Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "อินทรียสังวร"

Description: พุทธวจน "อินทรียสังวร"

Search

Read the Text Version

ความหมายและลักษณะ ของการมีอินทรียสังวร

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ความหมายแห่งอนิ ทรยี ์ 30 -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๗๑/๙๐๒. ภกิ ษุทั้งหลาย !   อินทรยี ห์ กเหลา่ นี้ มอี ย่.ู หกเหลา่ ไหนเลา่  ? หกอย่าง คือ อนิ ทรยี ค์ อื ตา อนิ ทรยี ์คือหู อินทรยี ์คอื จมูก อนิ ทรยี ์คอื ลน้ิ อินทรียค์ อื กาย อินทรีย์คือใจ. ภิกษุทั้งหลาย !   เมอื่ ใด อรยิ สาวก รู้ชดั แจง้ ตามเปน็ จริง ซึ่งความเกดิ ข้นึ (สมทุ ยั ) ซึ่งความตัง้ อยูไ่ ม่ได้ (อตั ถงั คมะ) ซง่ึ รสอรอ่ ย (อสั สาทะ) ซ่ึงโทษอนั ต�ำ่ ทราม (อาทนี วะ) และ ซ่งึ อบุ ายเครื่องออก (นิสสรณะ) แห่งอนิ ทรีย์หกเหลา่ น้ี ภกิ ษุทั้งหลาย !   อริยสาวกน้ี เราเรยี กว่า เป็นโสดาบัน มีอนั ไมต่ กต่�ำ เป็นธรรมดา เปน็ ผเู้ ท่ยี งแท้ต่อพระนพิ พาน จกั ตรสั รพู้ ร้อมในเบ้อื งหน้า. 84

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ลกั ษณะของผูส้ �ำรวมอินทรยี ์ 31 -บาลี จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๕๐/๓๗. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ภิกษุเปน็ ผคู้ ้มุ ครองทวารในอินทรียท์ ้ังหลาย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภิกษุในธรรมวนิ ยั น้ี ไดเ้ หน็ รปู ดว้ ยตา ไดฟ้ งั เสยี งดว้ ยหู ได้ดมกลน่ิ ด้วยจมกู ได้ลิ้มรสดว้ ยลน้ิ ไดส้ มั ผัสโผฏฐพั พะดว้ ยกาย และได้รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ก็ไม่รวบถอื เอาท้ังหมด (โดยนิมิต) และ ไม่แยกถือเอาเปน็ สว่ นๆ (โดยอนพุ ยัญชนะ) อกุศลธรรมอนั เป็นบาป คือ อภิชฌาและโทมนัส มกั ไหลไปตามภกิ ษุ ผูไ้ ม่สำ�รวมตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ เพราะการไม่สำ�รวมอนิ ทรยี เ์ หล่าใดเป็นเหตุ เธอก็ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ปิดก้นั อนิ ทรียน์ ้นั ไว้ เธอรกั ษาและถึงความส�ำ รวม ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ ภิกษทุ งั้ หลาย !   ภิกษอุ ย่างนชี้ ่ือวา่ เป็นผคู้ ้มุ ครองทวารในอินทรียท์ ั้งหลาย. 85

