค่อนข้าง ชัดเจน ให้เก็บทำลายเสยี เพอ่ื เป็นการลดประชากรแมลง 2. บงั คับยอดให้แตกพรอ้ มกนั เพอื่ สะดวกในการดแู ลรักษา 3. หากพบการระบาดมาก อาจจำเป็นต้องพ่นด้วยสารฆา่ แมลง โดยเฉพาะในส้มโอปลกู ใหม ่ ผเี สื้อมวนหวาน (fruit piercing moth) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Eudocima phalonia (Linnaeus) วงศ์ Noctuidae อนั ดับ Lepidoptera แมลงศตั รไู มผ้ ล 95
ความสำคัญและลักษณะการทำลาย ผีเสื้อมวนหวานเป็นแมลงศัตรูท่ีสำคัญของไม้ผลหลายชนิด เฉพาะตัวเต็มวัยเท่านั้นเป็นศัตรูท่ี ทำลายผล โดยใช้ปากที่แข็งแรงแทงเข้าไปในผลไม้ที่สุกแล้วดูดกินน้ำหวานจากผลไม้นั้น ส้มโอที่ถูก เจาะจะมรี อยแผลเป็นรเู ล็กๆ และมียางไหลออกมา ผลจะเน่าเป็นวง รอยแผลนจี้ ะเปน็ ชอ่ งทางการเข้า ทำลายของแมลงวันผลไม้ต่อไป ผลส้มโอจะร่วงในที่สุด ผีเส้ือมวนหวานพบระบาดทั่วไปในแหล่งปลูก ส้มโอ หรือผลไม้ชนิดอื่นๆ บริเวณใกล้ป่าหรือหุบเขา ระยะเวลาการระบาดอยู่ในช่วงท่ีส้มโอกำลังแก่ ใกลเ้ กบ็ เกีย่ ว รูปรา่ งลักษณะและชวี ประวัติ ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดใหญ่ ปีกคู่หน้ามีสีน้ำตาลปนเทา ปีกคู่หลังมีสีเหลืองส้ม ขอบปีกดา้ นนอกสีดำ และกลางปกี มแี ถบสดี ำคล้ายรูปพระจนั ทรเ์ สี้ยวข้างละ 1 อัน เมอื่ กางปกี ท้งั สอง ขา้ ง มีขนาดประมาณ 8.5-9.0 เซนติเมตร ไข่ ผีเสื้อวางไข่เป็นฟองเด่ียวบนใบพืชได้ประมาณ 200-300 ฟอง ไข่มีลักษณะทรงกลมสี เหลืองออ่ น เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 1 มิลลิเมตร ระยะไข่ 2-3 วนั หนอน ที่ฟักออกจากไข่จะมีสีเขียวใสยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร หนอนมี 7 ระยะ เม่ือ หนอนโตเต็มที่จะมีสีน้ำตาลปนดำ ด้านข้างท้องปล้องที่ 2 และ 3 จะมีลายวงกลมสีขาวและส้ม นอกจากนี้ ยงั มจี ุดขาวแดงอมส้ม และฟ้าซึง่ เป็นจดุ เล็กๆ กระจายอยูท่ ว่ั ตวั ระยะหนอน 12-21 วัน ดักแด้ หนอนจะนำใบพืชมาห่อหุ้มตัวแลว้ เข้าดกั แดอ้ ยภู่ ายใน ระยะดกั แด้ 10-12 วนั พชื อาหาร พืชอาหารระยะหนอน คอื ใบยา่ นาง ใบข้าวสาร และใบบอระเพด็ พชื อาหารระยะตวั เต็มวยั ได้แก่ สม้ เขียวหวาน ส้มโอ มะนาว เงาะ ลำไย ลน้ิ จ่ี มะมว่ ง อง่นุ กล้วย ลางสาด ลองกอง พุทรา มังคุด และไมผ้ ลอนื่ ๆ การป้องกนั กำจัด 1. กำจัดวชั พืช และพืชอาหารในระยะหนอน เชน่ ใบย่านาง ใบขา้ วสารทีอ่ ยู่ในบรเิ วณแปลง ปลกู สม้ โอ เพือ่ ไม่ให้เปน็ ทอี่ าศัย และเป็นอาหารหนอน 2. ใช้กบั ดกั แสงไฟ black light ลอ่ ตวั เตม็ วัย ในชว่ ง 20.00-22.00 น. เปน็ ชว่ งท่ีตัวเตม็ วยั ออกหากนิ มากทีส่ ดุ 3. ใชเ้ หยอ่ื พิษล่อตัวเตม็ วยั โดยใชผ้ ลไมส้ ุกที่มีกล่นิ หอม เชน่ ลกู ตาลสุก หรือสบั ปะรดตดั เปน็ ชิ้นๆ หนาประมาณ 1 น้ิว แล้วจุ่มในสารฆ่าแมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อัตรา แมลงศัตรูไม้ผล 96
2 กรัมผสมน้ำ 1 ลิตร แชท่ ้ิงไวป้ ระมาณ 5 นาที นำเหย่ือพษิ ไปแขวนไว้ทีต่ น้ ส้มโอ เพลีย้ หอยสแี ดงแคลิฟอร์เนีย (California red scale) ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Aonidiella aurantii (Maskell) วงศ์ Diaspididae อนั ดับ Hemiptera ความสำคญั และลักษณะการทำลาย เพลี้ยหอยดูดกินน้ำเลี้ยงบนผลส้มโอ เมื่อมีการระบาดรุนแรงปริมาณเพลี้ยหอยส้มที่เกาะอยู่ บนเปลอื กสม้ หนาแน่นมาก จนมองดคู ลา้ ยสนมิ เหลก็ ทั้งผล การทำลายบนผลออ่ นจะทำใหผ้ ลแคระแกรน็ เน้ือในแข็งหยุดการพัฒนาแล้วร่วงหล่น หากลงทำลายในช่วงที่ผลแก่จัดจะไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพ ของเน้ือ แต่มีผลกระทบโดยตรงกับราคาผลผลิต ซึ่งจะต่ำมาก นอกจากผลส้มแล้วเพล้ียหอยยัง สามารถทำลายก่ิง กา้ น ใบ และตลอดลำต้นอกี ดว้ ย อาจทำใหก้ ิง่ สม้ แห้งตายได้เม่ือมกี ารระบาดมากๆ แมลงชนิดนี้ยังไม่เป็นศัตรูที่สำคัญของส้มโอ พบการระบาดเป็นบางบริเวณ อากาศแห้งแล้ง จะทำใหร้ ะบาดได้เร็วขน้ึ รูปรา่ งลักษณะและชวี ประวัติ ตัวเตม็ วัย เพศเมียออกลูกเปน็ ตวั ตัวหนงึ่ ๆ สามารถผลติ ลกู ได้ 10-15 ตวั ต่อวัน ผลิตลูกได้ นาน 30-40 วนั วงจรชวี ิตประมาณ 20-25 วนั ตัวอ่อน เพศเมียรูปร่างค่อนข้างกลม สีส้มปนน้ำตาลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 2 มิลลิเมตร ตัวอ่อนเพศผู้มีรูปร่างคล้ายหยดน้ำมีความยาวลำตัวไม่เกิน 1.5 มิลลิเมตร ตัวอ่อน (crawler) เม่ือออกจากแม่ เรมิ่ เดินหาท่เี กาะอาศยั ตามพืชอาหาร เมอื่ พบตำแหนง่ ท่ีเหมาะสมกจ็ ะเกาะ นง่ิ ดูดกินน้ำเลยี้ งและสร้างสิ่งหอ่ ห้มุ ลำตัวเป็นแผ่นกลมๆ สขี าว (white cap) แลว้ จะเริม่ เปลย่ี นสีเป็น สีน้ำตาลและมีขนาดใหญ่ขึ้น หลังจากลอกคราบคร้ังแรกแล้ว สามารถแยกเพศได้ชัดเจน การเจริญ เติบโตของเพศเมียต้ังแต่ตวั อ่อนถงึ ตวั เต็มวัยที่ผลติ ลูกไดป้ ระมาณ 45-60 วนั พืชอาหาร ส้มโอ ส้มเขยี วหวาน ศตั รธู รรมชาต ิ พบแมลงเบียนที่พบลงทำลาย คือ แตนเบียน Comperiella bifasciata (Hymenoptera : Encyrtidae) และแตนเบียน Aphytis spp. (Hymenoptera : Aphelinidae) 3 ชนดิ แมลงศตั รูไมผ้ ล 97
การป้องกนั กำจัด 1. เกบ็ ผล กงิ่ หรอื ใบ ทถี่ กู ทำลายไปเผาหรือฝงั 2. พบการระบาดพน่ ดว้ ย malathion (Malathion 83 83% EC) อัตรา 50-70 มลิ ลิลติ รตอ่ น้ำ 20 ลติ ร ผสม white oil ให้ทั่วบรเิ วณท่ถี กู ทำลาย การพ่นเพอ่ื ป้องกนั กำจัด ควรกระทำในชว่ งท่ี เพลี้ยหอยอยู่ในวัย 1-2 ได้ผลดีกว่าพ่นในขณะที่เป็นตัวเต็มวัย และหลังจากพ่นแล้วพบมีการระบาด ควรตรวจดตู ัวเต็มวยั วา่ มชี วี ติ หรือไม่ กอ่ นพน่ สารครั้งต่อไป เอกสารประกอบการเรียบเรยี ง โกศล เจริญสม. 2521. แมลงศัตรูไมผ้ ล. ภาควิชากฏี วิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ์ กรงุ เทพฯ. 167 หนา้ . โกศล เจรญิ สม และ สอุ าภา ดสิ ถาพร. 2533. ศัตรูธรรมชาตขิ องศตั รไู ม้ผลและการอนรุ ักษ์โครงการ ควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี-ATT. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด บางเขน กรงุ เทพฯ. 112 หน้า. ชลิดา อุณหวุฒิ. 2534. แมลงศัตรูส้ม. น. 71-100. ใน เอกสารวิชาการเร่ืองแมลงศัตรูไม้ผล ประกอบการอบรมหลักสูตรแมลง สัตว์ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด คร้ังที่ 6 วันที่ 17-28 มิถนุ ายน 2534. กองกีฏและสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร. กรุงเทพฯ ชลดิ า อณุ หวฒุ ิ สราญจติ ไกรฤกษ์ และสาทร สริ ิสงิ ห.์ 2534. ศกึ ษาการทำลายของหนอนฝีดาษส้ม บนสม้ โอ. น. 127-134. ใน รายงานผลการวิจยั ประจำปี 2534. กลุม่ งานวจิ ยั แมลงศตั รูไมผ้ ล และพืชสวนอนื่ ๆ กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวิชาการเกษตร. นิรนาม. 2530. ส้มโอ. กลุ่มเกษตรสัญจร ตู้ ปณ.79 บางเขน กรงุ เทพฯ. 71 หน้า. นริ นาม. 2553. คำแนะนำการปอ้ งกนั กำจัดแมลงและสตั ว์ศัตรพู ืชปี 2553. เอกสารวชิ าการเกษตร กลุ่ม กฏี และสตั ววิทยา สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพชื กรมวชิ าการเกษตร. กรงุ เทพฯ. 303 หน้า. บปุ ผา เหล่าสินชัย และ ชลิดา อณุ หวฒุ ิ. เพลย้ี แป้งและเพลยี้ หอย ศัตรพู ืชทส่ี ำคัญ. กลมุ่ งานอนุกรม วธิ านแมลง กองกีฏและสตั ววทิ ยา กรมวิชาการเกษตร. 70 หน้า. พนมกร วีระวุฒิ สุพัตรา อินทวิมลศรี และชาญชัย บุญยงค์. 2529. การสำรวจเพล้ียอ่อน เพลี้ย กระโดดสม้ และหนอนชอนใบส้ม. น. 25-45. ใน รายงานผลการค้นคว้าวิจยั ปี 2529. กลุ่มงาน วจิ ยั แมลงศัตรูไมผ้ ลและพชื สวนอนื่ ๆ กองกีฏและสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร. กรงุ เทพฯ. แมลงศตั รูไมผ้ ล 98
รจุ มรกต พมิ ลพร นนั ทะ และบงั อร สมานอคั นยี .์ 2537. การเปลย่ี นแปลงประชากรและเปอรเ์ ซน็ ตก์ าร ถกู ทำลายโดยแตนเบยี นของหนอนชอนใบสม้ Phyllcnistis citrella Stainton ในสวนสม้ โอจงั หวดั ชยั นาทแมลงและสตั วศ์ ตั รพู ชื 2537. น. 835-846. ใน เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาทาง วชิ าการครง้ั ที่ 9, 21-24 มถิ นุ ายน 2537 กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ. วิภาดา วังศิลาบัตร. 2537. ชนิดและปริมาณแมงมุมในสวนส้มโอที่ใช้สารสกัดจากสะเดาและสาร เคมี. น.1-23. ใน รายงานการคน้ ควา้ วจิ ัยปี 2537. กลุ่มงานอนุกรมวิธานและวจิ ัยไร กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กรุงเทพฯ. ศริ ณิ ี พูนไชยศร.ี 2533. เพลีย้ ไฟทพ่ี บใหม่ในประเทศไทย. ว.กฏี .สัตว. 12(4): 256-261. ศรจี ำนรรจ์ ศรีจนั ทรา บษุ บง มนสั มนั่ คง สุเทพ สหายา และเกรียงไกร จำเรญิ มา. 2550. ชวี วิทยา และนิเวศวิทยาของหนอนเจาะผลส้มโอในแปลงปลูก. น. 24-33. ใน รายงานผลงานวิจัย ประจำปี 2550. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ.์ สุวรินทร์ บำรุงสุข. 2533. แมลงศัตรูส้มโอที่สำคัญและการป้องกันกำจัด. วารสารเกษตร พระจอมเกล้า. 8(2): 7-14. Ujiye, T. and R.Morakote. 1992. Parasitoids of the Citrus leaf miner, Phyllocnistis citrealla Stainton (Lepidoptera : Phyllocnistidae) in Thailand. Japan J.Appl.Ent.Zool. (Tokyo). 36: 253-255. แมลงศตั รูไมผ้ ล 99
แมลงศตั รูส้มโอ ลักษณะการทำลายของเพลย้ี ไฟพรกิ ทย่ี อดอ่อน และผลออ่ นสม้ โอ ตวั เต็มวยั เพล้ียไฟพรกิ หนอนชอนใบจะชอนไชอยู่ใต้ผิวใบ การทำลายของหนอนชอนใบทยี่ อดออ่ น และผลอ่อนของสม้ โอ หนอนฝดี าษสม้ เจาะทำลายบรเิ วณเปลือกส้ม หนอนฝีดาษส้มออกมาภายนอกปมเพือ่ เข้าดกั แด้ แมลงศัตรูไมผ้ ล 100
การทำลายของหนอนฝดี าษส้มทำให้เปลอื กเปน็ ปุ่มปม การทำลายจะทำลายบรเิ วณผวิ เปลอื กสม้ โอ หนอนเจาะผลสม้ โอเมื่อฟกั ออกจากไขใ่ หมๆ่ หนอนเจาะผลส้มโอเมือ่ เจริญเต็มท่ ี รอยทำลายของหนอนทเี่ พิง่ ฟักออกจากกลมุ่ ไข ่ การทำลายจะเห็นยางไหลผสมขุยมูลหนอน หนอนเจาะผลทำลายจนถงึ เนือ้ ในผลสม้ โอ การทำลายทำใหส้ ม้ โอรว่ งลงสพู่ น้ื เพอ่ื หนอนออกมาเขา้ ดกั แดใ้ นดนิ แมลงศัตรูไมผ้ ล 101
แมลงศัตรูไม้ผล ระยะพัฒนาการของสม้ โอ และระยะ 102 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค การระบาดของแมลง ัศต ูร ืพช ระยะการ ัพฒนาของส้มโอ ระยะแตกใบ ระยะดอก ระยะผลอ่อน ระยะพัฒนาผล ระยะพกั ตวั หนอนชอนใบ เพลี้ยไฟ หนอนเจาะผล หนอนฝดี าษสม้ หนอนแก้วสม้ ผเี ส้อื มวนหวาน เพลี้ยหอย
ะการระบาดของแมลงศัตรทู ่ีสำคญั ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ระยะเก็บเกย่ี ว สม้ ปี (ปลายสิงหาคม) ส้มทวายรนุ่ 1 (กลางมกราคม) ส้มทวายร่นุ 2 (ปลายเมษายน)
