Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยาจีน1

Description: ยาจีน1

Search

Read the Text Version

ชัง-เอ๋อ-จ่ือ (Cangerzi)苍耳子 ช่ือแตจ้ ๋ิว : ชาง-หยือ-จี้ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Xanthium sibiricum Patrin ex Widder var. jingyuanense H.G.Hou & Y.T.Lu ช่ือเภสชั วทิ ยา : Fructus Xanthii ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 51

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมเย็น แก้ปวด ทำ� ใหจ้ มูกโลง่ รักษาอาการคัน ลมพษิ รสชาติและคณุ สมบัติ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 温(อุ่น) 有毒(มีพิษ) เข้าสู่เสน้ ลมปราณ 肺(ปอด) ปริมาณท่ีใช้ 3 -10 กรมั ส่วนทใ่ี ช้ เมลด็ ฤทธ์ิทางเภสัชวทิ ยา ต้านแบคทีเรยี ต้านเช้ือรา รักษาอาการปวดขอ้ แกก้ ารเกร็ง กลา้ มเนื้อ แกป้ วด ถา้ ใช้มากจะเกิดพษิ ท�ำให้นำ้� ตาลในเลอื ดต�่ำ มากจนชัก ยานี้จงึ ไม่ควรใชป้ รมิ าณมากจนเกนิ ไป 苍耳子(ชังเออ๋ จื่อ) 10 กรมั 辛夷花(ซินอฮ๋ี วา) 10 กรัม 白芷(ไปจ๋ ่อื ) 10 กรมั 川芎(ชวนซรฺ ง) 10 กรมั ต�ำรับยาที่ใชท้ างคลนิ ิก 黄芩(หวงฉนิ ) 10 กรมั 薄荷(ป๋อเหอ) 10 กรมั ชางเอ๋อจอ่ื สา่ น 川贝母(ชวนเปย้ หมู)่ 10 กรมั 菊花(จวฮี๋ วา) 10 กรมั (苍耳子散) 甘草(กันเฉ่า) 10 กรัม การออกฤทธิ์ ขบั กระจายลม ทำ� ให้จมกู โล่ง ระงบั อาการปวด ออกฤทธิต์ ่อปอด ทะลวงเส้นท�ำใหเ้ สน้ ลมปราณโลง่ ข้อควรระวงั ยามีพษิ อาจทำ� ใหค้ ลน่ื ไส้อาเจยี น ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสยี ส่วนอาการปวดหวั จากเลือดพรอ่ งและ สตรีมีครรภไ์ ม่ควรใช้ 52 ตำ� ราการเรยี นรู้ยาจนี ด้วยตนเอง 1

ซิน-อ๋ี-ฮวา (Xinyihua)辛夷花 ชือ่ แตจ้ ิ๋ว : ซงิ -อ-่ี ฮวย ชอื่ พฤกษศาสตร์ : Magnolia denudata Desr. var. pyriformis T.D.Yang & T.C.Cui ชอ่ื เภสัชวทิ ยา : Flos Magnoliae ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 53

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมเย็น ทำ� ใหจ้ มกู โลง่ รสชาติและคณุ สมบตั ิ 辛(เผด็ ) 温 (อุ่น) เข้าสเู่ สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) ปรมิ าณทใ่ี ช้ 3 -9 กรัม สว่ นทใี่ ช้ ดอก ฤทธ์ิทางเภสชั วทิ ยา ต้านเชอ้ื รา แกอ้ าการปวด และกลอ่ มประสาท ทำ� ให้เกดิ การหด ตวั ของหลอดเลือดในโพรงจมกู ทำ� ให้มดลูกหดตัว ลดความดนั เลอื ด 白芷(ไปจ๋ ่อื ) 6 กรมั 薄荷(ป้อเหอ) 6 กรัม 辛夷花(ซนิ อีฮ๋ วา) 10 กรัม 苍耳子(ชังเอ๋อจอ่ื ) 10 กรมั ต�ำรับยาท่ีใชท้ างคลนิ ิก 黄芩(หวงฉิน) 10 กรัม 菊花(จวฮี๋ วา) 10 กรมั เส่ียวชางเออ๋ จ่อื สา่ น 连翘(เหลียนเช่ียว) 10 กรมั การออกฤทธ์ิ ขับลม ขจัดเยน็ ระงับปวดบรเิ วณใบหน้าและ (小苍耳子散) ศรี ษะ ท�ำให้จมูกโล่ง ขอ้ ควรระวัง ตวั ยาน้หี า้ มใช้กับคนทปี่ วดศรษี ะจากหยนิ พรอ่ ง โรคทเี่ กิดจากความร้อน 54 ต�ำราการเรียนรู้ยาจนี ด้วยตนเอง 1

เซิง-เจียง (Shengjiang)生姜 ชือ่ แตจ้ ๋วิ : แช-เกยี ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Zingiber officinale var. rubrum Theilade ชอ่ื เภสชั วทิ ยา : Rhizoma Zingiberris Recens ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 55

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับเหงอ่ื แก้อาเจยี น แกไ้ อ ลดพิษของสมนุ ไพรบางชนดิ ได้ เช่น 半夏(ปัน้ เช่ีย) รสชาติและคุณสมบตั ิ 辛(เผด็ ) 温(อนุ่ ) เข้าสูเ่ สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) ปรมิ าณทใ่ี ช้ 3–10 กรัม สว่ นทใ่ี ช้ เหง้า ฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา ช่วยยอ่ ยอาหาร ออกฤทธ์เิ พิม่ การหล่ังน้ำ� ย่อยและกระตนุ้ การ บบี ตัวของกระเพาะอาหาร ระงับอาการคลื่นไสอ้ าเจยี น ขับเหงอื่ กระตุ้นการไหลเวยี นของเลือด 柴胡 (ไฉห)ู 24 กรมั 黄芩(หวงฉนิ ) 9 กรมั ตำ� รบั ยาทใ่ี ช้ทางคลินิก 半夏 (ปั้นเซีย่ ) 9 กรัม 生姜(เซงิ เจียง) 9 กรมั เสีย่ วไฉหูทัง 人参 (เหรินเซนิ ) 9 กรมั 大枣(ตา้ เจา่ ) 12 ผล (小柴胡汤) 甘草(炙) กันเฉา่ (จ้ือ) 6 กรมั การออกฤทธิ์ ปรบั สมดุลเส้นเส้าหยาง (ถุงน�ำ้ ด)ี ระงบั ปวด ขอ้ ควรระวงั ยาต�ำรบั นไี้ ม่ควรใชใ้ นผปู้ ่วยท่เี ปน็ โรคส่วนบนแกร่ง ส่วนล่างพร่อง ไฟตับสงู จัดจนพงุ่ ขนึ้ ส่วน บน มีอาการหยินพรอ่ งผสมเลือดจางสว่ นคนท่มี ีอาการหยนิ พรอ่ งก�ำเนดิ รอ้ นไมค่ วรใช้ 56 ตำ� ราการเรียนรยู้ าจนี ด้วยตนเอง 1

กลุ่มยาระบายลมภายนอก (发散解表药) - ยาขับระบายลมเย็น(发散风寒药) - ยาขับระบายลมร้อน(发散风热药) อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 57