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ผูท้ ่ีถงึ ซ่ึง ความเจรญิ งอกงาม 32 ไพบลู ย์ ในธรรมวนิ ยั -บาลี เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๘๑/๒๒๔. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   คนเล้ยี งโคท่ปี ระกอบดว้ ยองคค์ ุณ ๑๑ อยา่ งเหลา่ นีแ้ ลว้ ยอ่ มเหมาะสมทจ่ี ะเลีย้ งโค ท�ำ ใหเ้ พิ่มก�ำ ไรได้. องค์คุณ ๑๑ อย่างนั้น คอื อะไรบ้างเลา่  ? คอื คนเลีย้ งโคในกรณีนี้ ... เป็นผเู้ ขย่ี ไขข่ าง เปน็ ผูป้ ดิ แผล ... ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   คนเลย้ี งโคทป่ี ระกอบดว้ ยองคค์ ณุ เหลา่ นแ้ี ลว้ ยอ่ มเหมาะสมท่ีจะเลี้ยงโค ทำ�ใหเ้ พม่ิ ก�ำ ไรได้ ข้อนฉ้ี นั ใด ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ภกิ ษทุ ป่ี ระกอบด้วยองคค์ ณุ เหลา่ นี้แล้ว ย่อมเหมาะสมทจ่ี ะถึงความเจริญงอกงาม ไพบลู ย์ ในธรรมวนิ ยั นไี้ ด้ ฉันนนั้ ... ภกิ ษุทั้งหลาย !   ภิกษเุ ป็นผู้คอยเข่ยี ไขข่ าง เป็นอย่างไรเลา่  ? ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ภิกษใุ นธรรมวินยั น้ี อดกลน้ั ได้ (นาธวิ าเสต)ิ ละ (ปชหติ) บรรเทา (วิโนเทต)ิ ท�ำ ใหส้ นิ้ สดุ (พฺยนตฺ ีกโรต)ิ ทำ�ให้หมดส้นิ (อนภาว คเมต)ิ 86

เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ซึ่งความตรกึ เกยี่ วด้วยกาม (กามวิตก) ที่เกดิ ขน้ึ แล้ว ซ่งึ ความตรกึ เกีย่ วดว้ ยความมงุ่ ร้าย (พยาบาทวิตก) ท่ีเกิดข้นึ แล้ว ซง่ึ ความตรกึ เกย่ี วดว้ ยการเบยี ดเบยี น (วหิ งิ สาวติ ก) ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ซ่ึงบาปอกศุ ลธรรมทัง้ หลาย ท่ีเกิดขน้ึ แลว้ ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภกิ ษุเป็นผ้คู อยเขย่ี ไข่ขาง เปน็ อย่างนีแ้ ล. ภิกษทุ งั้ หลาย !   ภิกษุเปน็ ผู้ปดิ แผล เปน็ อย่างไรเล่า ? ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยนี้ เห็นรูปด้วยตา ฟงั เสียงด้วยหู ดมกลิ่นด้วยจมูก ลมิ้ รสดว้ ยลน้ิ สัมผัสโผฏฐัพพะดว้ ยกาย รูธ้ รรมารมณด์ ว้ ยใจแล้ว ก็ไม่มีจิตยึดถือเอาทั้งโดยลักษณะที่เป็นการรวบถือทั้งหมด (โดยนิมิต) และไม่ถือเอาโดยการแยกเป็นสว่ นๆ (โดยอนพุ ยัญชนะ) อกศุ ลธรรมอนั เปน็ บาป คอื อภชิ ฌาและโทมนัส มกั ไหลไปตามภกิ ษุ ผู้ไม่ส�ำ รวมตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ เพราะการไมส่ ำ�รวมอนิ ทรีย์เหล่าใดเป็นเหตุ เธอกป็ ฏบิ ตั ิ เพือ่ ปิดกั้นอินทรยี ์นั้นไว้ เธอรกั ษาและถงึ การส�ำ รวม ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ภิกษุเป็นผปู้ ดิ แผล เป็นอย่างน้แี ล. (ในทน่ี ้ี ยกมาใหเ้ หน็ เพยี ง ๒ จากท้ังหมด ๑๑ คุณสมบัต)ิ 87