แมลงศตั รู องุ่น ศรุต สุทธิอารมณ์ สถานการณแ์ ละความสำคัญ องุ่นเป็นผลไม้เศรษฐกิจชนิดหนึ่ง ท่ีทำรายได้สูงให้แก่ชาวสวน และเป็นท่ีต้องการของตลาด อยา่ งสูงในแต่ละปี เนอื่ งจากมีปรมิ าณไม่เพยี งพอกับความตอ้ งการของตลาด จึงมีอง่นุ ชนิดรบั ประทาน สดท่ีนำเข้าจากต่างประเทศมากขึ้นทุกปี องุ่นเป็นพืชท่ีมีการปลูกแพร่หลายในหลายจังหวัด ท้ังองุ่นรับ ประทานสดชนิดพันธ์ุมีเมล็ด ไร้เมล็ด (Seedless) และทำไวน์ แต่ละแหล่งปลูกสามารถติดดอกออก ผลได้ดี ถ้าผู้ปลูกมีความชำนาญในเร่ืองการดูแลรักษา และมีโอกาสสามารถทดแทนแหล่งปลูกในภาค กลางได ้ สถานการณศ์ ัตรูพชื องุ่นเป็นพืชที่ต้องป้องกันรักษาให้ผลผลิตได้ท้ังปริมาณมากและคุณภาพสูง และขณะเดียวกัน จะต้องรักษาองุ่นให้มีความสมบูรณ์ของต้นเพียงพอเพ่ือการผลิตผลองุ่นในฤดูถัดไป ดังน้ัน ปัญหาศัตรู พืชในองุ่นเป็นสาเหตุท่ีเกษตรกรต้องใช้สารป้องกันกำจัดศัตรูพืชมาก เฉลี่ย 30-40 คร้ัง/ฤดูการผลิต (ประมาณ 90-120 วนั ) ทำใหค้ า่ ใชจ้ า่ ยตน้ ทนุ การผลติ สงู หนอนกระทู้หอม (beet armyworm) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Spodoptera exigua H.u . bner วงศ์ Noctuidae อนั ดบั Lepidoptera ความสำคญั และลักษณะการทำลาย หนอนกระทู้หอม เป็นแมลงศัตรูท่ีสำคัญอันดับหน่ึงขององุ่น ทำความเสียหายต่อผลผลิตองุ่น ท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ กล่าวคือ จะทำความเสียหายโดยหนอนกัดกินทุกส่วนขององุ่นและทุก ระยะพัฒนาได้แก่ ใบ ดอก และผล พบทกุ ฤดูกาลทป่ี ลกู เชน่ ในองนุ่ ต้นใหมท่ ่จี ะเจริญเพอ่ื การเลย้ี งกง่ิ ให้มีการแตกก่ิงมากและมีความสมบูรณ์ของต้นดี และสำหรับองุ่นอายุมากกว่า 1 ปีท่ีให้ผลผลิต พบ ทำความเสียหายต่อผลผลิตโดยตรง คอื กดั กนิ ชอ่ ดอกและผลอ่อน นอกจากน้ี ทำความเสียหายใบอ่อน หรือยอดทเ่ี จริญ เมือ่ ถูกทำลายมากการสะสมอาหารลดลง โอกาสทจ่ี ะมีการตดิ ดอกและผลคอ่ นขา้ งตำ่ ในระยะพัฒนาผลเมื่อใบถูกทำลายมากๆ ทำให้ช่อผลองุ่นถูกแดดเผา สีผิวของผลเปล่ียนไปและไม่เป็น ทตี่ ้องการของตลาด แมลงศัตรไู ม้ผล 103
หนอนกระทหู้ อม เปน็ หนงึ่ ในศตั รพู ชื มปี ญั หาตา้ นทานตอ่ สารฆา่ แมลงโดยมคี วามตา้ นทานตอ่ สาร ฆา่ แมลงทง้ั ในกลมุ่ ยบั ยงั้ การลอกคราบ กลมุ่ ไพรที รอยด์ กลมุ่ ออการโ์ นฟอสเฟส และเชอ้ื แบคทเี รยี ปญั หา ท่ีสำคัญ เม่ือมีการพ่นสารฆ่าแมลงบ่อยครั้ง ทำให้หนอนกระทู้หอมสร้างความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง อยา่ งรวดเรว็ ภายในระยะ 2-5 ปี เมอ่ื มกี ารระบาดของหนอนชนดิ นร้ี นุ แรง และมสี ภาพอากาศทเี่ หมาะสม และพชื อาหารหลายชนดิ เกษตรกรเลกิ การปลกู องนุ่ และพน้ื ทลี่ ดลงไมต่ ำ่ กวา่ 50% ในเขตจงั หวดั ราชบรุ ี และสมทุ รสาคร รปู รา่ งลกั ษณะและชวี ประวตั ิ ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง เพศผู้และเพศเมียมีรูปร่างลักษณะและขนาดใกล้เคียง กนั เพศเมยี ขนาดใหญก่ วา่ เพศผู้ เมอื่ กางปกี กวา้ ง 2.0-2.5 เซนตเิ มตร ปกี คหู่ นา้ สนี ำ้ ตาลแกป่ นเทา กลางปกี มจี ดุ สนี ำ้ ตาลออ่ น 2 จดุ อายตุ วั เตม็ วยั 4-10 วนั สามารถคาดคะเนการระบาดจากปรมิ าณผเี สอ้ื เพศผทู้ ตี่ ดิ กบั ดกั สารลอ่ เพศ ไข่ ผเี สอื้ หนอนกระทหู้ อมวางไขเ่ ปน็ กลมุ่ ใตใ้ บองนุ่ จำนวน 20-80 ฟอง สขี าวขนุ่ และปกคลมุ ดว้ ย ขนสขี าวทเ่ี ปน็ สว่ นของขนจากสว่ นทอ้ งของแมผ่ เี สอื้ เมอ่ื ใกลฟ้ กั จะเปน็ สนี ำ้ ตาลออ่ น ระยะไข่ 2-3 วนั ตัวหนอน ลำตัวอ้วน ผนังลำตัวเรียบ มีหลายสี เช่น สีเขียวอ่อน เทาปนดำ น้ำตาลดำ และ นำ้ ตาลออ่ น ดา้ นขา้ งมแี ถบสขี าวพาดตามยาวลำตวั ดา้ นละแถบจากสว่ นอกถงึ ปลายสดุ ของลำตวั หนอนท่ี ฟักจากไข่ใหม่ๆ อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม หนอนวัยที่ 2-3 กระจายไปตามใบต่างๆ ลอกคราบ 5 คร้ัง ขนาด หนอนโตเตม็ ทยี่ าวประมาณ 3.0 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 14-17 วนั ดักแด้ หนอนเข้าดักแด้อยู่ใต้ดินบริเวณโคนต้น ลึกประมาณ 2.0-5.0 เซนติเมตร ระยะดักแด้ ประมาณ 5-7 วนั วงจรชวี ติ หนอนกระทหู้ อมประมาณ 30-35 วนั พชื อาหาร หนอนกระทหู้ อมมพี ชื อาหารอยา่ งกวา้ งขวาง เชน่ องนุ่ หนอ่ ไมฝ้ รง่ั แตงกวา แตงไท กะหลำ่ ปลี กะหลำ่ ดอก กะหลำ่ ปม ผกั คะนา้ ถว่ั ลสิ ง ถวั่ เขยี ว กระเจย๊ี บเขยี ว หอมแดง หอมหวั ใหญ่ ถวั่ ฝกั ยาว และ ถวั่ อนื่ ๆ ยาสบู ฝา้ ย กระเทยี ม พรกิ มะเขอื มะระ เผอื ก มนั เทศ ขา้ วโพดหวาน และงา เปน็ ตน้ ศัตรูธรรมชาติ ศัตรูธรรมชาติของหนอนกระทู้หอม พบแตนเบียน Apanteles sp. (Family Braconidae) แต่ในแปลงท่ีมีการพ่นสารฆ่าแมลงบ่อยๆ โดยเฉพาะสารฆ่าแมลงกลุ่มไพรีทรอยด์ พบปริมาณศัตรู ธรรมชาติน้อยกว่าแปลงที่มีการใช้สารฆ่าแมลงกลุ่มจุลินทรีย์ พบแตนเบียนชนิดนี้วางไข่บนตัวหนอน ตัวหนอนแตนเบียนอาศัยอยู่ภายในจนเจริญเติบโตเต็มท่ีและออกมาเข้าดักแด้สีขาวหรือน้ำตาลอ่อน บริเวณใกล้เคียงกับตวั หนอนทีถ่ กู ทำลาย แมลงศัตรไู มผ้ ล 104
พบเชอ้ื Nuclear Polyhedrolysis Virus (NPV) ทท่ี ำใหห้ นอนชนดิ น้ตี ายในธรรมชาติ จงึ ไดม้ ี การค้นคว้าวิจัยและพัฒนาปรับปรุงผลิตขยายเชื้อไวรัสควบคุมหนอนกระทู้หอมดังกล่าวในสภาพไร่จน ประสบความสำเรจ็ การป้องกันกำจัด การป้องกันกำจัดเป็นส่ิงที่ต้องดำเนินการเม่ือถึงฤดูการผลิตองุ่น การตัดสินใจข้ึนกับการ ประเมินความเสียหายจากการสุ่มสำรวจ มีการคาดคะเนการระบาดจากสภาพแวดล้อม ฤดูกาล และ ระยะพชื เป็นหลัก การป้องกนั กำจัดในปัจจบุ ัน ไดแ้ ก ่ 1. การใช้สารจลุ นิ ทรีย์ 1.1 การใช้ไวรัส NPV ของหนอนกระทูห้ อม อตั รา 20-30 มิลลิลิตรต่อนำ้ 20 ลติ ร พน่ เม่ือพบหนอนกระทู้หอม จำนวน 2 คร้งั ห่างกัน 3-5 วนั และพ่นซำ้ อีกหากมีการระบาดรุนแรงหรอื ยัง พบการระบาดของหนอนอกี การใช้เชื้อไวรัสจะไดผ้ ลดที ่ีสดุ เม่อื สภาพอากาศมคี วามชน้ื สงู 1.2 การใช้เชอื้ แบคทเี รีย Bacillus thuringiensis ซง่ึ มหี ลายสายพันธแุ์ ละความเข้มข้นที่ ตา่ งกนั เลอื กใชช้ นดิ ที่มีผลดีในการกำจัด เพราะหนอนจะมีความต้านทานต่อสารฆา่ แมลงได้ง่าย มีการ ระบาดในองุ่นรวดเร็วและรุนแรง อตั ราท่แี นะนำ คอื 60-80 กรมั ตอ่ นำ้ 20 ลิตร และควรพน่ ในชว่ ง เวลาเย็น 2. การใช้สารฆ่าแมลงกลุ่มยับย้ังการลอกคราบกำจัดหนอนกระทู้หอม เช่น tebufenucide (Mimic 20 F) อัตรา 5 มลิ ลิลิตรต่อนำ้ 20 ลิตร พ่นเมอื่ พบหนอนเฉลย่ี 1 ตัว/ชอ่ 3. การใช้สารฆา่ แมลงกลุ่มไพรที รอยด์ เนือ่ งจากมีฤทธเ์ิ ฉยี บพลัน ควรพิจารณาก่อนที่จะนำมา ใช้ เนอ่ื งจากมีพิษต่อศัตรูธรรมชาตสิ งู 4. สารฆ่าแมลง chlorfenapyr (Rampage 10% SC) อัตรา 10-20 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลติ ร กำจดั หนอนกระทู้หอม มกี ารพฒั นาใช้ท่เี ฉพาะเจาะจงตอ่ แมลงศัตร ู 5. การใชก้ บั ดกั แสงไฟนีออนเรอื งแสงสีม่วง หรอื สีฟ้า ติดต้ังในแปลงองุ่น เหนอื ร่องนำ้ และ เปดิ ไฟในชว่ งหวั คำ่ 18.00-20.00 น. 6. การจับทำลายหรือในกรณีท่ีมีการระบาดมากให้ใช้ไม้เคาะหลังค้างองุ่น หรือใช้น้ำฉีดพ่นให้ หนอนร่วงตกลงบนพื้นและทำลายเสีย ใช้จาระบี หรือสารฆ่าแมลงทาบริเวณโคนลำต้นองุ่น เพ่ือ ป้องกันมิให้หนอนไต่ขึ้นไปทำลายบนต้นซ้ำอีก 7. ควรทำลายแหล่งระบาดของหนอนในแปลงพชื อาศยั อืน่ ๆ ดงั กลา่ วที่ไมม่ ีการดแู ลรกั ษา แมลงศตั รูไม้ผล 105
หนอนเจาะสมอฝ้าย (cotton bollworm) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Helicoverpa armigera (Hu. .b ner) วงศ์ Noctuidae อนั ดับ Lepidoptera ความสำคัญและลักษณะการทำลาย หนอนเจาะสมอฝ้ายเป็นแมลงศัตรูชนิดหน่ึงท่ีทำให้ผลผลิตขององุ่นเสียหายมาก พบการ ระบาดของหนอนตง้ั แต่ระยะพฒั นาช่อดอก จนถึงระยะผลออ่ นหรือระยะ 15-60 วัน หลงั จากตัดแต่ง ก่งิ อง่นุ หนอนกัดกนิ ทำลายเนื้อและเมลด็ ทำให้ผลท่ีถูกทำลายไมเ่ จริญเตบิ โต สำหรบั พันธไ์ุ วท์มะละกา การตัดแต่งผลอ่อน 2-3 ครั้งต่อฤดูการผลิต มีโอกาสท่ีจะเลือกผลท่ีถูกทำลายทิ้ง แต่ส่วนมากพบ ทำลายท้งั ชอ่ หนอนวยั 1-3 สามารถทำลายในระยะตดิ ผลอ่อน 5-10 ชอ่ ต่อวัน จงึ เป็นการสญู เสยี มากในการผลติ องนุ่ ในช่วงฤดูกาลน้ันๆ การป้องกันกำจัดโดยใช้สารฆ่าแมลงให้มีประสิทธภิ าพ และไมเ่ กดิ ผลกระทบตอ่ พชื ทำได้ยาก เนื่องจากการระบาดอยู่ในช่วงองุ่นพัฒนาช่อดอก ประกอบกับหนอนเจาะสมอฝ้ายมีพืชอาหารหลาย ชนิดและสร้างความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงเกือบทุกชนิดได้เร็ว รวมทั้งลักษณะการทำลายท่ีเจาะกิน ทำลายอยูใ่ นผล ทำให้สารฆา่ แมลงดงั กลา่ วมปี ระสทิ ธภิ าพไมด่ เี ทา่ ทค่ี วร รปู รา่ งลักษณะและชวี ประวตั ิ ตวั เตม็ วยั เปน็ ผีเสือ้ กลางคืนขนาดกลาง เม่ือกางปกี มีขนาดกว้าง 3.2-3.8 เซนติเมตร ผเี สือ้ เพศผู้และเพศเมียแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเม่ือผีเส้ือเร่ิมออกจากดักแด้ใหม่ โดยปีกหน้าของผีเส้ือเพศ เมยี มสี นี ้ำตาลปนแดง เพศผมู้ ีสีน้ำตาลปนเขียว เพศเมยี มีอายุประมาณ 7-11 วัน เฉลี่ย 8.1 วัน เพศผู้ มีอายุประมาณ 7-18 วัน เฉลี่ย 9.3 วัน จะเร่ิมผสมพันธ์ุในช่วงกลางคืน พบผีเสื้ออยู่ตามใบแก่ของ องุ่นและพืชอาศัย นอกจากนี้ สามารถใช้คาดคะเนการระบาดในแปลงองุ่นได้โดยใช้กับดักสารล่อเพศ แมลง แต่ตัวเมียผสมพันธ์ุได้หลายครั้งจึงไม่เหมาะสมในการใช้สารล่อเพศจับเพศผู้ทำลาย (mass trapping) ไข่ ผีเสอื้ วางไขเ่ ปน็ ฟองเด่ยี วๆ ขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 0.4 มลิ ลเิ มตร ตามส่วนอ่อนของพชื เช่น ปลายยอดใบอ่อน และช่อดอก สีขาวนวลเป็นมัน สีของไข่จะเริ่มเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มข้ึนจน เกอื บดำเม่ือใกลฟ้ กั เปน็ ตัวหนอน ระยะวางไข่ 4-8 วัน จำนวนไข่ 648-2,062 ฟอง เฉลย่ี 1,430 ฟอง ระยะไข่ 2-3 วนั ตัวหนอน ที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ หัวกะโหลกกว้างประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ลำตัวยาว แมลงศตั รไู มผ้ ล 106