ยาขบั ระบายลมร้อน (发散风热药) ปอ๋ เหอ(薄荷) หนิวป้างจ่อื (牛旁子) จวี๋ฮวา(菊花) ซางเย(่ 桑叶) ฉานทุ่ย(蝉蜕) มา่ นจิงจื่อ(蔓荆子) เกอ๋ เกนิ (葛根) ไฉหู(柴胡) เซิงหมา(升麻)

ป๋อ-เหอ (Bohe)薄荷 ชื่อแตจ้ ิว๋ : ปอ่ -ห่อ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Mentha cordifolia Lej. & Courtois ชื่อเภสัชวิทยา : Herba Menthae ภาพแสดงใหเ้ ห็นลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 59

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคุณ ขับลมร้อน แก้ปวดศรี ษะ ตาแดง เจบ็ คอ กระทงุ้ ผ่นื รสชาตแิ ละคณุ สมบตั ิ 辛(เผ็ด) 凉(เยน็ ) เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺 (ปอด) 肝(ตับ) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 3–6 กรมั ส่วนที่ใช้ ใบหรอื ส่วนทั้งหมดของพืช ฤทธิ์ทางเภสัชวทิ ยา ต้านแบคทเี รยี ลดไข้ (ช่วยขบั เหง่ือ) ทำ� ให้ผวิ หนงั เยน็ ขยายหลอด เลอื ดฝอยบริเวณผวิ หนัง ลดอณุ ภูมขิ องร่างกาย แก้ปวดกระเพาะ อาหาร แกค้ ัน ขบั เมือก ลดการอักเสบในระบบทางเดนิ หายใจ เพมิ่ การขับนำ�้ ดแี ละ เกลือดี (bile salt) ตำ� รับยาท่ีใช้ทางคลนิ ิก 大黄(ต้าหวง) 9 กรัม 朴硝(ผอเชียว) 9 กรมั เหลยี งเกอ๋ สา่ น 甘草(กนั เฉ่า) 9 กรัม 山栀子仁(ซานจอื จอ่ื เหรนิ ) 5 กรมั 薄荷(ป๋อเหอ) 5 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 5 กรมั 连翘(เหลยี นเชี่ยว) 18 กรมั (凉膈散) การออกฤทธ์ิ รกั ษาอาการรอ้ นในของซ่างจงเจียว(上中焦) ขอ้ ควรระวงั ตัวยาไม่ควรใชก้ บั อาการชี่พร่องเหง่อื ออกงา่ ย หรอื คนทเ่ี หง่ือออกเยอะ รวมทง้ั อาการหยินพรอ่ งเลอื ดแห้ง 60 ต�ำราการเรียนรูย้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

หนวิ -ป้าง-จ่ือ (Niubangzi)牛蒡子 ชื่อแตจ้ ิ๋ว : หง่-ู ผัง-จ้ี ช่ือพฤกษศาสตร์ : Arctium lappa L. subsp. nemorosum (Lej.) P.D.Sell ชื่อเภสัชวิทยา : Fructus Arctii ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของยาจีน อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 61

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมร้อน แกเ้ จบ็ คอ ขับพิษ ลดบวม กระทงุ้ ผน่ื รสชาติและคุณสมบัติ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 寒(เย็นมาก) เขา้ ส่เู ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) ปริมาณที่ใช้ 6-12 กรัม ส่วนทใี่ ช้ เมล็ด ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ตา้ นแบคทีเรยี ตา้ นเชอื้ รา ขบั ปสั สาวะ ลดอาการไข้ ลดนำ้� ตาลในเลือด ช่วยระบาย เปน็ ยาท่มี ผี ลตอ่ การอกั เสบของเส้นลมปราณปอด โดยเฉพาะ อาการเจ็บคอและอาการหัด คางทูม ไขท้ รพษิ และลดอาการอกั เสบของตบั ในผูป้ ่วยอักเสบเร้อื รัง มักใช้ร่วมกบั 金银花(จนิ -อิน๋ -ฮวา) 连翘(เหลยี น-เช่ียว) 玄参(เสวยี น-เซนิ ) 川贝母(ชวน-เป้ย-หมู)่ 西河柳(ซเี หอหลิว่ ) 6 กรัม 荆芥(จงิ เจีย้ ) 4 กรมั 甘草(กันเฉ่า) 3 กรมั ตำ� รบั ยาทีใ่ ชท้ างคลินิก 干葛(กันเก๋อ) 5 กรัม 蝉蜕(ฉันทยุ่ ) 3 กรมั 玄参(เสวียนเซนิ ) 6 กรมั จเู๋ ยห่ ลวิ ป้างทงั 知母(จอื หมู่) 3 กรัม 薄荷(ปอ๋ เหอ) 3 กรัม 竹叶(จู๋เย่) 10 กรัม (竹叶柳蒡汤) 炒牛蒡子(เฉ่าหนวิ ป้างจอ่ื ) 5 กรัม การออกฤทธิ์ ใช้รกั ษาโรคหดั ทม่ี ีผ่นื แดงร้อนท�ำลายสารน�้ำ แก้ไขต้ ัวร้อน ข้อควรระวงั ต�ำรับยานห้ี ้ามใช้ในผปู้ ว่ ยระยะท่ีมีผืน่ ใกล้จะแตกปวดแสบปวดร้อนสว่ นคนท่ีมอี าการม้าม พร่องทอ้ งเสยี ถา่ ยเหลว ไม่ควรใช้ตำ� รับยานี้ 62 ตำ� ราการเรียนรูย้ าจนี ด้วยตนเอง 1

ซาง-เย่ (Sangye) 桑叶 ชือ่ แต้จ๋วิ : ซงึ -เฮยี ะ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Morus alba var. emarginata Y.B.Wu ช่ือเภสชั วทิ ยา : Folium Mori ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภูมิ 63

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคณุ ขบั ลมร้อน ดบั รอ้ นในตับ เพมิ่ ความชุ่มช้ืนปอด รสชาติและคุณสมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 寒(เยน็ ) เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตบั ) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 6–12 กรัม ส่วนท่ใี ช้ ใบ ฤทธิท์ างเภสชั วทิ ยา ต้านแบคทีเรยี ลดอาการปวดเกร็งของกลา้ มเนื้อ ขบั เหงือ่ ใบหมอ่ นชนดิ สกัด ใช้ฉีดรกั ษาการอกั เสบของโรคเทา้ ช้าง ฝีหนอง ลดไขมันในเลอื ด ลดระดับน�้ำตาลในเลอื ด 桑叶(ซงั เย)่ 8 กรมั 菊花(จว๋ฮี วา) 3 กรมั ตำ� รับยาทใี่ ช้ทางคลินกิ 杏仁(ซ่ิงเหริน) 6 กรมั 连翘(เหลยี นเชี่ยว) 5 กรัม ซังจว๋อี ิน 薄荷(ป๋อเหอ) 3 กรัม 甘草(กนั เฉ่า) 3 กรมั (桑菊饮) 苇根(เหวย่ เกิน) 6 กรัม การออกฤทธิ์ รักษาอาการไอจากลมร้อน ขอ้ ควรระวงั ต�ำรบั ยาน้ีไม่เหมาะสำ� หรบั อาการไอท่ีเกดิ จากลมเย็นและไมค่ วรใชเ้ ป็นเวลานานพออาการไอ หายแลว้ กค็ วรเลกิ ใช้ 64 ตำ� ราการเรยี นร้ยู าจนี ด้วยตนเอง 1