รูปแบบการละ ความเพลินในอารมณโดยวิธีอื่น

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) กระจายซ่ึงผัสสะ 33 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๘๕/๑๒๔-๗. ภิกษทุ งั้ หลาย !   วญิ ญาณยอ่ มมขี น้ึ เพราะอาศยั ธรรมสองอยา่ ง. สองอยา่ งอะไรเล่า ? สองอย่าง คอื ภิกษุทง้ั หลาย !   เพราะอาศยั ซง่ึ จกั ษดุ ว้ ย ซง่ึ รปู ทง้ั หลายดว้ ย จกั ขวุ ญิ ญาณ จงึ เกดิ ขน้ึ . จกั ษุ เปน็ สงิ่ ท่ีไมเ่ ทย่ี ง มีความแปรปรวน มีความเปน็ ไปโดยประการอืน่ รูปท้งั หลาย เป็นสง่ิ ทไ่ี ม่เทยี่ ง มีความแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอนื่   ธรรมทัง้ สองอย่างนี้แล เป็นส่ิงทหี่ วั่นไหวดว้ ย อาพาธด้วย ไมเ่ ที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอ่นื จักขวุ ญิ ญาณ เป็นสิง่ ท่ไี มเ่ ทยี่ ง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอน่ื เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ จกั ขวุ ญิ ญาณ แม้เหตอุ นั น้นั แม้ปัจจยั อนั นนั้ ก็ล้วนเปน็ สง่ิ ทไี่ ม่เทีย่ ง มีความแปรปรวน มคี วามเป็นไปโดยประการอน่ื . ภิกษุทง้ั หลาย !   จกั ขุวิญญาณเกดิ ขนึ้ แลว้ เพราะอาศยั ปจั จยั ทไ่ี มเ่ ทย่ี งดงั น้ี จกั ขวุ ญิ ญาณเปน็ ของเทย่ี งมาแตไ่ หน. 90

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษทุ ้งั หลาย !   ความประจวบพรอ้ ม ความประชุมพร้อม ความมาพรอ้ มกนั แหง่ ธรรมทง้ั หลาย (จกั ษ+ุ รปู +จกั ขวุ ญิ ญาณ) ๓ อยา่ งเหลา่ น้ี อันใดแล ภิกษทุ ้ังหลาย !   อนั นี้เราเรยี กวา่ จักขุสมั ผสั . ภกิ ษุทัง้ หลาย !   แม้จักขุสมั ผัสกเ็ ปน็ ส่ิงทีไ่ มเ่ ทีย่ ง มคี วามแปรปรวน มีความเปน็ ไปโดยประการอืน่ . เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ จกั ขสุ มั ผสั แม้เหตุอนั นั้น แม้ปัจจัยอันนัน้ ก็ลว้ นเปน็ สิ่งทไ่ี ม่เทย่ี ง มีความแปรปรวน มีความเปน็ ไปโดยประการอ่นื . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   จกั ขสุ มั ผสั เกดิ ข้นึ แลว้ เพราะอาศัยปจั จยั ท่ไี ม่เท่ยี งดังนี้ จักขุสัมผัสจกั เป็นของเที่ยงมาแต่ไหน. (ในกรณีแห่งโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ กม็ นี ยั เดียวกนั ). ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เพราะอาศยั ซึ่งมโนด้วย ซ่งึ ธรรมารมณท์ ัง้ หลายด้วย มโนวญิ ญาณจึงเกดิ ข้ึน. มโนเปน็ สิง่ ทไ่ี มเ่ ทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเป็นไปโดยประการอื่น ธรรมารมณ์ทั้งหลายเป็นสิง่ ทไี่ มเ่ ท่ยี ง มีความแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื   91

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ธรรมท้งั สองอยา่ งนแ้ี ล เปน็ สิง่ ท่ีหวัน่ ไหวด้วย อาพาธด้วย ไมเ่ ท่ยี ง มีความแปรปรวน มคี วามเปน็ ไปโดยประการอน่ื มโนวิญญาณ เป็นส่งิ ทไ่ี ม่เทย่ี ง มคี วามแปรปรวน มีความเปน็ ไปโดยประการอน่ื เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ มโนวญิ ญาณ แมเ้ หตุอันน้นั แมป้ ัจจัยอนั นนั้ ก็ลว้ นเป็นสิ่งทไี่ ม่เที่ยง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอื่น. ภิกษุท้ังหลาย !   มโนวิญญาณเกิดข้นึ แล้ว เพราะอาศัยปัจจัยทีไ่ ม่เท่ียงดังนี้ มโนวิญญาณเป็นของเทย่ี งมาแตไ่ หน. ความประจวบพร้อม ความประชมุ พร้อม ความมาพร้อมกนั แห่งธรรมท้งั หลาย (มโน+ธรรมารมณ์+มโนวญิ ญาณ) ๓ อยา่ งเหลา่ นอี้ นั ใดแล ภิกษุทง้ั หลาย !   อันน้เี ราเรยี กว่า มโนสัมผสั . ภกิ ษุทง้ั หลาย !   แม้มโนสมั ผัส ก็เป็นสง่ิ ที่ไมเ่ ทีย่ ง มคี วามแปรปรวน มคี วามเป็นไปโดยประการอ่นื . เหตอุ นั ใดกต็ าม ปจั จยั อนั ใดกต็ าม เพอ่ื ความเกดิ ขน้ึ แหง่ มโนสมั ผสั แม้เหตุอนั นัน้ แมป้ ัจจยั อันนน้ั กล็ ้วนเปน็ สิ่งทไ่ี มเ่ ทยี่ ง มีความแปรปรวน มคี วามเป็นไปโดยประการอืน่ . 92

เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษทุ ง้ั หลาย !   มโนสมั ผสั เกิดข้นึ แลว้ เพราะอาศยั ปัจจัยทไ่ี ม่เทีย่ งดังนี้ มโนสัมผัสจักเป็นของเท่ยี งมาแตไ่ หน. ภิกษทุ งั้ หลาย !   บุคคลทผ่ี ัสสะกระทบแลว้ ย่อมรู้สึก (เวเทต)ิ ผสั สะกระทบแล้วย่อมคดิ (เจเตต)ิ ผัสสะกระทบแล้วยอ่ มจ�ำ ไดห้ มายรู้ (สญฺชานาติ) แมธ้ รรมทัง้ หลายอย่างนี้เหลา่ น้ี ก็ลว้ นเปน็ สิง่ ทห่ี ว่นั ไหวดว้ ย อาพาธด้วย ไมเ่ ทีย่ ง มีความแปรปรวน มีความเป็นไปโดยประการอืน่ . 93

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ตามแนวแหง่ สมั มาสงั กัปปะ 34 -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๒๓๒-๒๓๖/๒๕๒. ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุตรึกตามตรองตามถึงอารมณ์ใดๆ มาก จิตย่อมนอ้ มไป โดยอาการอยา่ งนน้ั ๆ ถา้ ภิกษุตรึกตามตรองตามถงึ กามวติ ก มาก ก็เปน็ อนั วา่ ละเนกขมั มวติ กเสยี กระทำ�แล้วอย่างมากซ่งึ กามวิตก จติ ของเธอนั้นย่อมน้อมไปเพือ่ ความตรึกในกาม ถ้าภกิ ษุตรึกตามตรองตามถึง พย๎ าปาทวติ ก มาก ก็เป็นอันวา่ ละอพั ย๎ าปาทวติ กเสีย กระทำ�แล้วอยา่ งมากซงึ่ พ๎ยาปาทวติ ก จิตของเธอนนั้ ย่อมนอ้ มไปเพื่อความตรึกในการพยาบาท ถา้ ภกิ ษุตรึกตามตรองตามถงึ วหิ งิ สาวติ ก มาก กเ็ ปน็ อนั วา่ ละอวิหงิ สาวติ กเสยี กระท�ำ แล้วอยา่ งมากซง่ึ วหิ งิ สาวิตก จิตของเธอน้ันย่อมน้อมไปเพอ่ื ความตรกึ ในการท�ำ สตั ว์ใหล้ �ำ บาก 94

เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   เปรียบเหมือนในคราวฤดสู ารท คอื เดอื นสดุ ทา้ ยแห่งฤดูฝน คนเลยี้ งโคตอ้ งเล้ียงฝูงโคในที่แคบเพราะเต็มไปดว้ ยข้าวกล้า เขาต้องตีตอ้ นห้ามกันฝูงโคจากข้าวกล้าน้ันด้วยท่อนไม้ เพราะเขาเห็นโทษ คือ การถูกประหาร การถกู จับกุม การถูกปรับไหม การติเตยี น เพราะมขี า้ วกลา้ นัน้ เป็นเหตุ ข้อน้ีฉันใด ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   ถึงเรากฉ็ นั น้นั ได้เหน็ แลว้ ซ่ึงโทษความเลวทราม เศร้าหมองแหง่ อกุศลธรรมทงั้ หลาย เหน็ อานิสงสใ์ นการออกจากกาม ความเป็นฝักฝ่ายของความผอ่ งแผว้ แหง่ กุศลธรรมทง้ั หลาย. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   เมอ่ื เราเปน็ ผู้ไมป่ ระมาท มีเพยี ร มตี นส่งไปอย่างน้ี เนกขมั มวิตก ย่อมเกิดขึน้ ... อพั ย๎ าปาทวิตก ยอ่ มเกดิ ขึน้ ... อวิหงิ สาวติ ก ยอ่ มเกิดขึ้น. เราย่อมรแู้ จง้ ชดั ว่า อวหิ งิ สาวิตกเกดิ ขนึ้ แกเ่ ราแลว้ กอ็ วิหงิ สาวติ กนัน้ ไมเ่ ป็นไปเพ่อื เบยี ดเบียนตน เบยี ดเบียนผู้อืน่ หรือเบยี ดเบยี นท้ังสองฝา่ ย แตเ่ ปน็ ไปพรอ้ มเพือ่ ความเจริญแห่งปัญญา ไม่เป็นฝกั ฝ่ายแหง่ ความคับแคน้ เปน็ ไปพร้อมเพ่ือนพิ พาน. 95

พทุ ธวจน - หมวดธรรม แม้เราจะตรึกตามตรองตามถงึ อวหิ งิ สาวิตกนั้นตลอดคืน กม็ องไม่เห็นภัยอันจะเกดิ ขึน้ เพราะอวิหงิ สาวิตกนั้นเปน็ เหตุ แม้เราจะตรึกตามตรองตามถงึ อวิหิงสาวติ กนั้น ตลอดวนั หรือตลอดทง้ั กลางคืนกลางวัน ก็มองไม่เหน็ ภยั อันจะเกดิ ข้ึนเพราะ อวิหงิ สาวติ กนน้ั เปน็ เหตุ ภิกษุทั้งหลาย !   กแ็ ตว่ า่ เมอ่ื เราตรกึ ตามตรองตามนานเกนิ ไปนกั กายกเ็ มอ่ื ยลา้ เม่อื กายเม่อื ยล้า จิตก็ออ่ นเพลยี เมื่อจิตออ่ นเพลีย จิตกห็ า่ งจากสมาธิ เพราะเหตนุ น้ั เราจึงด�ำ รงจิตให้หยดุ อยูใ่ นภายใน กระทำ�ให้มีอารมณ์อนั เดียวต้ังมน่ั ไว.้ ข้อน้ันเพราะเหตไุ รเล่า ? เพราะเราประสงคอ์ ยูว่ า่ จติ ของเราอย่าฟ้งุ ข้ึนเลย ดงั น้ี. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ภกิ ษตุ รกึ ตามตรองตามถึงอารมณใ์ ดๆ มาก จิตย่อมน้อมไปโดยอาการอย่างนนั้ ๆ ถ้าภกิ ษุตรึกตามตรองตามถึง เนกขัมมวติ กมาก กเ็ ป็นอนั ว่าละกามวิตกเสีย กระท�ำ แล้วอยา่ งมากซึ่งเนกขัมมวติ ก จติ ของเธอน้นั ยอ่ มน้อมไปเพ่อื ความตรึกในการออกจากกาม 96

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : อินทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ถ้าภิกษุตรกึ ตามตรองตามถงึ อัพย๎ าปาทวติ กมาก กเ็ ป็นอันวา่ ละพย๎ าปาทวติ กเสยี กระทำ�แลว้ อยา่ งมากในอพั ย๎ าปาทวิตก จิตของเธอน้ันย่อมนอ้ มไปเพ่ือความตรกึ ในการไมพ่ ยาบาท ถา้ ภกิ ษุตรกึ ตามตรองตามถงึ อวิหงิ สาวติ กมาก กเ็ ปน็ อันวา่ ละวิหิงสาวิตกเสยี กระท�ำ แลว้ อย่างมากในอวหิ ิงสาวิตก จติ ของเธอนั้นย่อมนอ้ มไป เพื่อความตรึกในการไม่ยงั สัตว์ให้ล�ำ บาก ภิกษุท้งั หลาย !   เปรียบเหมอื นในเดือนสุดทา้ ยแหง่ ฤดูรอ้ น ขา้ วกลา้ ทัง้ หมด เขาขนนำ�ไปในบ้านเสร็จแล้ว คนเล้ียงโคพงึ เลยี้ งโคได.้ เมอื่ เขาไปพกั ใตร้ ่มไม้ หรอื ไปกลางทุง่ แจ้งๆ พงึ ท�ำ แต่ความกำ�หนดวา่ นนั่ ฝูงโคดังน้ี (กพ็ อแลว้ ) ฉนั นัน้ เหมือนกัน. 97