1.4 มิลลิเมตร ลอกคราบ 5 ครง้ั แลว้ เข้าดักแด้ หนอนวยั 1-4 แต่ละวัยประมาณ 2-4 วัน ระยะหนอน วัยที่ 5 ใช้เวลา 5-7 วัน หัวกะโหลกกว้าง 1.4 มิลลิเมตร ลำตัวหนอนเม่ือเจริญเต็มที่ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร หนอนมีแถบสีน้ำตาล พาดมาตามความยาวของลำตัวหนอน มีสีต่างๆ เป็นหนอนที่มี อปุ นิสยั ว่องไว ชอบเคลอื่ นยา้ ยอยเู่ สมอ ระยะหนอน 14-17 วัน เฉลี่ย 16.3 วัน ดกั แด้ หนอนเข้าดักแด้ในดนิ ระดับความลึก 2.0-5.0 เซนตเิ มตร ระยะกอ่ นเขา้ ดักแด้ หนอน จะเรมิ่ หยุดกนิ หดตวั แล้วทงิ้ ตวั ลงดนิ จากนน้ั หนอนจะกดั ดนิ ให้เปน็ รอ่ งพอท่ตี วั หนอนจะเคลอื่ นตัวได้ เมอื่ ถึงความลึกทีต่ อ้ งการหนอนจะกัดกอ้ นดินบรเิ วณนั้นเปน็ ช่องกลมๆ และเรียบเป็นมัน สร้างใยสขี าว คลมุ ทั่วบรเิ วณแอง่ นน้ั ดักแด้หันหัวข้ึน ดกั แดม้ ีขนาด 4.6 มิลลเิ มตร ยาว 17.8 มิลลเิ มตร ระยะดกั แด้ 10-13 วัน เฉลี่ย 10.9 วัน เมื่อฟักเป็นตัวเต็มวัยคลานขึ้นสู่ผิวดิน ในช่วงหัวค่ำ เม่ือออกจากดักแด้ ใหม่ๆ จะบินมาเกาะอย่ตู ามวชั พืช หรอื พืชอาศยั ท่ผี ิวดินกอ่ นท่ีจะเคลอื่ นย้ายไปทอ่ี ื่น พืชอาหาร แมลงชนิดน้ีมีพืชอาหารที่กว้าง เช่น ข้าวฟ่าง ข้าวโพด ฝ้าย ยาสูบ ถั่วเหลือง พืชตระกูล กะหลำ่ ดอกกุหลาบ สม้ เขียวหวาน และส้มโอ ศัตรูธรรมชาติ มีแมลงศัตรธู รรมชาตหิ ลายชนิดท่ีคอยทำลายไข่ของหนอนเจาะสมอฝ้าย คอื 1. แตนเบยี นไข่ Trichogramma chilotraeae Nagaraja & Nagarkatti, T. chilonis Ishii และ T. australicum Girault อยูใ่ นวงศ์ Trichogrammatidae อนั ดบั Hymenoptera ตัวเต็มวยั วางไขล่ งใน ไข่หนอนเจาะสมอฝ้าย แลว้ อาศัยกนิ ภายในจนกระทั่งเจรญิ เปน็ ตวั เตม็ วยั 2. แมลงวันก้นขน (Tachinid fly) มีหลายชนิด เช่น Exorista spp. วงศ์ Tachinidae อนั ดบั Diptera เป็นแมลงเบยี นของหนอนหลายชนดิ โดยวางไข่ทห่ี วั ของตัวหนอน เมื่อฟกั เปน็ ตัวก็จะ เข้าไปทำลายและเจริญเติบโตเปน็ หนอนวยั ต่างๆ และออกมาเข้าดักแดภ้ ายนอกตัวหนอนที่ทำลาย 3. แตนเบียนหนอน (Braconid) วงศ์ Braconidae อนั ดบั Hymenoptera เป็นแตนเบียน หนอน ตัวเต็มวัยของแตนเบียนวางไข่ลงในตัวหนอน กินและพัฒนาเป็นหนอนจนโตเต็มที่จึงออกมา เขา้ ดักแดภ้ ายนอกตัวหนอน 4. แมลงช้างปีกใส Chrysopa basalis Walker วงศ์ Chrysopidae อันดับ Neuroptera เป็นตวั หำ้ ตวั อ่อนและตัวเต็มวยั ของแมลงชา้ งปีกใสกดั กนิ ไข่และหนอนต่างๆ ในระยะวยั แรกๆ แมลง ช้างปีกใสไข่เป็นฟองเด่ียวๆ และมีก้านไข่ติดกับใบพืช ตัวอ่อนแมลงช้างปีกใสเป็นตัวห้ำที่มี ประสิทธิภาพสังเกตได้ค่อนข้างยาก เน่ืองจากตัวอ่อนแมลงช้างจะนำเศษซากแมลงท่ีเป็นเหย่ือไว้บน หลงั เพอ่ื พรางตัว จะสังเกตไดเ้ ม่ือมีการเคลื่อนไหว แมลงศตั รูไมผ้ ล 107
การป้องกนั กำจัด ในสวนองุ่นมีความจำเป็นต้องดูแลรักษาและป้องกันการเข้าทำลาย เพราะความเสียหายเกิด ขึ้นกับผลผลิตองนุ่ โดยตรง เมื่อเรม่ิ ออกดอกตดิ ผล ควรปฏิบัตดิ งั น ้ี 1. ในระยะออกดอกและติดผลอ่อนหรอื อายตุ ้ังแต่ 60 วนั หลงั จากตัดแตง่ ก่งิ ควรหมน่ั ตรวจดู ชอ่ องนุ่ เม่ือพบมกี ารทำลายในช่อดอก หรือชอ่ ผลอ่อน ควรจับทงิ้ เปน็ วิธีทไี่ ดผ้ ลปลอดภัยแตใ่ ชแ้ รงงาน มากตลอดฤดูระบาด 2. เมื่อเริ่มพบการระบาดทำลายของหนอนเจาะสมอฝ้าย หรือสำรวจพบผีเส้ือจากกับดักสาร ลอ่ เพศแมลง ใชไ้ วรสั NPV หนอนเจาะสมอฝ้าย อัตรา 20-30 มิลลิลิตร ตอ่ นำ้ 20 ลติ ร ใหผ้ ลดใี น การควบคุมหนอนเจาะสมอฝ้ายช่วงองุ่นอายุ 35-70 วัน หรือพ่นตั้งแต่ระยะติดดอกจนถึงองุ่นติดผล ขนาดเมล็ดถั่วเขยี ว การพ่นควรพน่ 2-3 ครงั้ ต่อฤดูกาล 3. การปลิดผลองุ่นในฤดูการผลิต 2-3 ครั้ง โดยปลิดผลท่ีถูกทำลายทิ้ง เน่ืองจากผลที่ถูก ทำลายเหลา่ นั้นไมส่ ามารถที่จะเจรญิ ต่อไปได้ เพล้ยี ไฟพริก (chilli thrips) ช่ือวิทยาศาสตร์ Scirtothrips dorsalis Hood วงศ์ Thripidae อนั ดบั Thysanoptera ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย เป็นแมลงศัตรูท่ีสำคัญชนิดหน่ึงขององุ่นท้ังตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เน่ืองจากมีขนาดตัวเล็กการ ทำลายในระยะแรกจะไม่เด่นชัด เม่ือองุ่นเจริญเติบโตระยะหน่ึงจึงพบส่วนท่ีถูกทำลายมีรอยผิวขรุขระ องุ่นท่ีปลูกจะพบปัญหามากเน่ืองจากสภาพอากาศที่เหมาะสม และการเจริญเติบโตขององุ่นที่มีการ พัฒนาท้ังปี การป้องกันกำจัดเพล้ียไฟพริกในองุ่นมีการพ่นสารฆ่าแมลงจำนวนมาก ทำให้เกิดปัญหา พิษตกค้างของสารฆ่าแมลง นับว่าเป็นแมลงปากดูดที่มีความสำคัญในพืชหลายชนิด ตัวเต็มวัยและตัว อ่อนดูดกินน้ำเล้ียงจากเซลล์พืชทั้งยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และช่อผล ถ้ามีการระบาดท่ีไม่รุนแรง ปรากฎแผลเป็นรอยสีน้ำตาลบริเวณใกล้ข้ัวช่อองุ่น ดอก ใบ หรือ ผล บางคร้ังพบแผลสะเก็ดบนผล องุ่น เม่ือผลอง่นุ ขยายผลโตข้ึน ทำให้บรเิ วณท่ีถูกทำลายแตก และโรคองุน่ เข้าทำลายไดง้ ่าย นอกจากนี้ ช่อหรือยอดอ่อนท่ีถูกทำลายตั้งแต่เล็กจะทำให้การเจริญเติบโตของช่อดอก ใบ หรือผลน้ันแคระแกร็น ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเคล่ือนไหวได้เร็วเมื่อถูกรบกวนมักจะว่ิงหลบซ่อนตัว กระโดดหนีหรือบินหนี มกี ารแพร่กระจายไปแหลง่ อนื่ ๆ โดยลม แมลงศัตรูไม้ผล 108
ตัวเต็มวัย เพลี้ยไฟเป็นแมลงขนาดเล็ก ตัวเต็มวัยมีปีก 2 คู่ ปลายปีกบนมีขนเป็นเส้นยาวๆ ลำตัวยาวประมาณ 1.0 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีสีน้ำตาลปนเหลือง ตารวมมีสีแดงใหญ่เคลื่อนไหวเร็ว มาก ไข่ จะอยภู่ ายในเน้อื เยอ่ื พชื โดยวางไขเ่ ป็นฟองเดี่ยวๆ พบทวั่ ไปบริเวณใบออ่ น ดอก ก้านช่อดอก และผลออ่ น ระยะไข่ 4-7 วัน ตัวอ่อน วัยท่ี 1 มีสีขาวใส ตารวมสีแดงเห็นได้ชัด ส่วนตัวอ่อนวัยท่ี 2 สีของลำตัวจะเป็น สีเหลอื งเข้มข้นึ เคล่ือนไหวไดเ้ ร็วขึ้น ดักแด้ ระยะก่อนเข้าดักแด้พบตัวอ่อนมีแผ่นปีกสั้นๆ ที่ปล้องอก หนวดชี้ตรงไปข้างหน้า ไม่คอ่ ยเคลือ่ นไหว ระยะดักแดร้ ะยะน้ีหนวดจะชีไ้ ปข้างหลัง แผ่นปกี จะยาวขน้ึ พชื อาหาร เพล้ียไฟพริกเป็นแมลงศัตรูพืชอีกชนิดท่ีมีพืชอาหารกว้าง เช่น มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ เงาะ พชื ตระกลู สม้ พืชตระกูลถั่ว และพรกิ เป็นตน้ ศตั รูธรรมชาต ิ ศัตรธู รรมชาตขิ องเพลยี้ ไฟ เช่น แมงมมุ ชนดิ ตา่ งๆ ตวั อ่อนแมลงช้าง และเพล้ียไฟตัวหำ้ การปอ้ งกนั กำจดั การปอ้ งกันกำจดั หมนั่ ตรวจดูเพลยี้ ไฟ โดยเฉพาะองุ่นในแหลง่ ทมี่ พี ชื อาศยั อ่นื ๆ เชน่ มะมว่ ง ในชว่ งฤดอู อกดอกตรวจบริเวณด้านท่อี ยู่ใต้ลมและบริเวณขอบแปลง เมื่อพบการทำลายควรดำเนนิ การ ปอ้ งกันและกำจดั การพน่ สารฆา่ แมลงควรเลือกใช้ชนดิ ที่ไม่มีผลกระทบตอ่ องุ่น การดำเนนิ การ ดังน ี้ 1. หลีกเลีย่ งการปลูกองนุ่ ในพ้นื ทีใ่ กล้เคยี งกับพืชอาศัยอ่นื ๆ เช่น มะมว่ ง ทั้งนี้ เนือ่ งจากเพลย้ี ไฟเปน็ แมลงศัตรทู ่ีมขี นาดเล็ก การเคลือ่ นย้ายด้วยลม ทำใหม้ ีการระบาดของเพล้ยี ไฟในสวนอง่นุ ได้ 2. สารฆา่ แมลง fipronil (Ascend 5% SC) และ imidacloprid (Confidor 100 SL 10% SL) อัตรา 10 มิลลลิ ติ รตอ่ นำ้ 20 ลิตร สามารถลดปรมิ าณและป้องกันกำจดั ไดน้ าน 5 วนั 3. การตดั แต่งกง่ิ ยอด องุ่นเปน็ พืชท่ีมกี ารแตกยอดอ่อนอยูเ่ สมอ ทั้งยอดและตาขา้ งทแ่ี ตกออก มาควรปลดิ ทง้ิ เพราะยอดที่แตกมาใหม่ดังกล่าวจะพบเพลีย้ ไฟเกอื บตลอดเวลา แมลงศตั รูไม้ผล 109
เอกสารประกอบการเรียบเรยี ง กนกพร อ่นุ ใจชน. 2537. ความเปน็ พิษของสารฆา่ แมลงตอ่ หนอนกระทหู้ อมในห้องปฏบิ ตั กิ าร. น. 1-6 ใน เอกสารประกอบการประชมุ สมั มนาทางวิชาการแมลงและสตั วศ์ ตั รูพืช คร้งั ที่ 9, ประจำ ปี 2537 ณ โรงแรมแกรนด์จอมเทยี นพาเลซ จงั หวดั ชลบรุ .ี กนกพร อุ่นใจชน. 2539. ข้อมูลเบ้ืองต้นของการพัฒนาต้านทานต่อสารฆ่าแมลงและเชื้อแบคทีเรีย ของหนอนกระทู้หอม. น. 1-18 ใน เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการคร้ังท่ี 10, ประจำปี 2539 ณ โรงแรมหัวหิน บลูเวฟ บีช รีสอร์ท อำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. เกศรา จีระจรรยา. 2528. การศึกษาพฤติกรรมบางประการของหนอนผีเส้ือเจาะสมออเมริกัน. การ สมั มนาวิชาการปญั หาหนอนผเี สอื้ เฮลโิ อทสี ในประเทศไทย กรงุ เทพฯ. น. 1-10. บษุ บง มนัสมัน่ คง วทิ ย์ นามเรอื งศรี สาทร สริ สิ งิ ห์ และศริ ิณี พนู ไชยศร.ี 2537. ความผนั แปรของ เพลีย้ ไฟในองุน่ . น. 63-66. ใน รายงานผลการค้นคว้าและวจิ ยั ปี 2537. กลุ่มงานวิจัยแมลง ศตั รูไมผ้ ล สมุนไพร และเครอ่ื งเทศ กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กรุงเทพฯ. พิมลพร นันทะ จุฑารัตน์ อรรถจารุสิทธิ์ สถิตย์ ปฐมรัตน์ รัตนา นชะพงษ์ และรุจ มรกต. 2534. รายช่ือแมลงศัตรูของพืชเศรษฐกิจบางชนิดในประเทศไทย. น. 88-117. ใน การควบคุม แมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. เอกสารวิชาการกลุ่มงานวิจัยการปราบศัตรูพืชทางชีวภาพ กองกีฏ และสัตววิทยา กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ. วิทย์ นามเรืองศรี ชลดิ า อุณหวุฒิ สาทร สริ สิ ิงห.์ 2537. การทดลองการป้องกนั กำจดั แมลงศัตรูองนุ่ โดยวธิ ผี สมผสาน. น. 591-617. ใน เอกสารประกอบการประชุมสมั มนาทางวิชาการ คร้งั ที่ 9, ประจำปี 2537. ณ โรงแรมแกรนด์ จอมเทยี นพาเลซ จังหวัดชลบรุ ี. วิทย์ นามเตร่าืองงๆศรเพี บอื่ ุษลบอ่ ผงีเสมอ้ืนหสั นมอั่นนคกงรสะทาท้หู รอมสิรSิสpิงoหd์.te2r5a37e.xiปguระaสHทิ .uธ .b ิภnาeพrขใอนงแกปบั ลดงกั อแงสนุ่ ง.ไนฟ.น1อี 2อ3น-ช13น0ดิ . ใน เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ แมลงและสัตว์ศัตรูพืช ครั้งท่ี 9, ประจำปี 2537. ณ โรงแรมแกรนด์ จอมเทยี นพาเลซ เมืองพทั ยา จังหวัดชลบรุ ี. วิทย์ นามเรืองศรี บุษบง มนัสม่ันคง สาทร สิริสิงห์ และศิริณี พูนไชยศรี. 2539. เพล้ียไฟองุ่น. น. 443-464. ใน เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ แมลงและสัตว์ศัตรูพืช ครั้งที่ 10, ประจำปี 2539. ณ โรงแรมหัวหิน บลูเวฟ บีช รีสอร์ท อำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบครี ขี ันธ์. แมลงศตั รูไมผ้ ล 110
แมลงศตั รอู งุ่น ผีเส้อื หนอนกระทู้หอมวางไขเ่ ปน็ กลุ่มท่ีใบพชื หนอนกระทูห้ อมเริ่มฟกั ออกจากกลมุ่ ไข ่ หนอนกระท้หู อม ดักแด้หนอนกระทู้หอม ตวั เตม็ วัยหนอนกระทหู้ อมเป็นผเี สื้อกลางคืน ใบอง่นุ ถกู ทำลายโดยหนอนกระทู้หอมอย่างรนุ แรง ไขห่ นอนเจาะสมอฝ้ายวางเปน็ ฟองเด่ยี ว หนอนเจาะสมอฝ้าย แมลงศตั รูไมผ้ ล 111
ผเี สอ้ื หนอนเจาะสมอฝ้าย การทำลายของหนอนเจาะสมอฝ้ายที่ผลอง่นุ ตัวอ่อนเพลยี้ ไฟพรกิ ตวั เต็มวัยเพลย้ี ไฟพรกิ เพลีย้ ไฟทำลายยอดออ่ น ทำใหใ้ บหงิกงอ และแคระแกรน็ การทำลายของเพล้ียไฟที่ผล มลี ักษณะเป็นผวิ ขกี้ ลาก แมลงศตั รูไม้ผล 112
ระยะพฒั นาการขององุ่น และระยะ การระบาดของแมลง ัศต ูร ืพช ระยะการ ัพฒนาขององุ่น จำนวนวนั หลังตัดแตง่ กงิ่ 0-20 2 ระยะแตกใบออ่ น-ช่อดอก ระยะดอก ระยะผลอ่อน ระยะพัฒนาผล หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย เพล้ยี ไฟ แมลงศตั รูไมผ้ ล 113
ะการระบาดของแมลงศตั รูที่สำคญั 21-40 41-60 61-80 81-100 101-120