จว๋ี-ฮวา (Juhua) 菊花 ช่ือแตจ้ ๋ิว : เกก๊ -ฮวย ชือ่ พฤกษศาสตร์ : Chrysanthemum indicum L. var. aromaticum (Q.H.Liu & S.F.Zhang) J.M.Wang & Y.T.Wu ชอื่ เภสชั วิทยา : Flos Chrysanthemi ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดป่ากดุ ฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภมู ิ 65

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคุณ ขับลมร้อน ดบั รอ้ นในตับ ท�ำให้ตาสวา่ ง ล้างพิษ รสชาตแิ ละคณุ สมบัติ 辛(เผด็ )甘 (หวาน)苦 (ขม) 微寒(เยน็ เล็กน้อย) เข้าสเู่ ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ) ปริมาณทใี่ ช้ 5-10 กรัม สว่ นทีใ่ ช้ ดอก ฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยา ตา้ นแบคทีเรยี ต้านเชอ้ื รา ตา้ นไวรัส ลดอาการไข้ ลดความดัน เลอื ดสงู ลดอาการอกั เสบของตา ขยายหลอดเลอื ดหวั ใจ 羚角片(หลงิ เจยี่ วเพี่ยน) 5 กรมั 钩藤(โกเถงิ ) 9 กรมั 桑叶(ซังเย)่ 6 กรมั 菊花(จวีฮ๋ วา) 9 กรมั ต�ำรับยาที่ใชท้ างคลนิ ิก 生地(เซงิ ต)้ี 15 กรมั 白芍(ไปเ๋ สา) 9 กรัม หลงิ เจ่ียวโกวเถงิ ทัง 川贝母(ชวนเป้ยหมู่) 12 กรัม 淡竹茹(ตันจหู๋ รู) 15 กรัม (羚角钩藤汤) 茯神(ฝ่เู สนิ ) 9 กรมั 甘草(กันเฉา่ ) 3 กรมั การออกฤทธ์ิ รกั ษาอาการชักกระตุกตามมือตามเท้าทเ่ี กิดจาก ความร้อนของตบั ข้อควรระวัง ต�ำรบั ยาน้ไี ม่ควรใช้กบั อาการที่มลี มมาก จากหยนิ พร่องและเย็นเกิน 66 ต�ำราการเรยี นรูย้ าจนี ด้วยตนเอง 1

ฉัน-ทุ่ย (Chantui)蝉蜕 ชื่อแตจ้ ๋ิว : เสยี ง-ถอ่ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Cryptotympana pustulata Fabricius ช่อื เภสัชวิทยา : Perostracrum Cicadea ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 67

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคณุ ขับลมรอ้ น กระทุง้ ผื่น ลดไข้ แกช้ ักเกร็ง ลดอาการบวมท่ลี �ำคอ ลดอาการเสียงแหบ ลดอาการตอ้ รสชาตแิ ละคณุ สมบตั ิ 甘(หวาน) 寒(เยน็ ) เข้าสู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 肝(ตับ) ปริมาณท่ใี ช้ 3-10 กรัม ส่วนทใี่ ช้ คราบของตวั อ่อน ฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยา ลดไข้ ลดอาการเกรง็ กล้ามเน้ือ กล่อมประสาท 荆芥(จิงเจย้ี ) 防风(ฝางเฟิง) 牛蒡子(หนิวปา้ งจ่อื ) ต�ำรบั ยาท่ใี ชท้ างคลินกิ 蝉蜕(ฉันทยุ่ ) 苍术(ชงั จ)ู๋ 苦参(ขู่เซนิ ) 石膏(สือเกา) เซยี วเฟิงสา่ น 知母(จอื หม่)ู 当归(ตงั กุย) 胡麻仁(หหู มาเหรนิ ) (消风散) 生地(เซิงตี้) 木通(ม่ทู ง) 甘草(กนั เฉ่า) อยา่ งละ 3 กรัม การออกฤทธิ์ ใชร้ ักษาอาการผ่นื ที่เกิดจากลมหรอื ความชนื้ ข้อควรระวงั ไมค่ วรรบั ประทานอาหารเผ็ด ปลาเหมน็ คาว บุหร่ี เหลา้ นำ้� ชาเขม้ ขน้ ระหวา่ งใชต้ ำ� รับยาน้ี 68 ตำ� ราการเรยี นรู้ยาจนี ด้วยตนเอง 1

มา่ น-จิง-จ่ือ (Manjingzi) 蔓荆子 ชือ่ แตจ้ ๋ิว : หม่งั -เกง็ -จ้ี ชื่อพฤกษศาสตร์ : Vitex trifolia var. subtrisecta (Kuntze) Moldenke ช่ือเภสัชวทิ ยา : Fructus Viticis ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภูมิ 69

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคุณ ขบั ลมร้อน ดับร้อนท่ศี ีรษะและตา แกป้ วด รสชาตแิ ละคุณสมบตั ิ 辛(เผ็ด) 苦(ขม) 微寒(เยน็ เล็กน้อย) เข้าสู่เสน้ ลมปราณ 肝(ตับ) 胃(กระเพาะอาหาร) 膀胱(กระเพาะปสั สาวะ) ปรมิ าณที่ใช้ 6–12 กรมั ส่วนทใ่ี ช้ ผล ฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา แก้อาการปวดบรเิ วณศรี ษะ ดวงตา กลอ่ มประสาท ลดการงอก ของหนวดเครา 蔓荆子 (ม่าน-จิง-จื่อ) เดน่ ในการระบายรอ้ น บริเวณศรี ษะและตา ใชร้ กั ษาอาการปวดศรี ษะเรอ้ื รงั ไมเกรน ตามัว น้�ำตาไหล จากท่อนำ�้ ตาตบี ตนั 羌活(เชยี งหัว) 6 กรัม 独活(ตหู๋ ัว) 6 กรมั ตำ� รับยาทใ่ี ชท้ างคลนิ ิก 防风(ฝางเฟงิ ) 3 กรัม 藁本(กาวเปนิ่ ) 3 กรัม เชยี งหัวเชง่ิ ซอื ทัง 川芎(ชวนซฺรง) 3 กรมั 蔓荊子(ม่านจิงจื่อ) 2 กรมั (羌活胜湿汤) 甘草(กนั เฉา่ ) 3 กรัม การออกฤทธิ์ ขจัดความชืน้ ภายนอก ระงบั ปวด ข้อควรระวงั ยาตำ� รับนมี้ รี สเผด็ และมีคณุ สมบตั อิ นุ่ กระจายภายนอก ไมเ่ หมาะสำ� หรบั กลมุ่ อาการหวดั จากการกระทบลมรอ้ นหรือหวดั ท่มี ีเหงื่อออกมาก 70 ตำ� ราการเรียนรู้ยาจีนดว้ ยตนเอง 1