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) 98

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ย่อมยุบ ยอ่ มไม่กอ่ ยอ่ มขวา้ งทงิ้ 35 ยอ่ มไมถ่ อื เอา ซึง่ ... ขันธ์ ๕ -บาลี ขนธฺ . สํ. ๑๗/๑๐๕-๑๑๐/๑๕๘-๑๖๔. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   สมณะหรือพราหมณเ์ หลา่ ใด เมอื่ ตามระลกึ ย่อมตามระลึกถึงชาตกิ ่อน ไดเ้ ป็นอนั มาก สมณะหรอื พราหมณ์เหลา่ นัน้ ท้งั หมด ย่อมตามระลึกถึงซง่ึ อุปาทานขนั ธ์ทัง้ ห้า หรือขนั ธใ์ ดขันธ์หนง่ึ แห่งอุปาทานขนั ธ์ท้งั ห้าน้นั . ห้าอยา่ งไรกันเลา่  ? ห้าอย่างคือ ภิกษทุ ั้งหลาย !   เขาเม่อื ตามระลกึ ย่อมตามระลกึ ถึงซึง่ รปู น่นั เทียว วา่ “ในอดตี กาลนานไกล เราเป็นผูม้ ีรปู อย่างนี”้ ดังนบี้ ้าง ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   เขาเมอ่ื ตามระลึก ยอ่ มตามระลกึ ถึงซ่งึ เวทนา น่นั เทยี ว ว่า “ในอดตี กาลนานไกล เราเป็นผูม้ ีเวทนาอย่างน้”ี ดงั น้บี ้าง ภิกษทุ ้ังหลาย !   เขาเมอ่ื ตามระลกึ ย่อมตามระลึกถึงซ่งึ สญั ญา นน่ั เทียว วา่ “ในอดีตกาลนานไกล เราเป็นผู้มีสญั ญาอยา่ งนี้” ดังน้ีบา้ ง ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   เขาเมื่อตามระลกึ ยอ่ มตามระลกึ ถึงซึ่ง สงั ขาร น่นั เทยี ว วา่ “ในอดีตกาลนานไกล เราเปน็ ผู้มีสังขารอยา่ งน”ี้ ดังน้ีบา้ ง 99

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ั้งหลาย !   เขาเมื่อตามระลกึ ยอ่ มตามระลึกถงึ ซงึ่ วิญญาณ นั่นเทยี ว วา่ “ในอดตี กาลนานไกล เราเป็นผมู้ ีวิญญาณอย่างนี”้ ดังนบี้ ้าง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ทำ�ไมเขาจึงกลา่ วกนั วา่ รปู  ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ธรรมชาติน้นั ย่อมสลาย (รุปปฺ ต)ิ เหตุนัน้ จึงเรียกวา่ รปู . สลายเพราะอะไร ? สลายเพราะความเยน็ บ้าง เพราะความร้อนบ้าง เพราะความหิวบา้ ง เพราะความระหายบา้ ง เพราะการสมั ผสั กบั เหลอื บ ยงุ ลม แดด และสตั วเ์ ลอ้ื ยคลานบา้ ง. ภิกษุทั้งหลาย !   ธรรมชาตนิ น้ั ยอ่ มสลายเหตนุ น้ั จงึ เรยี กวา่ รปู . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ท�ำ ไมเขาจึงกล่าวกันว่าเวทนา ? ภิกษทุ งั้ หลาย !   ธรรมชาตนิ ้ัน อนั บุคคลรสู้ กึ ได้ (เวทยติ) เหตุนน้ั จงึ เรยี กวา่ เวทนา. รู้สึกซึง่ อะไร ? รู้สึกซ่ึงสุขบ้าง ซง่ึ ทุกข์บา้ ง ซึง่ อทกุ ขมสุขบ้าง. ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   ธรรมชาตนิ ้ัน อนั บคุ คลร้สู ึกได้ เหตุน้นั จึงเรยี กวา่ เวทนา. ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ทำ�ไมเขาจึงกล่าวกันวา่ สัญญา ? ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ธรรมชาตนิ น้ั ยอ่ มหมายรไู้ ดพ้ รอ้ ม (สญชฺ านาต)ิ เหตุน้ันจงึ เรยี กวา่ สัญญา. หมายรู้ได้พรอ้ มซ่ึงอะไร ? หมายรไู้ ดพ้ รอ้ มซง่ึ สเี ขยี วบา้ ง ซง่ึ สเี หลอื งบา้ ง ซง่ึ สแี ดงบา้ ง ซง่ึ สขี าวบา้ ง. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ธรรมชาตินน้ั ย่อมหมายรู้ได้พรอ้ ม เหตนุ ั้นจงึ เรียกว่า สัญญา. 100