แมลงศัตร ู ชมพูแ่ ละฝร่งั สัญญาณี ศรคี ชา และวภิ าดา ปลอดครบุรี สถานการณ์และความสำคัญ ชมพเู่ ปน็ ผลไม้ที่นิยมรับประทานในหมคู่ นไทยตลอดจนชนตา่ งชาติ โดยเฉพาะกลุ่มคนเช้ือสาย จีน เน่ืองจากเป็นผลไม้ท่ีมีเปลือกสีแดงถือว่าเป็นสีที่เป็นมงคล รับประทานได้ทุกเพศทุกวัย รสชาติไม่ หวานจัด ทานแล้วรู้สึกสดชื่น เพราะในผลมีน้ำปริมาณมาก ชมพู่สามารถผลิตเพ่ือจำหน่ายได้ทั้งใน ประเทศและสง่ ออกไปตา่ งประเทศดว้ ย โดยในปี 2550 มีสถติ ิการสง่ ออกชมพ่ถู ึง 3,820,916 กโิ ลกรัม คิดเปน็ มลู ค่ากวา่ 102,529,560 บาท ส่วนในปี 2551 มสี ถิติการส่งออกชมพู่เพม่ิ ขึ้นเป็น 4,907,834 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าถึง 135,864,764 บาท (สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร, 2552) สำหรับ การปลกู ชมพ่ใู นประเทศไทย พันธท์ุ นี่ ิยมปลกู เป็นการคา้ คือ พันธท์ุ ลู เกลา้ พันธุ์สายรงุ้ (หรอื พนั ธ์ุชมพู่ เพชร) พันธเ์ุ พชรสามพราน พนั ธเุ์ พชรน้ำผึง้ และพันธทุ์ ับทิมจันทร์ โดยชมพ่พู ันธ์ทุ ับทิมจนั ทร์ จดั เปน็ พันธ์ทุ ี่เกษตรกรนยิ มปลกู มากทสี่ ุด และเป็นท่ตี อ้ งการของผู้บรโิ ภคทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดย มีระบบการปลูกแบบยกร่อง ไว้ต้นให้มีอายุในการให้ผลผลิตเพียง 6-7 ปี จึงโค่นทิ้งแล้วปลูกทดแทน ใหม่ จึงเปน็ การปลูกไม้ผลแบบก่งึ ลม้ ลุก เกษตรกรมกี ารปลกู เฉลยี่ รายละประมาณ 5-6 ไร่ โดยชมพ่ใู ห้ ผลผลิตต้ังแต่ปีที่ 2 เป็นต้นไป และให้ผลผลิตดีในปีท่ี 4 มักนิยมปลูกกันในแถบจังหวัดนครปฐม ราชบรุ ี และสมทุ รสาคร นอกจากน้นั มกี ารปลูกกันประปรายในจงั หวัดอ่ืนๆ เช่น ปทมุ ธานี บางจงั หวัด ในภาคใต้ และภาคเหนอื เปน็ ต้น สว่ นพันธุส์ ายรุ้ง เปน็ ชมพทู่ ่ปี ลูกกนั แบบไร่ไม่ยกร่อง มักนยิ มปลกู กัน มากในเขตจงั หวดั เพชรบุร ี ฝร่ังเป็นผลไม้ที่นิยมบริโภคเป็นผลสดและสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น แยม วุ้น ฝรั่ง และน้ำคั้นฝรั่ง เปน็ ผลไม้ท่ีมคี ณุ ค่าทางโภชนาการ มวี ติ ามินซแี ละเอสงู กวา่ มะนาวถึง 4 เท่า และ มสี ารเพคตนิ สูง มีสรรพคุณทางยาช่วยเคลือบลำไส้ สามารถปลกู ไดท้ ัว่ ทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะ ในเขตภาคกลาง ได้แก่ จังหวัดนครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรี พนั ธฝ์ุ รัง่ บริโภคผลสดที่นิยมปลูก คือ พันธุ์กลมสาลี่ แป้นสีทอง และเวียดนาม พันธุ์ฝร่ังค้ันน้ำ คือ พันธ์ุ เบอมองท์ (Beaumount) และพันธ์ุคาฮัวคูลา (Kahuakula) นอกจากปลูกขายภายในประเทศยังส่ง ออกไปขายยังตลาดต่างประเทศดว้ ย ดงั สถิติการส่งออกในปี 2549 มีปริมาณการส่งออกฝรง่ั 458,899 กโิ ลกรมั มมี ูลค่า 14,130,727 บาท (สำนกั ควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร, 2550) สถานการณ์ศตั รพู ืช ชมพู่และฝร่ังเป็นไม้ผลท่ีมักพบปัญหาแมลงศัตรูคล้ายๆ กัน เกษตรกรมักมีการใช้สารป้องกัน แมลงศัตรไู มผ้ ล 114
กำจัดศัตรูพืชเพ่ือป้องกันกำจัดแมลงบ่อยคร้ัง เกษตรกรพ่นสารฆ่าแมลงเพื่อป้องกันกำจัดแมลงศัตรู ชมพู่โดยเฉลี่ยมากถึงปีละ 34 คร้ัง โดยมีความถ่ีในการพ่นเฉล่ีย 7-15 วันต่อครั้ง (มนตรีและคณะ, 2537) แตล่ ะรายนยิ มใช้สารฆา่ แมลงเฉล่ยี รวม 3 ชนิด Pholboon and Cantelo (1965) ได้รายงาน แมลงศตั รชู มพู่ไว้ 19 ชนดิ แมลงศตั รูชมพูท่ ่สี ำคญั และวธิ กี ารป้องกันกำจดั มี ดังน ้ี แมลงวนั ผลไม้ (fruit fly) ชือ่ วิทยาศาสตร ์ Bactrocera dorsalis (Hendel) Bactrocera correcta (Bezzi) วงศ ์ Tephritidae อันดับ Diptera ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย การทำลายของแมลงวันผลไม้เกิดจากตัวเต็มวัยเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงลงในเน้ือผลไม้ จากนัน้ ไขจ่ ะฟกั เป็นตวั หนอนไชกินเนอ้ื ผลไม้ ทำใหผ้ ลเนา่ และรว่ งหลน่ ในชมพูเ่ ขา้ ทำลายต้งั แต่เริ่มติด ผลเป็นต้นไป ส่วนในฝร่ังเริ่มเข้าทำลายได้เม่ือผลอายุประมาณสองเดือนหลังดอกบาน แมลงวันผลไม้ ชนดิ แรก (Bactrocera dorsalis) มีตวั สดี ำหน้าแข้งขาสีดำ ขนาดประมาณ 1 เซนตเิ มตร ขอบปีกมสี ดี ำ ตลอดไปจนถงึ ปลายปกี ท้ังสองข้าง สว่ นแมลงวันผลไมช้ นิดท่สี อง (Bactrocera correcta) มขี นาดเล็ก กว่าชนิดแรกเล็กน้อย แต่ว่องไวกว่า มีสีน้ำตาลแดงท้ังลำตัวและขา ปลายปีกมีจุดเล็กๆ สีดำ การ ทำลายของแมลงวันผลทงั้ สองชนิดเหมอื นๆ กนั แตแ่ มลงวันผลไมช้ นดิ ท่ีสอง ปอ้ งกนั กำจดั ไดย้ ากกว่า เน่ืองจากสามารถทำลายผลไม้ได้ต้ังแต่ผลไม้ติดผลเล็กๆ และยังแข็งอยู่ การทำลายที่เกิดจากแมลงวัน ผลไม้ อาจรนุ แรงมากจนถงึ 100 เปอรเ์ ซ็นตไ์ ดห้ ากไม่มีการปอ้ งกันกำจดั รปู ร่างลักษณะและชีวประวัติ วงจรชวี ิตแมลงวันผลไมช้ นดิ Bactrocera dorsalis (Hendel) ศึกษาในผลชมพู่ พบว่ามกี าร เจรญิ เติบโตแบ่งออกเปน็ 4 ระยะ คอื ไข่ หนอน ดักแด้ และตัวเตม็ วยั ตัวเต็มวัย เป็นแมลงวันมีสีน้ำตาลแดงทั้งลำตัวและขา มีแถบสีเหลืองท่ีส่วนอก ปีกบางใส สะท้อนแสง ระยะน้ีไม่ทำลายพืช ตัวเต็มวัยหลังจากออกจากดักแด้ประมาณ 8 วัน จึงเริ่มจับคู่ผสม พันธุแ์ ละเร่ิมวางไข่ โดยวางไข่ในผลของพืชอาศัย ตวั เต็มวัยเพศเมยี มีความสามารถในการวางไข่ตลอด อายุขัยได้ 1,200-1,300 ฟอง และวางไข่ได้สูงสุด 40 ฟอง/วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียเมื่อกางปีกมีขนาด กว้างเฉลี่ย 1.47 เซนติเมตร ลำตัวยาวเฉลี่ย 0.93 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอายุ 79-120 วัน เฉลยี่ 95.03 วัน ตัวเต็มวยั เพศผูเ้ ม่ือกางปกี มีขนาดกว้างเฉล่ยี 1.42 เซนตเิ มตร ลำตัวยาวเฉลี่ย 0.82 เซนตเิ มตร ตัวเต็มวัยเพศผูม้ อี ายุ 86-132 วัน เฉลยี่ 97.50 วัน แมลงศัตรูไมผ้ ล 115
ไข่ ระยะไขอ่ าศยั อยใู่ นผลไม้ ตัวเต็มวยั เพศเมยี จะวางไข่เปน็ ฟองเด่ียวๆ หรอื เปน็ กลุม่ ๆ ละ 2-3 ฟองในผลชมพู่ ลกึ จากผิวประมาณ 2.0-5.0 มิลลิเมตร ไขม่ ขี นาดเล็กสขี าวผิวเป็นมันสะท้อนแสง รูปร่างคล้ายผลกล้วย เม่ือใกล้ฟักมีสีขาวขุ่น ขนาดกว้างเฉล่ีย 0.21 มิลลิเมตร ยาวเฉล่ีย 1.27 มิลลิเมตร ระยะไข่ 42-72 ชั่วโมง หนอน หนอนมีลักษณะหัวแหลม ท้ายป้าน ไม่มีขา ส่วนหัวมีลักษณะเป็นตะขอแข็งสีดำ เมื่อฟักออกจากไขใ่ หมๆ่ ลำตวั ใส ส่วนหัวท่เี ปน็ ตะขอมีสนี ำ้ ตาล ขนาดลำตัวกวา้ งเฉล่ยี 0.25 มิลลเิ มตร ยาวเฉลี่ย 1.07 มิลลิเมตร หนอนมี 3 วัย หนอนโตเต็มที่มีขนาดลำตัวกว้างเฉลี่ย 1.67 มิลลิเมตร ยาวเฉลยี่ 7.63 มิลลิเมตร หนอนในระยะนี้สามารถดีดตวั ได้ไกลประมาณ 30 เซนตเิ มตร เพือ่ หาทำเล ทีเ่ หมาะสมในการเข้าดักแด้ในดนิ ระยะหนอน 6-8 วัน ดักแด ้ มีลักษณะกลมรีคล้ายถังเบียร์ ระยะแรกมีสีขาวและจะค่อยๆ เปล่ียนเป็นสีน้ำตาล อ่อน จากนั้นสีจะค่อยๆ เข้มข้ึนเม่ือดักแด้ใกล้ฟัก ระยะนี้แมลงไม่มีการเคล่ือนไหวอาศัยในดินลึก ประมาณ 2.0-5.0 เซนติเมตร ดักแด้มีขนาดกว้างเฉลี่ย 2.18 มิลลิเมตร ยาวเฉลี่ย 4.71 มิลลิเมตร ระยะดักแด้ 9-10 วัน พืชอาหาร ผลไม้ท่ีมีเปลือกบางหรืออ่อนนุ่มถูกแมลงวันผลไม้เข้าทำลายได้โดยง่าย ในประเทศไทย แมลงวนั ผลไมช้ นิด Bactrocera dorsalis (Hendel) มพี ชื อาศัยมากกวา่ 50 ชนดิ กระจายอยทู่ ัว่ ไปใน ประเทศไทย (มนตรแี ละโอชา, 2542) เช่น มะมว่ ง ฝรั่ง ชมพู่ ละมุด พุทรา นอ้ ยหนา่ ขนุน เงาะ ลำไย ลน้ิ จี่ กระทอ้ น สะตอ กลว้ ยนำ้ วา้ มะกอกฝรง่ั มะเฟอื ง มะปราง มะละกอ มะยม พรกิ ชำมะเลยี ง เชอรหี่ วาน มะกอกนำ้ กระโดน มะมว่ งหมิ พานต์ สตาร์แอปเป้ิล หว้า มะเด่ือหอม มะเด่ืออุทุมพร มะม่วงปา่ ละมดุ พกิ ลุ ตะขบฝรงั่ กล้วยปา่ นำ้ ใจไคร่ หูกวาง เล็บเหยี่ยว และมะตูม เป็นตน้ ส่วนแมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera correcta (Bezzi) มีเขตแพร่กระจายในเขตภาคเหนือ ภาคกลางและแทบจะไม่พบในภาคใต้ มีพชื อาศัยไม่นอ้ ยกวา่ 36 ชนดิ ได้แก่ มะม่วง ฝร่ัง ชมพู่ ละมุด พุทรา น้อยหนา่ ขนนุ เงาะ ลำไย ลน้ิ จี่ กระท้อน สะตอ กลว้ ยน้ำว้า มะกอกฝร่ัง มะเฟือง มะปราง มะละกอ มะยม ชำมะเลียง เชอร่ีหวาน มะกอกน้ำ มะม่วงหิมพานต์ กระโดน สตาร์แอปเป้ิล หว้า มะเด่อื หอม พกิ ลุ ตะขบฝรัง่ กล้วยป่า นำ้ ใจไคร่ หูกวาง หนามหนั (งัวซงั ) แจง และมะแวง้ เครอื เป็นตน้ ศัตรธู รรมชาต ิ ศตั รูธรรมชาตทิ ่พี บเป็นตวั ห้ำ ได้แก่ แมงมุมตาหกเหล่ยี ม Oxyopes lineatipe (C.L.Koch) และ Oxyopes javanus Thorell นกชนิดตา่ งๆ มด แมงมุม สตั วเ์ ลือ้ ยคลานตา่ งๆ สัตวค์ รง่ึ บกครงึ่ น้ำ เชน่ กบ คางคก เขยี ด ปาด เป็นตน้ นอกจากนี้ มีแมลงเบียนที่สำคัญของแมลงวันผลไมใ้ นระยะหนอน แมลงศัตรไู มผ้ ล 116
คอื แตนเบยี นหนอน Diachasmimorpha longicaudata (มนตรี และสาทร, 2537; อัมพร และคณะ, 2544; และวภิ าดา และคณะ, 2550) การป้องกนั กำจดั 1. รักษาแปลงปลูกใหส้ ะอาด เก็บผลที่ถกู แมลงวันผลไม้ทำลายนำไปเผาหรอื ฝังดินเพอ่ื ลดการ สะสมและขยายพันธขุ์ องแมลงวนั ผลไม้ในแปลงปลกู ตดั แต่งกง่ิ ตามสมควร ไมใ่ หเ้ กิดรม่ เงามากเกนิ ไป เพื่อใหส้ ภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะสมต่อการแพรร่ ะบาดของแมลงวนั ผลไม้ 2. ในชมพู่ให้ตัดแต่งผลให้เหลือไม่เกิน 4-5 ผลต่อพวง ห่อผลด้วยถุงพลาสติกแบบถุงหิ้ว ขนาด 8x16 นว้ิ ตัดปลายถุงเพ่ือระบายน้ำเล็กน้อย ชมพเู่ ริ่มห่อผลประมาณ 14 วนั หลงั ไหมร่วง สว่ น ฝรั่งหอ่ ผลด้วยถงุ พลาสตกิ ชนิดมหี ูห้ิว ขนาดกวา้ ง 6x14 นิว้ ตัดมมุ ท่ปี ลายถุงท้งั สองขา้ งเพ่อื ระบายนำ้ แล้วคลมุ ทบั ดว้ ยกระดาษสมดุ โทรศัพท์ โดยเรมิ่ หอ่ ผลหลังดอกบาน 56 วัน และไม่หอ่ ให้ถงุ พลาสติก เรียบตงึ ตดิ กบั ผล เพื่อป้องกนั ตวั เต็มวยั เพศเมียวางไข ่ 3. หากมีการระบาดรุนแรงพ่นให้ทั่วทั้งต้นด้วยสารฆ่าแมลง malathion 57% EC อัตรา 20-30 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้ 20 ลติ ร หรอื chlorpyrifos 40% EC อตั รา 40 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้ 20 ลติ ร ทกุ 7 วนั 4. พน่ ดว้ ยเหยอ่ื พษิ โปรตนี ทป่ี ระกอบดว้ ยยสี ตโ์ ปรตนี อตั รา 200 มลิ ลลิ ติ ร ผสมสารฆา่ แมลง malathion 57% EC ในอตั รา 40 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้ 5 ลติ ร พน่ แบบเปน็ จดุ ตน้ ละ 1-4 จดุ แบบแถวเวน้ แถว ทกุ 5-7 วนั ตอ่ ครง้ั พน่ ในเวลาเช้าตรู่ โดยเรม่ิ พน่ ครงั้ แรกกอ่ นการระบาด 1 เดอื น และพน่ เหยอื่ พษิ ดงั กลา่ วไปจนหอ่ ผลหมดทง้ั แปลงหรอื จนเกบ็ เกยี่ วผลผลติ หมด หนอนแดง (fruit boring caterpillar) ช่ือวทิ ยาศาสตร ์ Meridarchis scyrodes Meyrick วงศ์ Carposinidae อันดับ Lepidoptera ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย ผีเสื้อ วางไข่บนดอกและผลชมพู่ จากนั้นหนอนเจาะกินดอกและผล ทำให้ดอกร่วงก่อนที่จะ ติดผล และถ้าทำลายในระยะผลทำให้ผลร่วงก่อนท่ีเก็บเกี่ยวได้ หนอนกัดกินเนื้อภายในดอกและผล แล้วขบั ถ่ายไว้เปน็ เมด็ กลมๆ เล็กๆ ทำให้สกปรกและดอกร่วง ผลเนา่ ได้ ตัวหนอนโตเตม็ ทมี่ สี ีแดง เข้า ดักแด้ในดิน การทำลายอาจรุนแรง 80-100% แมลงชนิดน้ีสามารถเข้าทำลายต้ังแต่ชมพู่ยังเป็นดอก ตูมและเขา้ ทำลายฝร่งั ตั้งแต่เปน็ ผลเล็ก แมลงศัตรไู ม้ผล 117