เก๋อ-เกิน (Gegen)葛根 ชื่อแต้จว๋ิ : กวั่ -กิง ชื่อพฤกษศาสตร์ : Pueraria lobata (Willd.) Ohwi subsp. thomsonii (Benth.) H.Ohashi & Tateishi ชือ่ เภสชั วทิ ยา : Radix Platycodi ภาพแสดงให้เหน็ ลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 71

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคุณ คลายกล้ามเนื้อขับร้อน ลดไข้ กระท้งุ ผ่ืน แก้กระหายนำ�้ ดึงหยาง แกท้ อ้ งเสีย รสชาตแิ ละคณุ สมบัติ 甘(หวาน) 辛(เผ็ด) 凉(เย็น) เข้าสเู่ สน้ ลมปราณ 脾(มา้ ม) 胃(กระเพาะอาหาร) 肺(ปอด) ปรมิ าณท่ีใช้ 10 – 15 กรัม สว่ นทใ่ี ช้ รากและหวั ฤทธ์ทิ างเภสชั วิทยา ขบั เสมหะ ลดน�ำ้ ตาลในเลือด ลดคอเลสตอรอล ต้านไวรสั ตา้ นแบคทเี รยี ท�ำใหเ้ ลอื ดออก โดยการรบั ประทานทำ� ใหส้ ารท่ี ทำ� ใหเ้ ลอื ดออก ถกู ทำ� ลายโดยกรดในทางเดินอาหาร (ไมน่ ิยมทำ� เปน็ ยาฉดี ) ต�ำรบั ยาทใี่ ช้ทางคลนิ ิก 升麻(เซงิ หมา) 10 กรัม 葛根(เกอ๋ เกิน) 10 กรมั เซงิ หมาเก๋อเกินทัง 芍药(เสาเย่า) 6 กรมั 甘草(กนั เฉา่ ) 3 กรมั (升麻葛根汤) การออกฤทธ์ิ รักษาโรคหดั ระยะเร่มิ ต้น ข้อควรระวงั ตำ� รับยาไมค่ วรใชส้ ำ� หรบั โรคหัดทม่ี ีผ่นื ใกลส้ กุ แตกหรอื พษิ ของผนื่ เขา้ ส่ภู ายในแล้วเกดิ อาการหอบ 72 ตำ� ราการเรียนรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1

ไฉ-หู (Chaihu) 柴胡 ชื่อแตจ้ วิ๋ : ฉ่า-โอว๊ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Bupleurum chinense DC. (Bei Chai Hu); Bupleurum scorzoneraefoliumWilld. (Nan Chai Hu) ช่ือเภสชั วทิ ยา : Radix Bupleuri ภาพแสดงให้เห็นลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 73

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมร้อน ลดไข้ ช่วยให้ลมปราณตับไหลเวียนดี ชว่ ยดงึ หยาง และช่ีสเู่ บ้ืองบน รสชาติและคณุ สมบตั ิ 苦(ขม) 辛 (เผ็ด) 微寒(เย็นเล็กน้อย) เข้าสเู่ ส้นลมปราณ 肝(ตบั ) 胆(ถงุ นำ้� ด)ี ปริมาณท่ีใช้ 3-10 กรัม ส่วนที่ใช้ ราก ฤทธทิ์ างเภสัชวิทยา ลดไข้ ตา้ นแบคทเี รยี ตา้ นไวรัส ต้านมาลาเรีย แก้อาการปวด (โดยเฉพาะชายโครง) ตา้ นการอักเสบ ลด SGOT และ SGPT(การอกั เสบของตบั ) ใช้ในตบั อักเสบเรื้อรัง ตับมไี ขมนั พอก(fatty liver) ปวดชายโครงกระตุ้นการบีบตัวของน�้ำดี(กรณีน้ำ� ดีอกั เสบ) ลดความดันเลือดเล็กนอ้ ย ปอ้ งกนั เซลล์ตับถูกทำ� ลาย ลดคอเรสตอรอล ไตรกลเี ซอร์ไรด์ในตับ เพ่มิ การสงั เคราะห์ไกลโคเจนและการสรา้ งกรดไรโบนวิ คลอี ิก ของเซลล์ตบั ปอ้ งกันการแตกตัวของเม็ดเลอื ดลดความเครียดทางจิตใจ กลอ่ ม ประสาท กระตุ้นระบบภมู คิ ุม้ กนั ของรา่ งกาย 黄芪(หวงฉี) 18 กรมั 甘草(กันเฉ่า) 9 กรมั 人参(เหรินเซิน) 6 กรัม 当归(ตังกุย) 3 กรัม ตำ� รับยาทใี่ ช้ทางคลินกิ 陈皮(เฉินผี) 6 กรมั 升麻(เชงิ หมา) 6 กรมั ปู่จงอช้ี ่ีทงั (补中益气汤) 柴胡(ไฉหู) 6 กรัม 白术 (ไป๋จ)ู๋ 9 กรมั การออกฤทธิ์ รักษาอาการช่ขี องม้ามและกระเพาะอาหารพร่อง อาการช่ีพรอ่ งลงสเู่ บ้ืองลา่ ง ข้อควรระวัง ตัวยาไมค่ วรใช้กบั อาการทพ่ี ลังหยางของตับขึน้ สเู่ บือ้ งบน ลมตับขับเคลื่อนและหยนิ พรอ่ ง ท�ำให้ไฟก�ำเรบิ 74 ตำ� ราการเรียนรู้ยาจีนดว้ ยตนเอง 1

เซิง-หมา (Shengma) 升麻 ช่ือแตจ้ วิ๋ : เซง็ -มว้ั ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Cimicifuga heracleifolia Kom. ชื่อเภสชั วิทยา : Rhizoma Cimicifugae ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชยั ภมู ิ 75

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ขับลมรอ้ น ขบั เหงื่อ กระทงุ้ ผื่น ล้างพษิ รสชาตแิ ละคุณสมบตั ิ 辛(เผด็ ) 微甘(หวานเล็กน้อย) 微寒(เยน็ เล็กน้อย) เขา้ สู่เส้นลมปราณ 肺(ปอด) 脾(มา้ ม) 胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ลำ� ไสใ้ หญ)่ ปริมาณทใี่ ช้ 3-10 กรมั สว่ นที่ใช้ รากและหัว ฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยา ต้านแบคทเี รีย ลดไข้ กลอ่ มประสาท แก้ปวด (โดยเฉพาะอาการปวดศรษี ะ) ท�ำลายพิษ 生地(เซงิ ต)ี้ 6 กรมั 当归身(ตังกยุ เสนิ ) 6 กรมั ต�ำรับยาทใี่ ช้ทางคลินิก 牡丹皮(หมตู่ ันผ)ี 9 กรัม 升麻(เชิงหมา) 9 กรมั ชงิ เว่ยส์ ่าน (清胃散) 黄连(หวงเหลียน) 6 กรมั การออกฤทธิ์ ใช้รกั ษาอาการปวดฟนั รากฟนั อกั เสบทเ่ี กดิ จาก ความร้อนของกระเพาะอาหาร ข้อควรระวัง ต�ำรับยาไมค่ วรใชก้ บั อาการปวดฟันรากฟนั อักเสบท่เี กดิ จากลมเยน็ และจากอาการไตพรอ่ ง ร้อนใน ตวั ยา ไม่ควรใชก้ ับผนื่ ทส่ี กุ แตกแล้ว หยินพรอ่ งไฟก�ำเริบหรอื ตบั หยางขนึ้ สู่เบอ้ื งบน 76 ตำ� ราการเรียนร้ยู าจนี ดว้ ยตนเอง 1