รปู ร่างลักษณะและชีวประวัต ิ ตวั เต็มวยั เป็นผีเส้ือกลางคนื มสี ีน้ำตาลอมเทา จดั เปน็ ผีเส้อื ที่มีขนาดเลก็ ไข่ มีสีขาวใส ผิวเป็นมันสะท้อนแสงรูปร่างกลมรี มีขนาดค่อนข้างเล็ก ขนาดกว้าง 0.1 มลิ ลิเมตร ยาวประมาณ 0.15 มิลลเิ มตร ระยะไขป่ ระมาณ 6 วนั หนอน มสี ีขาวและคอ่ ยๆ มีสีชมพแู ดง สเี ข้มขนึ้ เรื่อยๆ เม่อื โตเต็มที่มสี แี ดงอมชมพูเล็กน้อย ระยะหนอนใช้เวลา 15-21 วนั ดักแด้ มีรูปร่างยาวรีสีน้ำตาล ส่วนท้องมีลักษณะเป็นปล้องๆ ตามแนวขวางสีน้ำตาลอ่อน และสีเข้มข้ึนเรื่อยๆ จนออกเป็นตัวเต็มวัย ระยะดักแด้ไม่เคล่ือนไหว อาศัยอยู่ในดินลึกประมาณ 2.0 เซนติเมตร หรืออยู่ใต้ใบไม้ที่ร่วงหล่นอยู่รอบๆ โคนต้น ระยะดักแด้ประมาณ 6-9 วัน ดักแด้มี ขนาดกวา้ ง 3.0 มิลลิเมตร ยาว 15.0 มลิ ลิเมตร พืชอาหาร ชมพู่ พุทรา ฝรงั่ ศัตรูธรรมชาติ ยงั สำรวจไม่พบ การป้องกันกำจดั พ่นด้วยสารฆ่าแมลง diflubenzuron (Dimilin 25% WP) อัตรา 30 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรอื triazophos (Hostathion 40 EC 40% EC) อตั รา 30 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร พน่ ชว่ งเริ่มแทง ดอก 1 ครั้ง และชว่ งดอกตูม 1 ครง้ั และพ่นหลงั ตดิ ผล 2-3 ครงั้ จนห่อผลหมด วิธีการหอ่ ผลปฏิบตั ิ เช่นเดยี วกบั การป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้ เพล้ียไฟ (chilli thrips) ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Scirtothrips dorsalis Hood วงศ ์ Thripidae อนั ดับ Thysanoptera ความสำคญั และลักษณะการทำลาย เพล้ียไฟ เป็นแมลงศัตรูชมพู่เท่าน้ัน เป็นแมลงขนาดเล็ก ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำ เลี้ยงจากใบอ่อน ยอดอ่อน และช่อดอก ตลอดจนผลอ่อนของชมพู่ ทำให้ใบไหม้หงิกงอเสียรูปทรง แมลงศตั รูไม้ผล 118
ดอกร่วงไม่ติดผล ผลอ่อนร่วง เสียรูปทรง เพล้ียไฟระบาดทำลายรุนแรงในฤดูร้อนหรือสภาพอากาศ รอ้ นแหง้ แลง้ ในสภาพท่ีอุณหภูมิสูง แสงแดดจัด ฝนแลง้ เปน็ เวลาต่อเนอื่ งประมาณ 14 วัน เพลย้ี ไฟ จะระบาดทนั ที เพล้ยี ไฟมกี ารเคลือ่ นทโ่ี ดยการเดนิ บิน และอาศัยลมในการพัดพาไป รูปร่างลักษณะและชีวประวัต ิ เพล้ียไฟ มีรูปร่างเรียวยาว มีลำตัวยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยมี ลักษณะคล้ายกันแต่ตัวอ่อนไม่มีปีก แต่ละช่ัวอายุขัยของเพลี้ยไฟมีระยะส้ันมาก การแพร่ขยายพันธ ุ์ จงึ เป็นไปไดง้ ่ายและรวดเร็ว เพล้ยี ไฟเพศเมยี วางไข่ขนาดเล็กมากในเน้ือเย่อื ของพืช ระยะไข่ 3-4 วนั ตัวอ่อนฟักออกจากไข่มี 2 ระยะ มีรูปร่างเรียวแหลมสีเหลืองอ่อน ระยะตัวอ่อนประมาณ 4-5 วัน ระยะก่อนเข้าดักแด้มลี กั ษณะเหมอื นตวั ออ่ นแตไ่ มค่ อ่ ยเคลอ่ื นไหว สงั เกตจากหนวดหดสนั้ และชตี้ รงไปขา้ ง หนา้ ระยะนป้ี ระมาณ 1 วัน จะเปน็ ดักแด้ มแี ผน่ ปกี 2 คู่ หนวดงอช้กี ลบั ไปขา้ งหลงั เหนอื ศรี ษะและไม่ เคลอ่ื นไหว ระยะดกั แด้ 1-2 วนั ตวั เต็มวัยมรี ูปรา่ งเหมือนตัวออ่ น มปี กี 2 คู่ ประกอบด้วยขนเปน็ แผง (บางครั้งปีกของตัวผู้หดส้ันเหลือแค่ตุ่มปีกเท่านั้น) เพลี้ยไฟสามารถขยายพันธ์ุได้ทั้งแบบมีเพศ และแบบไมม่ เี พศ พชื อาหาร พืชอาหารของเพล้ยี ไฟ ได้แก่ กหุ ลาบ กล้วยไม้ พริก องุน่ มะม่วง มะม่วงหมิ พานต์ สม้ เขยี ว หวาน ส้มต่างๆ มะนาว ชา บัว ถั่ว ทับทิม มะลิ ละหุ่ง กระเจี๊ยบ ฝ้าย กาแฟ และทานตะวัน (Ananthakrishnan, 1971; พิสมัย, 2531) ศัตรธู รรมชาต ิ แมงมมุ ตาหกเหลย่ี ม แมงมุมใยกลม และดว้ งเตา่ ตัวหำ้ Stethorus sp. การปอ้ งกนั กำจัด ถ้าพบการระบาดพ่นด้วยสารฆ่าแมลง lambdacyhalothrin (Karate 2.5 EC 2.5% EC) อตั รา 10 มิลลลิ ติ รต่อนำ้ 20 ลิตร หรือ carbosulfan (Posse 20% EC) อัตรา 50 มลิ ลิลติ รต่อน้ำ 20 ลติ ร หรอื imidacloprid (Confidor 100 SL 10% SL) อัตรา 10 มลิ ลิลติ รต่อนำ้ 20 ลติ ร ด้วงมว้ นใบ (leaf rolling weevil) ช่อื วทิ ยาศาสตร ์ Apoderus notatus Olivier วงศ์ Curculionidae อันดบั Coleoptera แมลงศัตรไู มผ้ ล 119
ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย ตัวเต็มวัยกัดปลายใบชมพมู่ ้วนเปน็ หลอดเลก็ ๆ และวางไขไ่ ว้ภายใน ตัวหนอนเมอ่ื ฟกั ออกจาก ไขก่ ดั กนิ ใบชมพู่อยู่ภายในหลอดน้นั การทำลายไม่รุนแรง มกั เกิดกบั ต้นชมพู่ที่ขาดการดูแลรักษา รปู ร่างลักษณะและชวี ประวตั ิ เป็นแมลงศัตรูชมพเู่ ท่านัน้ ตัวเต็มวยั เป็นแมลงปกี แขง็ ประเภทด้วงงวง มีขนาดลำตัวคอ่ นขา้ ง เลก็ คอื เมอื่ เกาะนงิ่ ๆ จะหบุ ปกี แนบลำตวั ซง่ึ มขี นาดกวา้ ง 0.4 เซนตเิ มตร ยาว 0.8 เซนตเิ มตร มสี ี นำ้ ตาลเหลอื ง ไขเ่ ปน็ ฟองเดย่ี วๆ ตวั เตม็ วยั กัดปลายใบชมพู่แล้วม้วนเป็นหลอดเล็กๆ และไข่ไว้ภายใน หลอด ตัวหนอนเจริญเตบิ โตและเขา้ ดกั แดใ้ นหลอดน้ัน เมื่อโตเตม็ ท่เี ปน็ เวลาพอดีกับใบชมพู่ที่ถกู วางไข่ ไว้เร่ิมแห้งและรว่ งหลน่ บนพนื้ ดนิ พชื อาหาร ชมพชู่ นิดต่างๆ ยาง มะม่วง ศัตรูธรรมชาติ ยงั สำรวจไมพ่ บ การปอ้ งกนั กำจดั 1. เก็บใบชมพทู่ ถ่ี ูกม้วนปลายใบเป็นหลอดทต่ี วั อ่อนหลบซอ่ นอยู่ภายใน นำไปเผาทำลาย 2. ถ้าจำเป็นพน่ ด้วยสารฆ่าแมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อตั รา 40-60 กรัม ตอ่ น้ำ 20 ลิตร ทกุ 5-7 วนั ชว่ งชมพใู่ บเพสลาด และเม่ือพบตวั เต็มวยั ระบาด หนอนเจาะก่ิง (red coffee borer) ช่ือวิทยาศาสตร ์ Zeuzera coffeae Nietner วงศ ์ Cossidae อันดบั Lepidoptera ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย เป็นแมลงที่สร้างปัญหาให้กับไม้ผลจำนวนมาก ทำให้กิ่งหรือลำต้นแห้งตายเหนือรอยที่หนอน เจาะเข้าไป ถ้าเจาะท่ีโคนต้นระดับชิดกับต้นไม้อาจตายได้หรือหักล้มเม่ือลมพัด หนอนกัดกินอยู่ภายใน ก่ิงชมพู่แล้วขับถ่ายออกมาทางปากรูเห็นคล้ายขี้เลื่อย เม็ดกลมร่วงตามพื้นดิน จนเจริญเติบโตเต็มท่ี แล้วเข้าดักแด้ท่ีปากรูนั้น การทำลายทำให้กิ่งแห้งตาย หนอนเจาะก่ิงชนิดนี้พบมีการทำลายตลอดท้ังปี โดยพบมากทสี่ ุดในเดอื นกุมภาพันธ์ และพบน้อยทีส่ ุดในเดือนมถิ นุ ายน (ยวุ ดี, 2537) แมลงศตั รไู มผ้ ล 120
รูปร่างลกั ษณะและชีวประวตั ิ ตัวเต็มวัย เป็นผีเส้ือกลางคืนขนาดกลาง เมื่อกางปีกกว้าง 4.0-4.5 เซนติเมตร ลำตัวยาว 2.3-3.5 เซนติเมตร ปีกคู่หน้าและคู่หลังสีขาวมีจุดสีดำประปรายอยู่ทั่วไป ลำตัวมีขนปกคลุม ผีเส้ือท่ี ออกจากดกั แดพ้ ร้อมท่ีจะผสมพนั ธ์ุทันที ผเี ส้อื เพศเมียชอบวางไข่ตามรอยแตก และรอ่ งบนกิ่งชมพู่ และ ทงี่ า่ มกงิ่ ที่เป็นกิง่ กระโดงตงั้ ขนึ้ อกี ดว้ ย เพศเมยี ตวั หน่ึงๆ สามารถวางไขไ่ ดป้ ระมาณ 300-500 ฟอง ไข่ มีลักษณะกลมรีสีเหลืองส้ม วางเป็นกลุ่มหรือฟองเดี่ยวๆ ขนาดยาวประมาณ 1.0 มิลลิเมตร กว้างประมาณ 0.6 มลิ ลเิ มตร ระยะไขป่ ระมาณ 7-10 วัน หนอน เมื่อฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปกัดกินอยู่ภายในกิ่งหรือลำต้น หนอนกัดกินเนื้อเยื่อ ภายในเป็นโพรงยาวพร้อมกับขับถ่ายมูลออกมาทางปากรูท่ีมันกัดกินเข้าไป โดยปากรูจะมีใยปิดไว้ทำ หน้าที่เป็นลิ้นป้องกันแมลงอ่ืนเข้าไป ใยน้ีทำจากน้ำลายของตัวหนอนเอง รอยที่หนอนทำลายปกติยาว 25.0-37.50 เซนตเิ มตร ตวั หนอนในระยะแรกมีสีนำ้ ตาลแดง หวั สีน้ำตาลออ่ น เม่ือหนอนเจรญิ เตบิ โต เต็มทีเ่ ปลีย่ นเป็นสีแดง ยาวประมาณ 4.5-5.0 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 2.5-3.0 เดอื น ดักแด้ เม่ือหนอนเจริญเติบโตเต็มท่ีใกล้เข้าดักแด้ หนอนจะเจาะเป็นวงกลมท่ีกิ่งที่ถูกทำลาย แต่ยังไม่ทะลุเปลือกเพื่อใช้เป็นช่องทางออกของตัวเต็มวัย เม่ือดักแด้ใกล้ออกเป็นตัวเต็มวัยดักแด้จะ เคลื่อนตัวมาโผล่บริเวณที่หนอนได้เจาะรอยเอาไว้ คราบของดักแด้จะคาอยู่ท่ีรอยเจาะน้ี ดักแด้มีสี น้ำตาลแดงยาวประมาณ 3.0-3.5 เซนติเมตร กว้าง 0.6-0.8 เซนติเมตร ระยะดักแด้ประมาณ 2-3 สัปดาห ์ พชื อาหาร แมลงชนดิ นมี้ พี ชื อาหารหลายชนดิ ไดแ้ ก่ ชา กาแฟ โกโก้ ลนิ้ จ่ี ลำไย นอ้ ยหนา่ มะยม ฝรงั่ สม้ ทบั ทมิ องนุ่ แอปเปลิ้ แพร์ พลบั เชอรี่ ชงโค นนุ่ พรู่ ะหง จำปา (มนตร,ี 2529; ยวุ ด,ี 2537) ศัตรูธรรมชาต ิ พบแมลงศัตรธู รรมชาตพิ วกแตนเบียนหนอน 3 ชนดิ 1. Amyosoma zeuzerae Rhower Braconidae, Hymenoptera 2. Apanteles sp. Braconidae, Hymenoptera 3. Microbracon sp. Braconidae, Hymenoptera แมลงศตั รไู มผ้ ล 121
การปอ้ งกันกำจดั 1. ตัดแต่งก่งิ ที่ถูกหนอนทำลายแล้วนำไปเผาไฟเพ่อื กำจดั หนอน และดักแด้ที่อยใู่ นกิ่งนั้น 2. ถ้าตรวจพบรูหรือรอยทำลายบนกิง่ ใหญๆ่ หรือลำตน้ ให้ใชส้ ารฆา่ แมลง เช่น chlorpyrifos (Lorsban 40 EC 40% EC) อตั รา 1-2 มิลลลิ ติ รตอ่ รู ฉดี เข้าในรูแล้วอุดด้วยดนิ เหนียว เพลยี้ แปง้ (mealybugs) ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Dysmicoccus neobrevipes Beardsley Ferrisia virgata (Cockerell) วงศ์ Pseudococcidae อนั ดบั Hemiptera ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย เพล้ียแป้งเป็นแมลงศัตรูฝรั่ง ทำลายพืชโดยดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่างๆ ของพืช เช่น จาก บริเวณกิ่ง ชอ่ ดอก ผลอ่อน ผลแก่ โดยมีมดหลายชนดิ ชว่ ยคาบพาไปตามสว่ นตา่ งๆ ของพชื ส่วนที่ถกู ทำลายจะแคระแกรน็ และชะงักการเจรญิ เติบโต นอกจากนี้ เพลยี้ แป้งจะขบั ถา่ ยของเหลว มลี กั ษณะ เป็นน้ำเหนียวๆ เรียกว่ามูลน้ำหวาน (honeydew) ออกมา ซึ่งเป็นอาหารของราดำ ทำให้ราดำเจริญ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว ปกคลุมใบและผล ใบไม่สามารถสังเคราะหแ์ สงไดอ้ ยา่ งเต็มที่ รปู รา่ งลกั ษณะและชวี ประวตั ิ Dysmicoccus neobrevipes Beardsley ตัวเต็มวัย เพศเมีย รูปร่างค่อนข้างกลม ลำตัวยาวประมาณ 3.3-3.5 มิลลิเมตร ผนังลำตัว สีเทาปกคลุมด้วยไขแป้งสีขาว ด้านข้างของลำตัวมีเส้นแป้งสั้นๆ อยู่โดยรอบ เส้นแป้งท่ีอยู่ด้านท้าย ของลำตวั ยาวกวา่ ดา้ นข้างเลก็ น้อย Ferrisia virgata (Cockerell) ตวั เตม็ วยั เพศเมยี รปู รา่ งรปู ไขค่ อ่ นขา้ งยาว ลำตวั ยาวประมาณ 4.2-5.0 มลิ ลเิ มตร ปลายสว่ น ทอ้ งจะแคบกวา่ สว่ นหวั ลำตวั ปกคลมุ ดว้ ยไขแปง้ บางๆ สขี าว และมแี ถบสดี ำ 1 คู่ พาดตามยาวเกอื บ กง่ึ กลางลำตวั ดา้ นทา้ ยของลำตวั มเี สน้ แปง้ ยาวสขี าว 1 คู่ ความยาวประมาณครงึ่ หนง่ึ ของความยาวลำตวั ดา้ นขา้ งของลำตวั ไมม่ เี สน้ แปง้ อรุณี (2535) ได้ศึกษาชีวประวัติของเพล้ียแป้ง F. virgata โดยเล้ียง แมลงดว้ ยใบมันสำปะหลัง พบว่า เพลี้ยแปง้ ชนิดนม้ี กี ารขยายพนั ธโุ์ ดยออกลกู เปน็ ตัวออ่ นและไข ่ พวกทอ่ี อกลูกเปน็ ไข่ ไขจ่ ะอยู่ในถุงไข่ ระยะไข่ประมาณ 6-7 วนั (เฉลี่ย 6.21 วนั ) จึงฟกั เป็น แมลงศัตรูไมผ้ ล 122