กลมุ่ ยาดบั รอ้ น (清热药) - ยาดบั รอ้ นระบายไฟ(清热泻火药) - ยาดบั รอ้ นระเหยชน้ื (清热燥湿药) - ยาดับรอ้ นลา้ งพษิ (清热解毒药) - ยาดบั รอ้ นในเลือด(清热凉血药) - ยาดับรอ้ นชนิดพรอ่ ง(清退虚热药热) อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภมู ิ 77

ยาดับรอ้ นกบั ไฟ(清热泻火药) สือเกา(石膏) จือหม(ู่ 知母) หลเู กิน(芦根) เทยี นฮวาเฝน่ิ (天花粉) จือจื่อ(栀子) ตนั จู๋เย(่ 淡竹叶) 78 ตำ� ราการเรียนร้ยู าจนี ด้วยตนเอง 1

สอื -เกา (Shigao) 石膏 ช่ือแต้จิว๋ : เจียะ-กอ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Calcium sulphate ช่ือเภสชั วทิ ยา : Gypsum Fibrosum ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ป่ากดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 79

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคณุ ดับรอ้ น ดับไฟ ลดไข้ แกก้ ระหายน้ำ� สมานแผล ขับความร้อน ระดับช่ี รสชาตแิ ละคณุ สมบัติ 辛(เผ็ด) 甘(หวาน) 大寒(เยน็ มาก) เขา้ ส่เู สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 15–60 กรัม ส่วนที่ใช้ แรธ่ าตุ ฤทธท์ิ างเภสชั วทิ ยา ลดไขไ้ ด้อยา่ งรวดเรว็ แตล่ ดไข้ไดไ้ มน่ าน(ฤทธิส์ น้ั ) ใช้ปรบั อณุ หภูมิ ของร่างกาย ในภาวะไข้สูงแก้กระหายน�ำ้ ลดการหลัง่ เหงื่อของ ต่อมเหงอื่ ทำ� ใหอ้ ณุ ภูมิลดลงโดยไม่เสียเหง่อื มาก ช่วยเพมิ่ ระดบั ความเข้มของแคลเซยี มในเลือดช่วยดดู ซึม ของแคลเซยี มและ ช่วยดูดซึมของแคลเซียมในล�ำไส้ ดีกวา่ เกลือแคลเซยี มอื่น ๆ ต�ำรบั ยาทใี่ ช้ทางคลนิ กิ 竹叶(จ๋เู ย)่   6 กรัม  石膏  (สือเกา) 5 กรมั จูเ๋ ยี่ยสอื เกาทงั 麦冬(ไมต่ ง)  20 กรมั   人参 (เหรนิ เซิน) 6 กรัม 半夏 (ปน้ั เซย่ี ) 9 กรัม   甘草 (กันเฉ่า) (竹叶石膏汤) 粳米(จงิ หมี่) 10 กรมั 6 กรัม การออกฤทธิ์ ระบายความรอ้ น เพิม่ สารน้ำ� เสริมชี่ ปรบั สมดลุ กระเพาะอาหาร ข้อควรระวัง ตวั ยาไม่ควรใช้กบั คนท่มี ีอาการม้ามกระเพาะอาหารเยน็ หรอื หยนิ พร่อง ร้อนใน 80 ตำ� ราการเรียนรยู้ าจนี ด้วยตนเอง 1

จือ-หมู่ (Zhimu) 知母 ชือ่ แต้จว๋ิ : ต-ี บ้อ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Anemarrhena asphodeloides Bunge ชอ่ื เภสัชวิทยา : Rhizoma Anemarrhenae ภาพแสดงให้เห็นลักษณะของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 81

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคุณ ดบั รอ้ น ดบั ไฟ แก้หงดุ หงิด สร้างความชมุ่ ชืน่ แก้กระหายนำ�้ รสชาติและคณุ สมบัติ 苦(ขม) 甘(หวาน) 寒(เย็น) เขา้ ส่เู สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 肾(ไต) ปรมิ าณทีใ่ ช้ 6–12 กรัม ส่วนทใี่ ช้ เหง้า ฤทธ์ทิ างเภสัชวิทยา เป็นยาต้านแบคทีเรียและตา้ นเชอ้ื รา มฤี ทธ์ลิ ดไข้ ขบั ปสั สาวะ ลดนำ�้ ตาลในเลอื ด สามารถลดผลขา้ งเคยี งของยาสตรี อยด์ (hydrocortiso) ถ้าใชร้ ่วมกับสตีรอยด์จะป้องกันการฝ่อของต่อม หมวกไตได้ ตา้ นมะเร็งปากมดลกู มะเร็งผิวหนงั และมะเรง็ ตับ ต�ำรบั ยาท่ีใชท้ างคลินิก 石膏(สือเกา) 50 กรมั 知母(จอื หมู)่ 18 กรมั ไปห๋ ่ทู ัง 甘草(กนั เฉ่า) 6 กรัม 粳米(จงิ หม่)ี 4 กรมั การออกฤทธิ์ รักษาความร้อนระดบั ช(่ี 气分)เหง่อื ไหลมาก (白虎汤) กระหายนำ้� จัด ตัวร้อนสูง เสน้ ชพี จรใหญ่และแรง ขอ้ ควรระวงั ต�ำรบั ยาไมค่ วรใช้กบั อาการร้อนเทยี มหรืออาการหยินแกร่งผลกั ดันหยางสภู่ ายนอก ตวั ยา ไม่ควรใชก้ บั คนทม่ี ีอาการม้ามพรอ่ งท้องเสีย 82 ต�ำราการเรยี นรู้ยาจนี ดว้ ยตนเอง 1

หล-ู เกิน (Lugen)芦根 ชื่อแตจ้ ๋วิ : โหลว่ -กงิ ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Phragmites communis Trin. f. salsus (Podp.) Soó ชือ่ เภสชั วิทยา : Rhizoma Phragmits ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของยาจนี อโรคยาศาล วดั ป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 83