ตวั อ่อน ตวั อ่อนลอกคราบ 3-4 ครั้ง ระยะตวั อ่อน 18-59 วัน (เฉลยี่ 37.57 วัน) จงึ เปน็ ตัวเต็มวยั อายุของตัวเต็มวัยเพศเมีย 11-26 วัน (เฉลี่ย 18.53 วัน) หลังจากเป็นตัวเต็มวัยประมาณ 10 วัน จึงเรมิ่ วางไข่ 34-567 ฟองต่อถุงไข่ รวมชพี จักรเฉล่ยี 62.31 วนั เพศผูม้ กี ารลอกคราบ 2 คร้งั ระยะ ตัวอ่อนเพศผู้ 14-15 วนั เพศผู้จะสร้างใยห้มุ ตัว 2-3 วัน ก่อนเป็นตัวเต็มวัย และตวั เตม็ วัยมีปีก 1 คู ่ พวกท่ีออกลูกเป็นตัวอ่อน ตัวอ่อนเพศเมียจะลอกคราบ 3-4 คร้ัง ระยะตัวอ่อน 30-49 วัน (เฉล่ีย 38.12 วนั ) อายตุ วั เตม็ วยั เพศเมยี 5-12 วนั (เฉลย่ี 11-13 วนั ) ออกลกู เฉลย่ี 22-455 ตวั (เฉลย่ี 146.95 ตวั ) รวมชพี จกั รเฉลยี่ 49.35 วนั เพศผตู้ วั ออ่ นลอกคราบ 2 ครงั้ ระยะตวั ออ่ น 14-23 วนั สรา้ ง ใยหมุ้ ตวั 4-7 วนั จึงเปน็ ตวั เตม็ วยั และตวั เต็มวัยมปี กี 1 คู ่ พชื อาหาร ฝรง่ั มะมว่ ง นอ้ ยหนา่ ศตั รธู รรมชาต ิ พบแมลงศตั รธู รรมชาตขิ องเพลย้ี แปง้ ทง้ั แมลงเบยี น และแมลงหำ้ ทมี่ บี ทบาทมาก คอื ดว้ งเตา่ Scymnus sp. สว่ นแตนเบยี น ไดแ้ ก่ Aenasius advena Compere, Cephaleta australiensis (Howard) และ Coccophagus sp. การปอ้ งกนั กำจดั 1. หากพบระบาดไมม่ าก ให้ตัดส่วนทพ่ี บไปเผาทำลาย 2. เมอ่ื พบเพลี้ยระบาดควรพ่นดว้ ย white oil (Vite oil 67% EC) อัตรา 100 มลิ ลลิ ิตรตอ่ นำ้ 20 ลติ ร หรือพ่นด้วยสารฆา่ แมลง dinotefuran (Starkle 10% WP) อตั รา 20 กรมั ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ thiamethoxam (Actara 25 WG 25 % WG) อตั รา 2 กรมั ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ imidacloprid (Provado 70% WG) อตั รา 2 กรัมตอ่ น้ำ 20 ลติ ร เอกสารประกอบการเรยี บเรียง พสิ มยั ชวลติ วงษพ์ ร และอนนั ต ์ วฒั นฑญั กรรม. 2531. แมลงศตั รไู มด้ อก. กลมุ่ งานวจิ ยั แมลงศตั รผู กั และไม้ดอกไม้ประดับ กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร บางเขน กรุงเทพฯ. 41 หนา้ . มนตร ี จริ สรุ ตั น.์ 2529. แมลงศตั รอู งนุ่ . เอกสารประกอบการสมั มนา เรอ่ื ง การพฒั นาองนุ่ วนั ท่ี 11 – 12 ธันวาคม 2529 ณ ห้องประชุม 1 ตึกกสิกรรม ชั้น 3 ดำเนินการโดยฝ่ายฝึกอบรม สถาบนั วจิ ยั พชื สวน กรมวชิ าการเกษตร. 37 หนา้ . มนตร ี จริ สรุ ตั น ์ ฉตั รไชย ระเบยี บโลก วชั ร ี สมสขุ สาทร สริ สิ งิ ห ์ และวทิ ย ์ นามเรอื งศร.ี 2537. การสำรวจขอ้ มลู การใชส้ ารปอ้ งกนั กำจดั ศตั รชู มพ.ู่ น. 237-241. ใน รายงานผลการ แมลงศัตรไู ม้ผล 123
ค้นคว้าและวิจัย ปี 2537 กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผลและพืชสวนอ่ืนๆ กองกีฏและ สตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร. มนตร ี จริ สรุ ตั น์ และสาทร สริ สิ งิ ห.์ 2537. การศกึ ษาศตั รธู รรมชาตขิ องแมลงวนั ผลไมภ้ าคกลาง. น. 279-283. ใน รายงานผลการคน้ ควา้ และวจิ ยั ปี 2537 กลมุ่ งานวจิ ยั แมลงศตั รไู มผ้ ลและ พชื สวนอนื่ ๆ กองกฏี และสตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ มนตร ี จริ สรุ ตั น์ และโอชา ประจวบเหมาะ. 2542. แนวทางการปอ้ งกนั กำจดั แมลงวนั ผลไมใ้ นแปลง มะมว่ งเพอ่ื การสง่ ออก. ว.กฏี .สตั ว. 20(3): 201–204. ยวุ ด ี เทวหสกลุ ทอง. 2537. ศกึ ษาฤดกู าลระบาดของหนอนเจาะกาแฟสแี ดง. น. 233-236. ใน รายงาน ผลการค้นคว้าและวิจัยปี 2537 กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูไม้ผลและพืชสวนอื่นๆ กองกีฏและ สตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร. วภิ าดา ปลอดครบรุ ี สญั ญาณ ี ศรคี ชา เกรยี งไกร จำเรญิ มา และอมั พร วโิ นทยั . 2550. ศกึ ษา ชนดิ ของแมลงวนั ผลไมแ้ ละศตั รธู รรมชาตใิ นแหลง่ ปลกู ฝรงั่ . น. 22-28. ใน การประชมุ วชิ า การอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 8, 20-22 พฤศจิกายน 2550 ณ โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จงั หวดั พษิ ณโุ ลก. สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร. 2550. สถิติการส่งออกผัก ปี 2549. กรมวิชาการเกษตร กรงุ เทพฯ. 173 หนา้ . สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร. 2552. สถิติการส่งออกผักผลไม้สด ปี 2550-51. กรมวิชา การเกษตร กรงุ เทพฯ. อมั พร วโิ นทยั วภิ าดา วงั ศลิ าบตั ร และวชั รี สมสขุ . 2544. บทความของศตั รธู รรมชาตใิ นการควบคมุ แมลงวนั ผลไม.้ น. 151-167. ใน แมลงวนั ผลไมใ้ นประเทศไทย. เอกสารวชิ าการ กองกฏี และ สตั ววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร. อรุณี วงษ์กอบรัษฎ์. 2535. แมลงและไรศัตรูมันสำปะหลังและการป้องกันกำจัด. น. 209-210. ใน แมลงและสัตว์ศัตรูพืชที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจและการบริหาร. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวชิ าการเกษตร. Ananthakrishnan, T.N. 1971. Thrips (Thysanoptera) in Agriculture, Horticulture & Forestry Diagnosis, Bionomic & Control. Journal of Science & Industrial Research. Vol 30(3): 113 – 146. Pholboon Phol and W. Cantelo. 1965. Host List of the Insects of Thailand. Department of Agriculture, Royal Thai Government and the United States Operations Mission to Thailand. 149 pp. แมลงศตั รไู มผ้ ล 124
แมลงศัตรูชมพู่ ฝร่ัง ตวั เต็มวยั แมลงวันผลไม้วางไขใ่ นผลฝรง่ั หนอนแมลงวันผลไม้ ลักษณะการทำลายของแมลงวนั ผลไมใ้ นชมพ่ทู ับทมิ จันทร์ ลกั ษณะการทำลายของแมลงวนั ผลไมใ้ นฝรง่ั การหอ่ ผลเพื่อป้องกันการเข้าทำลายของแมลงวันผลไม้ แมลงศตั รูไมผ้ ล 125
ลกั ษณะการทำลายของหนอนแดงในชมพ ู่ ลกั ษณะการทำลายของหนอนแดงในฝรั่ง ลักษณะการเขา้ ทำลายของหนอนแดง ลกั ษณะการเข้าทำลายของเพลย้ี แปง้ การทำลายของด้วงม้วนใบ การทำลายของหนอนเจาะกง่ิ แมลงศตั รูไม้ผล 126
ระยะพัฒนาการของชมพู่ และระยะ การระบาดของแมลง ัศต ูร ืพช ระยะการ ัพฒนาของชม ่พู ม.ค. ก.พ. ม.ี ค ระยะแตกใบออ่ น ระยะแทงชอ่ ดอก ระยะดอกบาน ระยะติดผล ระยะผลแก ่ แมลงวันผลไม ้ หนอนแดงเจาะผล เพลีย้ ไฟ ด้วงม้วนใบ หนอนเจาะกิ่ง แมลงศตั รูไมผ้ ล 127
ะการระบาดของแมลงศตั รูทีส่ ำคญั ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
แมลงศตั รู เงาะ เกรียงไกร จำเรญิ มา สถานการณแ์ ละความสำคญั เงาะเป็นไม้ผลเศรษฐกิจชนิดหน่ึง เป็นผลไม้ท่ีมีลักษณะสีสันแปลก และรสอร่อยชวนรับ ประทาน เป็นท่ีนิยมของผู้บริโภคท้ังภายในและภายนอกประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถนำไปแปรรูป เป็นผลไม้กระป๋องส่งไปจำหน่ายได้ด้วย มีพื้นที่ปลูกท้ังในภาคตะวันออกและภาคใต้ ได้แก่ จังหวัด จันทบรุ ี ตราด ระยอง นครศรธี รรมราช สรุ าษฎรธ์ านี นราธิวาส และชุมพร ในปี 2550 มพี น้ื ท่กี าร ปลูกรวมท้ังประเทศ จำนวน 442,204 ไร่ ปี 2551 มีเนือ้ ทีก่ ารเพาะปลกู จำนวน 408,683 ไร่ และใน ปี 2552 มีเนื้อท่ีการเพาะปลูก จำนวน 373,158 ไร่ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) จะ เห็นได้ว่าช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมา มีพ้ืนที่การเพาะปลูกเงาะลดน้อยลง ท้ังน้ี เน่ืองจากปัญหาด้าน การตลาดราคาเงาะตกต่ำสนิ คา้ ล้นตลาด เน่ืองจากผลผลิตเงาะเกอื บทัง้ หมดออกมาในชว่ งเดียวกัน และไม่สามารถยืดระยะเวลาการเก็บเกี่ยวได้ ทำให้เกษตรกรต้องนำผลผลิตออกมาจำหน่ายในเวลา พร้อมๆ กัน และต้องรีบจำหน่ายก่อนท่ีผลผลิตจะเน่าเสียทำให้เกษตรกรประสบปัญหาการขาดทุน อย่างตอ่ เนอ่ื ง จึงทำใหป้ ริมาณการปลูกลดลงไปด้วย สถานการณ์ศัตรพู ชื เกษตรกรผู้ปลูกเงาะมักประสบปัญหาเร่ืองผลผลิตคุณภาพต่ำ ท้ังน้ี เนื่องจากปัญหาการ ระบาดของแมลงศตั รทู ำลายเงาะพบกวา่ 20 ชนดิ โดยทำลายทกุ สว่ นของพชื เชน่ ใบ ดอก ผล กงิ่ ลำตน้ และราก แมลงศัตรูที่สำคญั ในชว่ งระยะเวลาต้ังแตป่ ี 2529 จนถงึ ปจั จบุ นั ได้แก ่ เพลยี้ ไฟพริก (chilli thrips) ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Scirtothrips dorsalis Hood วงศ์ Thripidae อนั ดบั Thysanoptera ความสำคญั และลักษณะการทำลาย เพลี้ยไฟเป็นแมลงศัตรูสำคัญชนิดหน่ึง พบทำลายเงาะในช่วงออกดอก ได้แก่ Scirtothrips dorsalis Hood, Haplothrips sp., Megalurothrips sp. และ Thrips hawaiiensis Morgan ชนดิ ท่ี พบมากและเป็นแมลงศัตรูสำคัญของเงาะ คือ เพล้ียไฟพริก ท้ังตัวอ่อน และตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟพริก ทำลายเงาะโดยใชป้ ากเขย่ี ดดู นำ้ เลย้ี งจากเซลลพ์ ชื บรเิ วณสว่ นเนอ้ื เยอ่ื ออ่ น ในระยะใบออ่ น ดอกและผลออ่ น แมลงศตั รูไม้ผล 128
ในปที ม่ี อี ากาศแหง้ แลง้ พบมกี ารระบาดในระยะดอก และผล มากกวา่ ระยะใบออ่ น การทเี่ พลย้ี ไฟดดู นำ้ เลยี้ งจากดอกทำใหด้ อกแหง้ และรว่ ง ในสภาพธรรมชาตกิ ารตดิ ผลของเงาะมปี ระมาณ 8% ของดอก ทง้ั หมด เมอื่ มกี ารทำลายของเพลยี้ ไฟทำใหก้ ารตดิ ผลลดลง สำหรบั ผลออ่ นทถี่ กู ทำลาย ขนของเงาะจะ เปน็ รอยตกสะเกด็ แหง้ สนี ำ้ ตาล ปลายขนจะมว้ นงอ และแหง้ ทำใหค้ ณุ ภาพของเงาะลดลง รปู ร่างลกั ษณะและชวี ประวตั ิ เพลี้ยไฟเป็นแมลงขนาดเล็ก ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยมีลักษณะคล้ายกันและขนาดใกล้เคียงกัน ส่วนของลำตวั แคบกวา่ สว่ นหนา้ อก เพล้ยี ไฟไมส่ ามารถแยกชนิดดว้ ยตาเปลา่ ได ้ ตัวเต็มวัย เพลี้ยไฟมีปีก 2 คู่ ปลายปีกบนมีขนเป็นเส้นยาวๆ ลำตัวยาวประมาณ 1.0 มิลลเิ มตร ตวั อ่อนมีสเี หลอื ง ตวั เต็มวยั มสี ีน้ำตาลปนเหลอื ง ตารวมมีสีแดงใหญ่ เคลื่อนไหวเร็วมาก ไข่ จะอยูภ่ ายในเนอื้ เยอ่ื พืช โดยวางไข่เป็นฟองเดย่ี วๆ พบทัว่ ไปบริเวณใบอ่อน ดอก กา้ นช่อ ดอก และผลอ่อน ระยะไข่ 4-7 วนั ตวั อ่อน ตัวอ่อนวัยที่ 1 ตัวจะมสี ีขาวใส ตารวมสแี ดงเห็นได้ชดั ส่วนตวั อ่อนวยั ที่ 2 สขี องลำตวั จะเป็นสเี หลอื งเข้มขนึ้ เคล่อื นไหวไดเ้ รว็ ขึ้น ดกั แด้ ระยะก่อนเข้าดักแด้ ตวั ออ่ นมแี ผ่นปกี ส้นั ๆ ที่ปล้องอก หนวดชตี้ รงไปข้างหน้า ไม่ค่อย เคลอื่ นไหว ระยะดักแด้ หนวดจะชี้ไปข้างหลัง แผ่นปกี จะยาวข้ึน พืชอาหาร มะม่วง มงั คุด มะมว่ งหมิ พานต์ พชื ตระกลู สม้ เงาะ พชื ตระกลู ถ่วั ศัตรธู รรมชาติ ได้แก่ ไรตวั หำ้ Amblyseius sp. (Phytoseiidae, Acarina) ด้วงเตา่ ตัวห้ำ Stethorus sp. (Coccinellidae, Coleoptera) การปอ้ งกันกำจัด 1. สำรวจเพล้ียไฟเงาะอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในช่วงท่ีอากาศร้อนอบอ้าวและฝนท้ิงช่วง โดยการสุ่มเคาะช่อดอกบนกระดาษแข็งสขี าว หากพบเพล้ียไฟ 2-3 ตวั ตอ่ ช่อ ควรทำการป้องกันกำจัด 2. ควรพ่นสารฆ่าแมลงป้องกันกำจัดในระยะต้ังแต่แทงช่อดอกถึงติดผลอ่อน อย่างน้อย 1-2 ครงั้ เมื่อพบการระบาดของเพลีย้ ไฟ และระมัดระวังช่วงท่มี ีดอกบานเต็มท่ี เปน็ ระยะทม่ี ีการผสม เกสร เพราะสารฆา่ แมลงบางชนิดอาจเป็นอนั ตรายตอ่ ผงึ้ ทชี่ ่วยผสมเกสรได ้ 3. สารฆ่าแมลงทใ่ี ช้ ได้แก่ fipronil (Ascend 5% SC) หรือ imidacloprid (Confidor 100 SL 10% SL) อตั รา 10 มิลลิลติ รตอ่ นำ้ 20 ลิตร แมลงศัตรไู มผ้ ล 129