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคณุ ดบั รอ้ นในปอด กระเพาะอาหาร แก้อาเจยี น ขับปสั สาวะ สรา้ ง สารน้�ำแกก้ ระหาย รสชาติและคณุ สมบตั ิ 甘(หวาน) 寒(เยน็ ) เข้าส่เู ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร ) ปริมาณที่ใช้ 15–60 กรมั สว่ นทีใ่ ช้ เหงา้ ฤทธ์ทิ างเภสชั วิทยา ขบั ปัสสาวะ ใช้ในภาวะการติดเช้อื ทางเดนิ ปสั สาวะ ปสั สาวะขดั กะปิดกะปรอยและสีเหลือง ละลายนิว่ ถงุ น�้ำดี ใชแ้ กพ้ ษิ ของปลา และหอย แกไ้ อหรอื หอบ (สาร L-asparagine) ลดปวดลดไข้ ชว่ ยนอนหลับ (สาร cioxcl) 金银花(จนิ อน๋ิ ฮวา) 15 กรมั 连翘(เหลยี นเชย่ี ว) 15 กรัม 桔梗(เจย๋ี เกง่ิ ) 6 กรมั 薄荷(ป๋อเหอ) 6 กรัม ตำ� รบั ยาทใ่ี ช้ทางคลนิ กิ 竹叶(จู๋เย่) 4 กรมั กรมั 甘草(กนั เฉา่ ) 5 กรัม อน๋ิ เชี่ยวสา่ น 荆芥(จงิ เจยี้ ) 4 กรมั 淡豆豉(ตนั โต้วฉอื่ ) 5 กรัม 牛蒡子(หนิวปา้ งจ่ือ) 6 (银翘散) การออกฤทธ์ิ รกั ษาอาการหวัดท่เี กิดจากลมรอ้ น ปวดหวั ไอ คอบวม ข้อควรระวัง ตวั ยาไมค่ วรใชก้ บั คนทม่ี อี าการม้ามพร่องทอ้ งเสีย 84 ต�ำราการเรียนรู้ยาจีนดว้ ยตนเอง 1

เทยี น-ฮวา-เฝ่ิน (Tianhuafen) 天花粉 ชอื่ แตจ้ ๋วิ : เทียน-ฮวย-ฮุ่ง ชอื่ พฤกษศาสตร์ : Trichosanthes kirilowii Maxim. ช่อื เภสชั วทิ ยา : Radix Trichosanthis ภาพแสดงให้เหน็ ลกั ษณะทั้งหมดของยาจนี อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 85

ภาพแสดงยาจีนพร้อมใช้ สรรพคุณ ดบั รอ้ น ล้างพษิ ลดบวม รสชาติและคุณสมบัติ 甘(หวาน) 微苦(ขมเล็กน้อย) 寒(เย็น) เขา้ สเู่ สน้ ลมปราณ 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) ปริมาณที่ใช้ 10-15 กรมั ส่วนทีใ่ ช้ เหงา้ ฤทธท์ิ างเภสัชวิทยา เหนีย่ วน�ำทำ� ใหเ้ กิดการแท้ง เม่อื ฉดี สารสกดั ของสมนุ ไพรเข้าไปจะเกดิ การ ขาดเลือดของเย่ือบุรก ทำ� ให้เกิดการแทง้ ใน 6-7 วัน มผี ลต่อระดบั น�ำ้ ตาล ในเลือด เพ่มิ ความทนต่อการขาดออกซเิ จน แก้ไอทำ� ใหเ้ มือกจากเยอื่ บุปอด ไม่เหนียวซึ่งสง่ ผลให้มฤี ทธิใ์ นการแก้เจ็บหนา้ อกหรือปอดอักเสบ 白芷(ไปจ๋ อ่ื ) 6 กรัม贝母(เปย้ หมู)่ 6 กรัม 防风(ฝางเฟิง) 6 กรมั 赤芍(ช่อื เสา) 6 กรมั 当归(ตังกยุ ) 6 กรมั 甘草(กันเฉา่ ) 6 กรมั ต�ำรับยาท่ใี ช้ทางคลนิ กิ 皂角刺(เจ๋าเจีย่ วช่อื ) 6 กรมั 穿心莲(ชวนซินเหลยี น) 6 กรัม เซียนฟางหวั มงิ่ อิน่ 天花粉(เทียนฮวาเฝนิ่ ) 6 กรมั 乳香(หลเู ซียง) 6 กรมั 没药 (ม่อเยา่ ) 6 กรมั 金银花(จนิ อีน๋ ฮวา) 5 กรมั 陈皮(เฉนิ ผ)ี 9 กรมั (仙方活命饮) การออกฤทธิ์ รักษาอาการฝหี นองระยะเรมิ่ ตน้ ขอ้ ควรระวัง หา้ มใชใ้ นคนที่ทอ้ งเสยี หรอื คนท่กี ระเพาะอาหารและมา้ มเยน็ 86 ต�ำราการเรยี นรยู้ าจนี ดว้ ยตนเอง 1

จอื -จอ่ื (Zhizi) 栀子 ชือ่ แต้จว๋ิ : ก-ี จ้ี ชอ่ื พฤกษศาสตร์ : Gardenia jasminoides J.Ellis var. plana (Voigt) M.R.Almeida ชือ่ เภสชั วิทยา : Fructus Gardeniae ภาพแสดงใหเ้ ห็นลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชัยภูมิ 87

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคณุ ดับร้อนในเลือด ลดไข้ แก้ปวด ลดบวม ล้างพษิ ขบั ชื้น รสชาติและคณุ สมบัติ 苦(ขม) 寒(เย็น) เขา้ สู่เส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 肝(ตบั ) 肺(ปอด) 胃(กระเพาะอาหาร) 三焦(ซานเจียว) ปรมิ าณทใี่ ช้ 5–10 กรมั สว่ นที่ใช้ ผล ฤทธ์ิทางเภสัชวทิ ยา มีผลต่อการบบี ตวั และการหลั่งนำ�้ ดจี ากถงุ น�ำ้ ดมี ากขน้ึ ทำ� ให้ ระดับความเข้มขน้ ของสารบลิ ลริ บู นิ ในเลอื ดเพ่มิ ข้นึ ลดความดนั เลอื ด ชว่ ยกลอ่ มประสาท ต้านแบคทเี รียและเชือ้ รา ลดไขโ้ ดย กดการทำ� งานของศูนยค์ วบคุมอุณหภูมิ ทำ� ใหเ้ นือ้ เย่อื ทีเ่ ป็นแผล หายเรว็ ขน้ึ ลดการบวมจากเลือดค่ัง บาดเจบ็ ภายนอก ต�ำรับยาทีใ่ ชท้ างคลินกิ 黄连(หวงเหลียน) 9 กรมั 黄芩(หวงฉนิ ) 6 กรมั หวงเหลยี นเจีย่ ตทู๋ ัง 黄柏(หวงปอ๋ ) 6 กรมั 栀子(จอื จอื่ ) 9 กรมั (黄连解毒汤) การออกฤทธ์ิ รักษาอาการรอ้ นทีอ่ ย่ภู ายในซานเจียว (三焦) ขอ้ ควรระวงั ตวั ยาหา้ มใช้กับคนที่มอี าการมา้ มพร่องทอ้ งเสีย 88 ต�ำราการเรยี นรูย้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

ตัน-จู-๋ เย่ (Danzhuye) 淡竹叶 ชอ่ื แตจ้ ว๋ิ : ต่า-เตก็ -เฮียะ ชอื่ พฤกษศาสตร์ : Lophatherum gracile Brongn. ช่อื เภสชั วทิ ยา : Fructus Gardeniae ภาพแสดงให้เหน็ ลักษณะทง้ั หมดของยาจนี อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 89