เพลย้ี แป้ง (mealybugs) ช่อื วิทยาศาสตร ์ 1. Ferrisia virgata (Cockerell) 2. Planococcus lilacinus (Cockerell) 3. Planococcus minor (Maskell) 4. Rastrococcus sp. วงศ ์ Pseudococcidae อันดบั Hemiptera ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย เพลี้ยแป้งเป็นแมลงศัตรูสำคัญชนิดหน่ึงของเงาะ ท่ีเรียกว่าเพล้ียแป้งเน่ืองจากแมลงชนิดนี้ สามารถผลิตสารชนิดหน่ึง ลักษณะคล้ายแป้งออกมาจากรู และท่อเล็กๆ ท่ีมีอยู่เป็นจำนวนมากตาม ผนงั ลำตัว สารดงั กล่าวจะปกคลุมทว่ั บริเวณลำตัว เพลี้ยแป้งเป็นแมลงปากดูด และดูดกินน้ำเลย้ี งจาก ผล ก่งิ ออ่ น และชอ่ ดอกเงาะ พวกทที่ ำลายผลจะพบบริเวณข้วั ผล และโคนขนของผลเงาะ ถ้าทำลาย รุนแรงในระยะผลอ่อนทำให้ผลร่วง ในผลแก่จะทำให้สกปรกเน่ืองจากส่ิงขับถ่ายของเพล้ียแป้ง และมี ราดำเกดิ ขน้ึ รูปรา่ งลกั ษณะและชีวประวัติ ลักษณะท่ัวไปเพล้ียแป้งเพศเมีย อาจมีลักษณะ ยาวรี กลม หรือรูปไข่ เพศเมียส่วนใหญ่จะ ผลิตสารสีขาวลักษณะคล้ายแป้งปกคลุมลำตัว ส่วนด้านข้างลำตัวจะผลิตแป้งลักษณะเป็นเส้นเรียงกัน โดยรอบ เส้นแป้งที่อยู่ท้ายสุดของลำตัวจะยาวท่ีสุด บางชนิดจะยาวเท่ากับความยาวของลำตัว เพลี้ย แปง้ สามารถขยายพนั ธไ์ุ ดโ้ ดยใชเ้ พศ และไมใ่ ช้เพศ บางชนดิ ออกลูกเป็นตัว แตบ่ างชนดิ จะออกลกู เป็น ไข่อยู่ในถุง ซ่ึงต่อมาจะฟักเป็นตัวอ่อน ตัวอ่อนวัยแรก เมื่อฟักออกมาใหม่ๆ ไม่มีผงแป้งปกคลุมลำตัว และจะเคลอื่ นทีว่ ่องไวไปตามสว่ นต่างๆ ของพืช ตัวออ่ นเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ จนกระทัง่ เป็น ตัวเต็มวยั ซึ่งเพศเมียจะไม่มีปีกและไมค่ อ่ ยเคลื่อนท ี่ เพลีย้ แปง้ เพศผู้ วัยแรกและวัยท่สี องมีลกั ษณะคล้ายเพศเมยี เมื่อใกล้เป็นตวั เต็มวัยจะสรา้ งใย ห้มุ ตวั ใยมีลักษณะเป็นปยุ ขาวคลา้ ยสำลี ตัวเต็มวัยเพศผู้มักมปี ีก 1 คู่ หรอื ไมม่ ีปีก และไมก่ นิ อาหาร พบเพลี้ยแปง้ ในเงาะ 4 ชนดิ คือ F. virgata, P. lilacinus และ P. minor ทำลายกง่ิ อ่อนและ ผลเงาะ ส่วน Rastrococcus sp. ทำลายช่อดอก ในจำนวน 4 ชนดิ น้ี พบ F. virgata มคี วามสำคญั และระบาดรุนแรงทส่ี ดุ ทัง้ ท่ี จนั ทบรุ ี ระยอง ชมุ พร และสรุ าษฎร์ธาน ี ลักษณะของเพลย้ี แปง้ ชนดิ Ferrisia virgata เพลยี้ แปง้ ชนดิ นมี้ กี ารขยายพนั ธไ์ุ ด้ 2 แบบ คอื พวกทอ่ี อกลกู เปน็ ไขแ่ ละออกลกู เปน็ ตวั แมลงศตั รไู ม้ผล 130
พวกทอ่ี อกลกู เปน็ ไข่ ไขจ่ ะอยใู่ นถงุ ไข่ ระยะไขป่ ระมาณ 6-7 วนั (เฉลยี่ 6.21 วนั ) จงึ ฟกั เปน็ ตวั ออ่ น ตวั ออ่ นลอกคราบ 3-4 ครงั้ ระยะตวั ออ่ น 18-59 วนั (เฉลยี่ 35.57 วนั ) จงึ เปน็ ตวั เตม็ วยั อายขุ อง ตวั เตม็ วยั เพศเมยี 11-26 วนั (เฉลยี่ 18.53 วนั ) หลงั จากเปน็ ตวั เตม็ วยั ประมาณ 10 วนั จงึ เรมิ่ วางไข่ จำนวนไข่ 34-567 ฟอง ตอ่ ถงุ ไข่ รวมชพี จกั รเฉลย่ี 62.31 วนั เพศผมู้ กี ารลอกคราบ 2 ครง้ั ระยะตวั ออ่ นเพศผู้ 14-15 วนั เพศผจู้ ะสรา้ งใยหมุ้ ตวั 2-3 วนั กอ่ นเปน็ ตวั เตม็ วยั และตวั เตม็ วยั มปี กี 1 ค ู่ พวกที่ออกลูกเป็นตัวอ่อน ตัวอ่อนเพศเมียจะลอกคราบ 3-4 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 30-49 วัน (เฉลยี่ 30.12 วนั ) อายตุ ัวเต็มวยั เพศเมยี 5-21 วัน (เฉลย่ี 11.13 วนั ) จำนวนตัวอ่อน 22-455 ตัว (เฉล่ีย 146.95 ตัว) รวมชีพจักรเฉล่ีย 49.35 วัน เพศผตู้ วั ออ่ นลอกคราบ 2 ครัง้ ระยะตัวออ่ น 14-23 วัน สร้างใยห้มุ ตวั 4-7 วนั จงึ เปน็ ตวั เต็มวยั และตัวเต็มวัยมปี ีก 1 คู่ พชื อาหาร เงาะ นอ้ ยหนา่ มะมว่ ง ฝรง่ั กระถนิ แค มะยม เทยี นทอง และมนั สำปะหลัง ศตั รธู รรมชาติ พบแมลงศตั รธู รรมชาติของเพล้ยี แปง้ ท้งั แมลงเบยี น และแมลงห้ำ แตท่ ี่มบี ทบาทมากคือ ด้วง เต่า Scymnus sp. พบทำลาย F. virgata และหนอนผีเสื้อ Spalgis epius epius Westwood ทำลายเพลีย้ แป้ง P. lilacinus การป้องกันกำจัด 1. เพลยี้ แปง้ บางชนดิ อาจอาศยั อยใู่ นดนิ บรเิ วณโคนตน้ พชื หรอื รากวชั พชื และมมี ดเปน็ ตวั พาไปยงั สว่ นตา่ งๆ ของพชื อาหาร ควรตดั แตง่ กง่ิ เงาะ เพอื่ ลดการเปน็ พาหะของมดพาไปยงั ตน้ อนื่ ๆ และควรใชเ้ ศษ ผา้ ชบุ นำ้ มนั เครอื่ ง ผกู รอบตน้ ไมเ้ พอื่ ปอ้ งกนั มดและเพลย้ี แปง้ ทอ่ี าศยั อยใู่ นดนิ ไตข่ น้ึ มาบนตน้ 2. ถา้ พบระบาดในปรมิ าณไมม่ ากอยเู่ ปน็ กลมุ่ ตามสว่ นตา่ งๆ ของตน้ เงาะ ควรตดั ทง้ิ และเผาทำลาย 3. ถา้ ระบาดรนุ แรง พน่ ดว้ ยสารฆา่ แมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) chlorpyrifos/ cypermethrin (Nurelle-L 505 EC 50%/5% EC), imidacloprid (Confidor 100 SL 10% SL) หรอื carbosulfan (Posse 20% EC) อตั รา 45 กรมั 30, 10 และ 40 มลิ ลลิ ติ รตอ่ นำ้ 20 ลติ ร ตามลำดบั หลงั จากนน้ั ใหใ้ ชเ้ ศษผา้ ชบุ นำ้ มนั เครอ่ื งผกู รอบโคนตน้ ปอ้ งกนั มด และเพลย้ี แปง้ ไตข่ น้ึ มาบนตน้ หนอนคบื กินใบ (leaf eating looper) ชือ่ วิทยาศาสตร์ Oxyodes scrobiculata (Fabricius) วงศ์ Noctuidae อนั ดับ Lepidoptera แมลงศตั รูไมผ้ ล 131
ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย หนอนคบื กินใบมีความสำคญั ในระยะที่เงาะแตกใบอ่อนจะทำลายและทำใหเ้ กดิ ความเสยี หาย มาก หนอนจะกัดกนิ ใบเพสลาด รวมทง้ั ใบแก่ ทำใหก้ ารปรุงอาหารของใบไม่เพียงพอ รูปร่างลกั ษณะและชวี ประวตั ิ ตวั เต็มวยั เปน็ ผีเส้ือกลางคืน ปกี สนี ำ้ ตาลออ่ น เม่ือกางออกมีความกว้าง 5.0-6.0 เซนติเมตร ปีกคู่หน้ามีสีน้ำตาลเข้ม ปีกคู่หลังสีน้ำตาลอ่อนและที่ขอบปีกด้านบนมีแถบสีดำ ลำตัวมีขนสีเหลือง ปกคลมุ ตัวเต็มวัยจะพบหลบซอ่ นตามต้นหญ้า และวัชพชื อนื่ ๆ ทข่ี นึ้ อยู่บริเวณสวน ไข่ มีลกั ษณะกลม รี ขาวนวล ไม่มสี ่งิ ปกคลุม ไขเ่ ปน็ ฟองเดี่ยวๆ ตามใบออ่ นและยอดอ่อนของเงาะ ระยะไข่ 3-5 วัน ตัวหนอน ท่ีฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีสีเขียวอ่อนและมีแถบสีน้ำตาลอยู่ข้างลำตัว เร่ิมกัดกินใบ เงาะทนั ทเี มอ่ื ฟกั เปน็ ตวั หนอนเมอื่ โตเตม็ ทมี่ คี วามยาวประมาณ 3.0-4.0 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 14-17 วนั หนอนมีสตี ่างๆ กนั เช่น สีนำ้ ตาล สีเขียวออ่ น สเี หลอื งปนน้ำตาล เคล่ือนไหวได้เรว็ ถ้าหนอนไดร้ บั ความกระทบกระเทอื นบนต้นเงาะจะทิ้งตวั ลงสูพ่ ืน้ ดิน ดกั แด้ หนอนจะชกั ใยนำใบมาหอ่ หมุ้ ตวั แลว้ เจรญิ เปน็ ดกั แดอ้ ยภู่ ายใน ระยะดกั แด้ 10-12 วนั พชื อาหาร เงาะ ลำไย และล้ินจ่ี ศัตรธู รรมชาติ - การป้องกนั กำจดั 1. ถ้าหากโคนต้นเงาะโล่งเตียนไม่มีหญ้ารกให้เขย่ากิ่งเงาะ ตัวหนอนท้ิงตัวลงท่ีพื้นแล้วจับ ทำลายเสยี 2. ในระยะทเี่ งาะแตกใบอ่อน ถา้ พบหนอนบางสว่ นควรพน่ สารฆา่ แมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อัตรา 60 กรัมต่อน้ำ 20 ลติ ร หนอนรา่ นกินใบ (leaf eating caterpillar) ชอื่ วทิ ยาศาสตร ์ Parasa lepida (Cramer) วงศ์ Limacodidae อันดับ Lepidoptera แมลงศัตรูไมผ้ ล 132
ความสำคญั และลกั ษณะการทำลาย หนอนร่านกินใบ ระบาดทำความเสียหายกับเงาะไม่มากนัก นอกจากมีระบาดเป็นบางปี เท่าน้ัน ทำลายโดยกินใบแก่ แต่ถ้าหากระบาดในระยะที่เงาะกำลังออกดอกความเสียหายจะมีมาก เพราะเงาะตน้ ทถี่ ูกทำลายจะตดิ ผลขนาดเล็กและดอ้ ยคุณภาพ รปู รา่ งลกั ษณะและชีวประวตั ิ ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อขนาดกลาง ลำตัวอ้วนสั้น โคนปีกคู่หน้าสีเขียว ปลายปีกน้ำตาลเข้ม โคนปกี คู่หลังสนี ำ้ ตาลอ่อน เม่ือกางปกี กว้างประมาณ 3.0-4.0 เซนติเมตร ลำตัวมขี นปกคลมุ ไข่ เปน็ กลมุ่ ๆ ละ 20-60 ฟอง ไขม่ สี เี หลืองอ่อน กลมแบน วางซ้อนกนั คล้ายเกลด็ ปลา พบ วางไข่ใต้ใบ ระยะไข่ 5-7 วนั ตวั หนอน มลี ำตัวสเี ขยี ว มขี นแขง็ ขนึ้ เปน็ กระจุกเรยี งเปน็ แถว 2 แถว ตลอดข้างลำตวั ขน แข็งน้ีเม่ือถูกจะทำให้รู้สึกปวดแสบปวดร้อน และบางคนแพ้จะมีอาการผ่ืนแดง หนอนเม่ือฟักออกจาก ไข่ใหมๆ่ จะแทะกนิ แตผ่ วิ ใบเท่านัน้ ทำใหแ้ หง้ และรว่ ง หนอนจะอย่รู วมกันเปน็ กระจุกเมื่อโตข้นึ แล้วจะ กระจายไปตามใบต่างๆ ในระยะนเ้ี ป็นระยะท่หี นอนทำความเสยี หายให้กับเงาะมากท่ีสุด หนอนโตเต็ม ทม่ี ีขนาด 2.0-2.5 เซนตเิ มตร ระยะหนอน 34-49 วัน หนอนจะสรา้ งรังมใี ยปกคลมุ ดักแด้ มลี กั ษณะเป็นก้อนแข็งกลมสีน้ำตาลเข้มตามใบ และก่งิ ระยะดักแด้ 21-26 วนั พืชอาหาร เงาะ ลำไย มะมว่ ง ชมพู่ ขนุน ไผ่ ละหงุ่ มะพร้าว ถว่ั พู นุ่น มะขามเทศ ทบั ทิม และกุหลาบ เปน็ ตน้ ศตั รธู รรมชาติ - การปอ้ งกันกำจดั 1. ในระยะท่ีหนอนยังเล็กจะอยู่รวมกัน และกัดแทะผิวใบทำให้ใบเงาะแห้ง เมื่อพบใบเงาะ แหง้ หรือมรี อยทำลายใหต้ รวจดู นำใบเงาะน้นั ไปทำลายเสยี 2. หนอนระบาดมากพ่นดว้ ยสารฆา่ แมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อตั รา 60 กรัม ต่อนำ้ 20 ลิตร หนอนเจาะขัว้ ผลเงาะ (cocoa pod borer) ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Conopomorpha cramerella Snellen วงศ์ Gracillariidae แมลงศัตรไู มผ้ ล 133
อนั ดบั Lepidoptera ความสำคญั และลักษณะการทำลาย หนอนเจาะข้ัวผลเงาะเป็นแมลงชนิดเดียวกับหนอนเจาะโกโก้ พบตามประเทศในเอเชีย หนอนของแมลงชนิดน้ีมักพบอยู่ภายในผลบริเวณขั้วหรือต่ำกว่าข้ัวลงมาเล็กน้อย การทำลายของ หนอนไม่สามารถสังเกตได้จากลักษณะภายนอก ต่อเม่ือรับประทานเงาะจึงจะพบหนอนอยู่ที่ขั้ว โดย หนอนจะกัดกินที่ข้ัวเน้ือและบางทีถึงเมล็ด แม้ว่าตัวหนอนจะกัดกินแต่เพียงบริเวณส่วนของขั้วผล เท่านัน้ แต่ผูบ้ ริโภครงั เกียจ รปู รา่ งลกั ษณะและชีวประวัติ ตัวเต็มวัย เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก ลำตัวยาว 4.0-7.0 มิลลิเมตร เม่ือกางปีกกว้าง 8.0-13.0 มลิ ลเิ มตร ปกี คหู่ น้าเรียวยาว สีนำ้ ตาลดำ ปลายปกี สีเหลอื ง มลี วดลายสีขาว และมีขนทีข่ อบ ปกี ลา่ ง ปกี คู่หลงั เล็กเรียวขนาดสัน้ กว่าปกี หน้า และมีขนยาวโดยรอบ มหี นวดยาวกว่าปีก และเม่อื อยู่ ในสภาพเกาะนิง่ หนวดจะลไู่ ปดา้ นหลงั ในตอนกลางวนั อยูต่ ามตน้ พชื อาหาร ไข่ เพศเมียวางไข่ที่ผลเงาะ ไข่มีลักษณะกลมรี ความยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ระยะไข ่ 2-7 วนั ตัวหนอน เม่ือฟักออกจากไข่ หนอนจะเจาะเข้าไปในผล ตัวหนอนมีสีขาว หัวสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มท่ีขนาด 8.0-12.0 มิลลิเมตร ระยะหนอน 14-18 วัน เมื่อหนอนออกจากผลจะไต่ลงมา โดยการสรา้ งใยและหาทเี่ หมาะสมเพือ่ เขา้ ดกั แด้ ดักแด้ ระยะดกั แด้ 6-7 วนั พชื อาหาร เงาะ ศตั รูธรรมชาต ิ - การปอ้ งกันกำจดั 1. เก็บเกยี่ วในขณะท่ผี ลเงาะยงั ไม่สุกมากเกินไป เพื่อหลกี เล่ยี งการทำลายของหนอน และเกบ็ ผลเงาะทีร่ ว่ งหลน่ นำไปฝงั หรอื เผา เพอ่ื ป้องกนั การระบาดในฤดูต่อไป 2. บริเวณทม่ี ีการระบาด เมือ่ ผลเงาะเรมิ่ เปลย่ี นสคี วรพน่ ดว้ ย สารฆา่ แมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อตั รา 60 กรัมต่อนำ้ 20 ลิตร ทกุ 7 วนั และหยุดพ่นสารกอ่ นเก็บ 7 วัน แมลงศตั รูไม้ผล 134