ภาพแสดงยาจนี พรอ้ มใช้ สรรพคณุ ดับรอ้ น แกก้ ระหายน้ำ� ขับปสั สาวะ รสชาติและคณุ สมบัติ 甘(หวาน) 淡(จืด) 寒(เยน็ ) เขา้ สู่เส้นลมปราณ 心(หวั ใจ) 胃(กระเพาะอาหาร) 小肠(ลำ� ไส้เล็ก) ปริมาณทใี่ ช้ สว่ นทใี่ ช้ 10–15 กรมั ใบ ฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา ฤทธิล์ ดไข้ เพิม่ การขบั คลอไรดม์ ากขึน้ ท้งั ที่ปัสสาวะลดลง 水牛角(สยุ่ หนวิ เจยี่ ว) 30 กรัม 生地(เซิงตี้) 15 กรัม 玄参(เสวียนเซนิ ) 9 กรมั 淡竹叶(ตันจ๋เู ย)่ 3 กรัม ตำ� รับยาทใี่ ช้ทางคลนิ ิก 麦冬(มา่ ยตง) 9 กรัม 丹参(ตันเซิน) 6 กรมั ชิงอ๋ิงทัง(清营汤) 黄连(หวงเหลียน) 5 กรมั 金银花(จินอิน๋ ฮวา) 9 กรัม 连翘(เหลยี นเชย่ี ว) 6 กรมั การออกฤทธิ์ รกั ษาความรอ้ นในระดบั องิ๋ (营分) ข้อควรระวัง ตัวยาห้ามใชใ้ นคนท่ีท้องเสียระบบกระเพาะอาหารและมา้ มเยน็ ส่วนต�ำรบั ยาไม่ควรใช้กับอาการ ร้อนชนื้ ร่วมดว้ ย 90 ตำ� ราการเรียนรยู้ าจนี ดว้ ยตนเอง 1

กล่มุ ยาดบั รอ้ น (清热药) - ยาดบั รอ้ นระบายไฟ(清热泻火药) - ยาดบั ร้อนระเหยชน้ื (清热燥湿药) - ยาดับร้อนล้างพิษ(清热解毒药) - ยาดบั รอ้ นในเลือด(清热凉血药) - ยาดับร้อนชนิดพรอ่ ง(清退虚热药热)

กลุ่มยาขจดั ความร้อนสลายความชน้ื 清热燥湿药 หวงฉนิ (黄芩) หวงเหลียน(黄连) หลงตา่ นเฉา่ (龙胆草) หวงไป(๋ 黄柏) ขเู่ ซนิ (苦参)

หวง-ฉนิ (Huangqin) 黄芩 ช่ือแตจ้ วิ๋ : อึ่ง-งิม้ ชื่อพฤกษศาสตร์ : Scutellaria baicalensis Georgi f. albiflora H.W.Jen & Y.J.Chang ชอ่ื เภสัชวทิ ยา : Rhizoma Coptidis ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลักษณะท้ังหมดของยาจีน อโรคยาศาล วัดปา่ กดุ ฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภูมิ 93

ภาพแสดงยาจีนพรอ้ มใช้ สรรพคณุ ขจัดร้อน ขจัดช้นื ล้างพิษ ท�ำใหเ้ ลอื ดเย็นห้ามเลือด ปอ้ งกันการ แท้งบตุ ร รสชาติและคณุ สมบตั ิ 苦(ขม) 寒(เยน็ ) เขา้ ส่เู ส้นลมปราณ 肺(ปอด) 脾 ม้าม胃(กระเพาะอาหาร) 大肠(ลำ� ไสใ้ หญ)่ 小肠(ลำ� ไสเ้ ลก็ ) 肝(ตับ) 胆(ถุงน�้ำด)ี ปรมิ าณท่ใี ช้ 3-10 กรัม สว่ นทใ่ี ช้ รากและเหง้า ฤทธิท์ างเภสัชวทิ ยา ฤทธลิ์ ดปฏิกริ ิยาการอกั เสบของรา่ งกาย เช่น ลดอาการบวม ลดการหด ตัวหลอดลม ลดการไหลเวียนเลือดบริเวณทม่ี กี ารอกั เสบ ฤทธ์ิต้านเช้ือ แบคทีเรีย ลดการเกรง็ ตัวของกล้ามเน้ือเรยี บของหลอดเลอื ด กระตุ้นกล้าม เน้ือเรียบของมดลกู กระเพาะอาหาร หลอดลม ล�ำไส้ กระเพาะปัสสาวะ กระตนุ้ การหล่งั น้�ำดี เหมาะสำ� หรบั รักษาโรค ถงุ นำ้� ดี อกั เสบเรือ้ รัง กระตุ้น การท�ำงานของเมด็ เลือดขาวในการจบั กนิ เช้ือโรค ลดไข้ ขบั ปัสสาวะ เปน็ ยาชาเฉพาะท่ี กลอ่ มประสาท ลดการอกั เสบ ภายนอกใชร้ ักษาหชู ั้น กลางเปน็ หนอง 当归(ตังกยุ ) 熟地(สูตี)้ 生地(เซิงต้)ี 黄芪(หวงฉ)ี ตำ� รบั ยาท่ีใช้ทางคลนิ ิก 黄芩(หวงฉิน) 黄连(หวงเหลียน) 黄柏(หวงไป๋) ตงั กุยล่ิวหวงทัง อยา่ งละ 6 กรมั (当归六黄汤) การออกฤทธ์ิ ใชร้ กั ษาอาการหยินพร่อง ไฟก�ำเริบ เหงอ่ื ออกมาก ตอนกลางคนื ขอ้ ควรระวัง ตวั ยาไมค่ วรใชก้ บั คนทมี่ ีอาการม้ามพร่องท้องเสยี ถ่ายเหลว 94 ต�ำราการเรียนรยู้ าจีนดว้ ยตนเอง 1

หวง-เหลยี น (Huanglian) 黄连 ชื่อแตจ้ ว๋ิ : อึ่ง-โน้ย ชื่อพฤกษศาสตร์ : Coptis chinensis Franch. var. angustiloba W.Y.Kong ชอ่ื เภสัชวิทยา : Rhizoma Coptidis ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดปา่ กุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 95

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคุณ ขจัดรอ้ นขจัดความชน้ื ลา้ งพษิ รสชาติและคณุ สมบัติ 苦(ขม) 寒(เยน็ ) เข้าส่เู ส้นลมปราณ 心(หัวใจ) 脾(ม้าม) 胃(กระเพาะอาหาร) 肝(ตบั ) 胆(ถงุ น้�ำดี) 大肠(ล�ำไสใ้ หญ)่ ปริมาณทีใ่ ช้ 6-15 กรัม สว่ นทใ่ี ช้ เหงา้ ฤทธทิ์ างเภสชั วทิ ยา ฤทธิ์ลดอาการปฏิกิริยาอกั เสบของรา่ งกาย เชน่ ลดอาการบวม ลดการหดตัวหลอดลม ลดการไหลเวียนเลือดบรเิ วณท่ีมีการอกั เสบ ฤทธิ์ต้านเชือ้ แบคทีเรีย ขับปสั สาวะ กระตุ้นการหลงั่ น�ำ้ ดีและลด การอกั เสบของตบั ลดการบิดเกรง็ ของลำ� ไส้ ลดการเกร็งตัวของ หลอดลม มฤี ทธิ์กลอ่ มประสาท เปน็ ยาชาเฉพาะที่ กระต้นุ การ ท�ำงานของเม็ดเลอื ดขาวในการจบั กนิ เช้อื โรค ต�ำรบั ยาที่ใชท้ างคลนิ กิ 黄连(หวงเหลียน) 9 กรมั 吴茱萸(อจู๋ อู ๋ีว)์ 2 กรัม จว่ั จินหวาน(左金丸) การออกฤทธิ์ รกั ษาไฟตบั ทขี่ ม่ กระเพาะอาหารท�ำใหม้ ีอาการ ท้องเสยี ถ่ายเหลว ข้อควรระวงั ตวั ยานีไ้ ม่ควรใชก้ บั คนท่ีมอี าการมา้ มกระเพาะอาหารเย็น หรือมอี าการหยนิ พร่อง สารนำ�้ ถูก ทำ� ลาย 96 ต�ำราการเรียนรยู้ าจีนด้วยตนเอง 1

หวง-ไป๋ (Huangbai) 黄柏 ชื่อแต้จิ๋ว : อ่งึ -แปะ ช่ือพฤกษศาสตร์ : Phellodendron amurense Rupr. f. molle (Nakai) W.Lee ช่ือเภสัชวทิ ยา : Cortex Phellodendri Chinensis ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วดั ปา่ กุดฉนวนอดุ มพร จ.ชัยภมู ิ 97

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคณุ ขจดั รอ้ น ขจดั ความชนื้ ระบายพิษ ระบายไฟทีเ่ กิดจากอาการ รสชาตแิ ละคณุ สมบัติ พรอ่ งของหยิน 苦(ขม) 寒(เยน็ มาก) เขา้ สเู่ ส้นลมปราณ 肾(ไต) 膀胱(กระเพาะปสั สาวะ) 大肠(ล�ำไส้ใหญ่) ปรมิ าณทใี่ ช้ สว่ นทีใ่ ช้ 3-12 กรัม เปลอื กตน้ ฤทธิท์ างเภสชั วิทยา ต้านเชอื้ แบคทเี รีย ป้องกันการแตกตวั ของเกล็ดเลอื ด ลดความดันเลือด กระตุน้ การหล่งั น้�ำดี ขบั ปัสสาวะ ลดนำ้� ตาลในเลือด ลดไข้ ต�ำรบั ยาทใ่ี ช้ทางคลินกิ 白头翁(ไปโ๋ ถวเวงิ ) 15 กรมั 黄柏(หวงไป)๋ 12 กรัม ไป๋โถวเวิงทัง 黄连(หวงเหลยี น) 6 กรมั 秦皮(ฉนิ ผี) 12 กรัม (白头翁汤) การออกฤทธิ์ แก้ทอ้ งรว่ งทเ่ี กดิ จากพษิ รอ้ นภายใน ข้อควรระวัง ตวั ยาไม่ควรใช้กับคนท่ีมีอาการม้ามกระเพาะอาหารเยน็ 98 ต�ำราการเรยี นร้ยู าจีนด้วยตนเอง 1

หลง-ตา่ น-เฉา่ (Longdancao)龙胆草 ชื่อแตจ้ ๋ิว : เหล่ง-ตา๋ -เฉา่ ช่อื พฤกษศาสตร์ : Gentiana scabra Bunge var. kitadakensis (N.Yonez.) T.Shimizu ชอ่ื เภสัชวทิ ยา : Radixet Rhizoma Gentiannae ภาพแสดงใหเ้ หน็ ลักษณะของยาจีน อโรคยาศาล วัดป่ากุดฉนวนอุดมพร จ.ชยั ภมู ิ 99

ภาพแสดงยาจนี พร้อมใช้ สรรพคณุ ขจัดความรอ้ น ทำ� ความช้นื ใหแ้ หง้ ระบายไฟทตี่ บั และถุงน้�ำดี รสชาตแิ ละคุณสมบตั ิ 苦(ขม) 寒(เยน็ มาก) เขา้ สู่เสน้ ลมปราณ 肝 (ตบั ) 胆 (ถงุ นำ้� ด)ี ปรมิ าณท่ีใช้ 3 - 6 กรมั สว่ นทใี่ ช้ รากและหวั ฤทธทิ์ างเภสัชวทิ ยา รับประทานก่อนอาหาร 30 นาที กระตุ้นการหลัง่ น�ำ้ ย่อยของกระเพาะ อาหาร ถา้ กนิ หลงั อาหารจะมผี ลกลบั กนั (ยบั ยัง้ ) กระตุ้นความอยากอาหาร และการย่อย ถา้ กนิ มากทำ� ใหค้ ลื่นไส้ อาเจยี น ลดความดนั เลอื ด ลดเอนไซม์ในตบั ต้านแบคทีเรยี ลดการอักเสบ 龙胆草(หลงต่านเฉา่ ) 6 กรัม 黄芩(หวงฉิน) 9 กรัม 栀子(จอื จือ่ ) 9 กรมั 泽泻(เจ๋อเซ่ีย) 12 กรมั ตำ� รบั ยาทใ่ี ชท้ างคลินิก 当归(ตงั กยุ ) 3 กรมั 生地黄(เซงิ ตีห้ วง) 9 กรมั หลงต่านเซ่ยี กานทงั 柴胡(ไฉห)ู 6 กรัม 车前子(เซอเฉยี นจอ่ื ) 6 กรัม (龙胆泻肝汤) 生甘草(เชงิ กันเฉา่ ) 6 กรัม 木通(มู่ทง) 9 กรัม การออกฤทธิ์ ระบายความรอ้ นแกร่งของตบั ถุงนำ�้ ดี ลดความรอ้ นชื้น บริเวณสว่ นลา่ งของรา่ ยกาย ตั้งแต่ใต้สะดือลงมา จนถึงทอ้ งนอ้ ย ตลอด จนถงึ อวยั วะเพศ ขอ้ ควรระวงั ไม่ควรใช้ต�ำรับยาน้เี ป็นเวลานาน เน่ืองจากต�ำรับยาน้ปี ระกอบด้วย ตวั ยาทม่ี ีรสขมและเยน็ เปน็ ส่วนใหญ่ จงึ ทำ� ลายช่ี ของกระเพาะอาหารได้ง่าย และควรระมดั ระวงั การใช้กบั ผูป้ ่วยท่กี ระเพาะอาหารและมา้ มพร่อง รวมทงั้ อาการหยนิ พรอ่ งหยางแกร่งตวั ยาไม่ควรใชก้ บั คนท่มี อี าการมา้ มกระเพาะอาหารเย็น และอาการหยนิ พร่องสารน�้ำถูกทำ� ลาย 100 ตำ� ราการเรียนรูย้ าจีนดว้ ยตนเอง 1