แมลงคอ่ มทอง (leaf eating weevil) ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Hypomeces squamosus (Fabricius) วงศ ์ Curculionidae อันดับ Coleoptera ความสำคัญและลกั ษณะการทำลาย ตัวเต็มวัยของแมลงค่อมทอง สามารถทำลายพืชได้หลายชนิดโดยกัดกินใบพืช ยอดอ่อนและ ดอก ใบท่ถี กู ทำลายจะเวา้ ๆ แหว่งๆ ถา้ ระบาดรุนแรงจะเหลอื แต่ก้านใบ และมีมูลทถี่ ่ายออกมาปรากฏ ให้เห็นตามบริเวณยอด แมลงชนิดน้ีตัวเต็มวัยเป็นระยะท่ีสำคัญท่ีสุด เพราะกัดกินส่วนต่างๆ ของพืช สีของตัวเตม็ วยั จะเปล่ียนไป ขนึ้ อยู่กับสภาพแวดลอ้ ม จงึ พบมีหลายสี เชน่ สีเหลอื ง สเี ทา สดี ำ และ สีเขียวปนเหลืองเป็นตัวเต็มวัยท่ีพบบนต้นพืชมักพบเป็นคู่ๆ หรือรวมกันเป็นกลุ่มบนใบ เม่ือต้นพืชถูก กระทบกระเทือน แมลงชนดิ นจ้ี ะทงิ้ ตวั ลงสู่พน้ื ดนิ รูปร่างลกั ษณะและชีวประวตั ิ ตัวเตม็ วยั เป็นดว้ งงวงขนาดกลาง ส่วนหวั อก และปกี แยกกนั เห็นชดั เจน ส่วนหวั ส้นั ทยู่ น่ื ตรงไม่ง้มุ เข้าใต้อก เพศผมู้ ีขนาดเล็กกว่าเพศเมีย ลำตวั เพศผู้ยาว 1.3-1.4 เซนติเมตร และลำตวั เพศ เมยี ยาว 1.4-1.5 เซนตเิ มตร ระยะตัวเตม็ วัยเพศผู้ 8 เดือน เพศเมยี 12 เดือน ไข่ เพศเมยี วางไข่ใตด้ นิ เพศเมยี 1 ตวั วางไขไ่ ด้ 40-131 ฟอง วางไข่ 5-10 ครั้ง จำนวนไขท่ ่ี วางแตล่ ะครง้ั 3-27 ฟอง ระยะไข่ 7-8 วัน ตวั หนอน เมือ่ ไขฟ่ ักเปน็ หนอนจะกัดกินรากในดิน ระยะหนอน 22-37 วัน ดักแด้ หนอนจะเขา้ ดักแด้ในดิน ระยะดกั แด้ 10-15 วัน พืชอาหาร เงาะ มะมว่ ง พืชตระกลู สม้ ศัตรธู รรมชาต ิ ในระยะหนอนมศี ตั รูธรรมชาตพิ วกแมลงวันกน้ ขน (Tachinid Fly) การป้องกนั กำจัด 1. ตัวเตม็ วยั ของแมลงชนดิ น้มี ีอปุ นิสัยชอบทง้ิ ตวั เม่ือกระทบกระเทอื นใชผ้ ้าพลาสตกิ รองใตต้ น้ แล้วเขย่าตน้ ตัวเต็มวยั จะหล่นแล้วรวบรวมนำไปทำลาย 2. บริเวณท่พี บระบาดควรพน่ ดว้ ยสารฆ่าแมลง carbaryl (Sevin 85 WP 85% WP) อตั รา แมลงศัตรไู มผ้ ล 135
60 กรัม หรอื carbosulfan (Posse 20% EC) อัตรา 30-45 มิลลลิ ิตรต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นให้ทวั่ ใน ระยะท่เี งาะแตกใบอ่อน 2-3 ครงั้ แตล่ ะครง้ั ห่างกนั 10-14 วนั เอกสารประกอบการเรยี บเรยี ง บุปผา เหล่าสนิ ชัย. 2538. เพลย้ี แป้งศัตรเู งาะ. กสกิ ร. 68(5): 426-429. วัชรา ชณุ หวงศ์ อรนุช กองกาญจนะ อรุณี วงษก์ อบรษั ฎ์ มาลี ชวนะพงศ์ เกรียงไกร จำเริญมา และ บุญสม เมฆสองสี. 2525. การศึกษาชีววิทยาและพืชอาศัยของแมลงค่อมทอง. น. 34-38. ใน รายงานผลการค้นคว้าและวิจัยปี 2525. กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวโพดและพืชไร่อื่นๆ กองกฏี และสัตววทิ ยา กรมวชิ าการเกษตร กรุงเทพฯ. วิทย์ นามเรืองศรี ชลิดา อุณหวุฒิ และสาทร สิริสิงห์. 2534. ฤดูกาลระบาดของเพลี้ยไฟเงาะ. น. 1-14. ใน รายงานผลการค้นคว้าและวิจยั ปี 2534. กลมุ่ งานวิจยั แมลงศตั รูไมผ้ ลและพชื สวนอ่ืนๆ กองกีฏและสตั ววิทยา กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ. ศริ ิณี พนู ไชยศร.ี 2533. เพลี้ยไฟที่พบในประเทศไทย. ว.กฏี .สตั ว. 12(4): 259-261. สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2553. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2552. สำนกั งานเศรษฐกิจ การเกษตร กรงุ เทพฯ. 174 หนา้ . Ooi, A.C., L.G. Chan, K.K., Chong, T.C., Hai, Md.J., Manat, H.C., Tuck and L.G., 012111Soon. 1987. Introduction to the cocoa pod borer. P.3-6 In Proceeding of the Symposium on management of the Cocoa Pod Borer, 2nd March 1987, Kuala lumper Malaysia. Wongsiri, N. 1991. List of Insect, Mite and Other Zoological Pests of Economic Plants in Thailand. Entomology and Zoology Div. Department of Agriculture, Bangkok, Thailand. 168 PP. แมลงศัตรไู มผ้ ล 136
แมลงศัตรเู งาะ เพล้ยี ไฟพริกทำลายทผ่ี ลออ่ น ทำให้ขนเงาะหงกิ งอ เพล้ียไฟพรกิ เพลยี้ แปง้ เงาะ เพลีย้ แปง้ ขบั ถา่ ยมลู หวานทำใหร้ าดำเขา้ ทำลายซ้ำ หนอนคืบกินใบ หนอนร่านกนิ ใบเงาะ หนอนเจาะผลเงาะ เพลีย้ หอย แมลงศัตรูไม้ผล 137
แมลงศัตรูไม้ผล ระยะพฒั นาการของเงาะ และระยะการร 138 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย การระบาดของแมลง ัศต ูร ืพช ระยะการ ัพฒนาของเงาะ แตกใบอ่อน 3 ครั้ง ตดั แต่งกิง่ ระยะดอก ตดิ ผลอ่อน ผลแก ่ เพลีย้ ไฟ เพลย้ี แปง้ หนอนกนิ ใบตา่ งๆ หนอนเจาะขั้ว
ระบาดของแมลงศตั รทู ี่สำคัญในฤดปู กต ิ ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย.
แมลงวนั ผลไมแ้ ละการปอ้ งกนั กำจดั สัญญาณ ี ศรคี ชา แมลงวันผลไม้หรือที่เรียกกันติดปากว่า แมลงวันทอง เป็นศัตรูที่สำคัญของผลไม้หลายชนิด โดยเฉพาะกลุ่มท่ีมีเปลือกบางและเน้ืออ่อนนุ่ม เช่น ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง มะเฟือง พุทรา น้อยหน่า เปน็ ตน้ ไม้ผลกลมุ่ นจี้ ะถูกแมลงวนั ผลไม้เข้าทำลายได้งา่ ย แมลงวันผลไมม้ พี ชื อาศัยประมาณ 150 ชนิด ทัง้ พืชผกั ไม้ปา่ รวมถึงวัชพชื บางชนดิ ดว้ ย (Drew et al., 1982) ประเทศไทยอยูใ่ นเขตอบอ่นุ และมี พืชอาศัยของแมลงวันผลไม้หลายชนิด จึงทำให้แมลงวันผลไม้สามารถขยายพันธ์ุและเพ่ิมปริมาณจาก พืชอาศัยในแต่ละท้องถ่ินของประเทศไทยได้เกือบตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนท่ีมีผลไม้ออก ชุกชุม จะพบปริมาณแมลงวนั ผลไม้มากและการระบาดรุนแรง ท้ังนี้ เนื่องจากแมลงวนั ผลไมม้ อี าหาร อุดมสมบูรณ์ ประกอบกับสามารถขยายพันธ์ุได้อย่างต่อเน่ือง ถ้าเกษตรกรไม่ทำการป้องกันกำจัด แมลงวนั ผลไม้จะทำให้ผลผลิตเสียหาย 100% สถานการณ์และความสำคญั ของแมลงวนั ผลไม ้ แมลงวันผลไม้ทำลายผลผลิต โดยทำให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่น หรืออาจทำให้ผลมีตำหนิ รปู ทรงผิดปกติ คุณภาพตกตำ่ ขายไมไ่ ด้ราคา หรืออาจมหี นอนอยู่ภายในเป็นทรี่ งั เกยี จของผ้บู รโิ ภค ดงั น้ันเกษตรกรจึงจำเป็นต้องทำการป้องกันกำจัด แต่การใช้สารฆ่าแมลงอย่างต่อเนื่องต้ังแต่ติดผลจนถึง เก็บเกี่ยว ก่อให้เกิดปัญหาสารพิษตกค้างของสารฆ่าแมลงในผลผลิตและสภาพแวดล้อม นอกจากน ี้ ยังเป็นปัญหาในการส่งออก กล่าวคือ ประเทศที่มีกฎหมายกักกันพืชท่ีเข้มงวด เช่น ญ่ีปุ่น สหรฐั อเมริกา ออสเตรเลยี นวิ ซแี ลนด์ และเกาหลใี ต้ ใช้เป็นเครอื่ งมอื กีดกันทางการคา้ โดยผลไมท้ ่จี ะ นำเข้าประเทศเหล่านี้ต้องผ่านขบวนการกำจัดแมลงวันผลไม้ ด้วยมาตรการอย่างใดอย่างหน่ึงเสียก่อน เช่น การอบไอนำ้ ร้อน หรอื การฉายรงั สี ดงั นน้ั ความเสียหายจากแมลงวนั ผลไม้ จึงไมเ่ พียงแต่เกิดข้ึน กับผลไมก้ อ่ นเก็บเกยี่ วภายในแปลงเทา่ น้นั แตม่ ผี ลตอ่ เนอื่ งถงึ หลังการเก็บเก่ียวด้วย ความเสยี หายจาก แมลงวันผลไม้ที่เกิดขึ้นทางเศรษฐกิจต่อผลไม้ไทยคาดคะเนว่าในปีหนึ่งๆ มีมูลค่าไม่ต่ำกว่าปีละ ประมาณ 3,000 ลา้ นบาท โดยคาดคะเนจากความเสยี หายโดยตรงต่อผลผลติ คา่ ใช้จ่ายทเ่ี พิ่มขึน้ ของ เกษตรกรในการป้องกันกำจัด ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการหลังการเก็บเก่ียวก่อนการส่งออก และค่าใช้ จ่ายในการนำเข้าสารเคมีเพื่อป้องกันกำจัดแมลงวันผลไม้ ดังนั้น แมลงวันผลไม้จึงจัดเป็นศัตรูท่ีสำคัญ ยงิ่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ซงึ่ เกษตรกรผทู้ ำสวนผลไม้และพืชผกั ของประเทศไทยต้องเผชิญและ แกป้ ญั หาในการผลิตเหลา่ น้ี แมลงศตั รูไมผ้ ล 139
แมลงวนั ผลไม้จดั อยใู่ นอันดับ (Order) Diptera วงศ์ (Family) Tephritidae แมลงวนั ผลไมใ้ นวงศน์ ้ีมี ประมาณ 4,000 ชนดิ (species) ท่ีเปน็ ศตั รพู ืชผกั และผลไม้ พบกระจายตัวอย่ทู ัว่ โลกทัง้ ในเขตหนาว เขตอบอุ่น และเขตร้อน ส่วนในเขตภาคพนื้ ทวีป (Oriental Region: ครอบคลุมต้งั แต่ Tropical Asia, Indonesia ถึง Irian Jaya, หมู่เกาะริวกิว ญ่ีปุ่น และประเทศจีนตอนใต้) พบว่ามีแมลงวันผลไม้ ประมาณ 800 ชนดิ (Hardy 1973, 1974; White and Elson-Harris, 1992) แมลงวันผลไม้ทีส่ ำคัญ และเป็นปัญหาท่วั โลกมไี มน่ ้อยกวา่ 70 ชนิด ส่วนในประเทศไทยพบ 50 ชนดิ โดยในจำนวนนจ้ี ัดเปน็ แมลงวนั ผลไม้ที่มคี วามสำคญั ทางเศรษฐกิจถงึ 10 ชนิด (กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2536; กองกีฏและ สัตววิทยา, 2544) แต่เกษตรกรไทยรู้จักกันประมาณ 2-3 ชนิด เท่านั้น ท้ังนี้ เน่ืองจากลักษณะ ภายนอกของแมลงวันผลไมม้ ีความใกล้เคยี งกันมาก แมลงวันผลไม้ที่สำคัญของประเทศไทยมีอย่หู ลายชนดิ แสน (2529) รายงานว่ามแี มลงวนั ผล ไม้ทส่ี ำคัญในเมอื งไทยอยู่จำนวน 7 ชนดิ มนตรี (2536) รายงานชนิดแมลงวนั ผลไม้ที่สำคัญ จำนวน กวา่ 9 ชนดิ ที่สำคัญไดแ้ ก ่ 1. Bactrocera dorsalis (Hendel) แมลงวันผลไมช้ นดิ นม้ี ตี วั สีดำหน้าแขง้ ขาสีดำทัง้ 3 คู่ ลำตัวขนาดประมาณ 1 เซนตเิ มตร ขอบปีกมีสีดำตลอดไปจนถึงปลายปีกท้ังสองข้าง แมลงชนิดน้ีเป็นแมลงวันผลไม้ที่พบแพร่กระจายอยู่ ทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย แต่พบน้อยมากในภาคใต้ของประเทศไทยจนแทบไม่พบเลย มีพืช อาหารมากกว่า 122 ชนิด เป็นแมลงท่ีมีความสำคัญทางเศรษฐกิจในภาคกลางและภาคเหนือ มีเขต แพรก่ ระจายท่วั ไปในประเทศไทย มีพชื อาศัยมากกว่า 50 ชนดิ ในเขตภาคกลาง 2. Bactrocera correcta (Bezzi) แมลงวนั ผลไม้ชนิดนีม้ ขี นาดเลก็ กวา่ ชนิดแรกเล็กนอ้ ย แตว่ ่องไวกว่า มสี ีนำ้ ตาลแดงทัง้ ลำตัว และขา ปลายปีกมีจุดเล็กๆ สีดำ สามารถทำลายผลไม้ได้ตั้งแต่ผลไม้ติดผลเล็กๆ และยังแข็งอยู่ เช่น ฝรงั่ ผลอ่อน อายุ ประมาณ 1 เดือน ดังนั้น การปอ้ งกันกำจดั แมลงวันผลไมช้ นดิ นี้ จะยากลำบากกวา่ แมลงวันผลไม้ชนิดอื่นๆ เน่ืองจากมีช่วงระยะเวลาการทำลายพืชที่กว้างกว่า คือ ทำลายทั้งผลอ่อน และผลแก่ การปอ้ งกนั กำจัดแมลงวันผลไมจ้ ึงต้องดำเนนิ การเกือบตลอดระยะการพัฒนาของผล แมลง ชนิดน้ีมีเขตแพร่กระจายในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และแทบจะไม่พบในภาคใต้ มีพืชอาศัยไม่น้อย กวา่ 36 ชนิด 3. Bactrocera cucurbitae (Coquillett) แมลงชนิดนี้มีขนาดใกล้เคียงกับแมลงวันผลไม้ชนิดแรก แต่ลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมส้ม มีแถบสเี หลืองบนอกด้านสนั หลัง จำนวน 3 แถบ ปีกมแี ถบสดี ำตามแนวขวางของปีก ปลายปกี มีแถบ สดี ำหนาจนดเู ป็นจดุ ทปี่ ลายปกี แมลงชนดิ นม้ี ีการบนิ เคลอ่ื นไหวเชอื่ งช้า และมีระดับการบนิ ตำ่ สูงจาก แมลงศัตรไู มผ้ ล 140
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161