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภกิ ษุทั้งหลาย !   ท�ำ ไมเขาจึงกลา่ วกนั วา่ สงั ขาร ? ภิกษุทง้ั หลาย !   ธรรมชาตนิ ั้น ยอ่ มปรุงแตง่ (อภสิ งฺขโรนฺต)ิ ใหเ้ ป็นของปรงุ แต่ง เหตนุ ้ันจึงเรียกว่าสงั ขาร. ปรุงแตง่ อะไรให้เปน็ ของปรุงแต่ง ? ปรุงแต่งรปู ให้เป็นของปรุงแตง่ โดยความเป็นรปู ปรุงแตง่ เวทนาใหเ้ ป็นของปรุงแตง่ โดยความเปน็ เวทนา ปรงุ แต่งสัญญาใหเ้ ป็นของปรุงแต่งโดยความเป็นสัญญา ปรุงแต่งสังขารให้เปน็ ของปรุงแต่งโดยความเปน็ สังขาร ปรงุ แตง่ วญิ ญาณให้เปน็ ของปรงุ แตง่ โดยความเปน็ วิญญาณ. ภิกษุท้งั หลาย !   ธรรมชาตนิ น้ั ยอ่ มปรงุ แตง่ ใหเ้ ปน็ ของปรงุ แตง่ เหตุนั้นจงึ เรียกว่าสงั ขาร. ภิกษทุ ัง้ หลาย !   ท�ำ ไมเขาจึงกลา่ วกนั วา่ วิญญาณ ? ภกิ ษุทั้งหลาย !   ธรรมชาตนิ น้ั ยอ่ มรู้แจง้ (วิชานาติ) เหตุนัน้ จงึ เรียกว่า วญิ ญาณ. ร้แู จ้งซึ่งอะไร ? รแู้ จง้ ซง่ึ ความเปรย้ี วบ้าง ซ่งึ ความขมบ้าง ซึ่งความเผด็ รอ้ นบ้าง ซึง่ ความหวานบ้าง ซึ่งความข่ืนบ้าง ซ่ึงความไม่ขน่ื บ้าง ซึ่งความเคม็ บ้าง ซงึ่ ความไมเ่ ค็มบ้าง. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ธรรมชาตนิ นั้ ย่อมรแู้ จ้ง เหตนุ น้ั จึงเรยี กว่า วิญญาณ. 101

พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุท้ังหลาย !   ในขันธ์ทง้ั ห้าน้ัน อรยิ สาวกผมู้ กี ารสดบั ย่อมพิจารณาเหน็ โดยประจกั ษช์ ดั ดังน้ีว่า “ในกาลนี้ เราถกู รูปเคี้ยวกนิ อยู่ แม้ในอดตี กาลนานไกล เรากถ็ กู รูปเคย้ี วกนิ แลว้ เหมอื นกับท่ถี ูกรปู อนั เป็นปัจจุบันเค้ียว กินอยู่ในกาลนี้ ฉันใดกฉ็ ันน้นั . ถ้าเราเพลดิ เพลนิ รปู ในอนาคต แมใ้ นอนาคตนานไกล เรากจ็ ะถูกรูปเคย้ี วกนิ เหมือนกบั ทเี่ รา ถกู รูปอันเปน็ ปจั จุบนั เค้ียวกินอย่ใู นกาลน้ี ฉนั ใดกฉ็ ันนนั้ ”. อริยสาวกนัน้ พจิ ารณาเห็นดังนี้แลว้ ยอ่ มเปน็ ผไู้ มเ่ พง่ ตอ่ รปู อนั เปน็ อดตี ไมเ่ พลดิ เพลนิ รปู อนาคต ย่อมเป็นผู้ปฏบิ ตั เิ พอ่ื เบอ่ื หนา่ ย คลายก�ำ หนดั ดบั ไมเ่ หลอื แหง่ รูปอนั เป็นปจั จุบัน. (ในกรณแี หง่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ทรงตรสั ไวอ้ ยา่ งเดยี วกนั แลว้ ตรสั ตอ่ ไปวา่ ) ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   เธอจะส�ำ คัญความส�ำ คัญข้อน้ีวา่ อย่างไร รูปเทย่ี ง หรือไม่เท่ยี ง ? “ไมเ่ ทย่ี ง พระเจา้ ขา้  !”. สง่ิ ใดทไ่ี มเ่ ทย่ี ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ หรอื เปน็ สขุ เลา่  ? “เปน็ ทุกข์ พระเจ้าขา้  !”. สิ่งใดไม่เทย่ี ง เป็นทกุ ข์ มคี วามแปรปรวนเปน็ ธรรมดา ควรหรอื หนอ ? ท่จี ะตามเหน็ ส่ิงนั้นว่า “นน่ั ของเรา นั่นเป็นเรา น่นั เปน็ อัตตาของเรา” ดังน.้ี “ไมค่ วรเห็นอยา่ งน้นั พระเจ้าขา้  !” (ในกรณแี หง่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ มกี ารถามตอบแบบเดยี วกนั แลว้ ตรสั ตอ่ ไปวา่ ) 102

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษุทัง้ หลาย !   เพราะเหตุนนั้ ในเรอ่ื งนี้ รปู อยา่ งใดอย่างหน่ึง ท้ังที่เป็นอดตี อนาคตและปจั จบุ นั มใี นภายในหรอื ภายนอกก็ตาม หยาบหรือละเอยี ดก็ตาม เลวหรอื ประณีตกต็ าม มใี นทไี่ กลหรอื ในท่ีใกลก้ ต็ าม รูปทัง้ หมดนน้ั บุคคลควรเหน็ ด้วยปญั ญาโดยชอบ ตามท่ีเป็นจริงอย่างนี้ วา่ “นน่ั ไมใ่ ชข่ องเรา นน่ั ไมใ่ ชเ่ ปน็ เรา นน่ั ไมใ่ ชอ่ ตั ตาของเรา” ดงั น.้ี (ในกรณแี หง่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ทรงตรสั ไวอ้ ยา่ งเดยี วกนั แลว้ ตรสั ตอ่ ไปวา่ ) ภิกษทุ ้งั หลาย !   อริยสาวกน้ี เรากลา่ ววา่ เธอย่อมยุบ-ย่อมไมก่ ่อ ย่อมขวา้ งท้ิง-ยอ่ มไม่ถือเอา ย่อมท�ำ ให้กระจัดกระจาย-ย่อมไม่ทำ�ให้เปน็ กอง ย่อมท�ำ ให้มอด-ย่อมไมท่ ำ�ใหล้ กุ โพลง. อริยสาวกน้ัน ยอ่ มยบุ -ย่อมไม่กอ่ ซง่ึ อะไร ? เธอยอ่ มยบุ -ยอ่ มไมก่ อ่ ซง่ึ รปู ซง่ึ เวทนา ซง่ึ สญั ญา ซง่ึ สงั ขาร ซง่ึ วญิ ญาณ. อรยิ สาวกน้ัน ย่อมขวา้ งทิ้ง-ยอ่ มไมถ่ ือเอา ซงึ่ อะไร ? เธอยอ่ มขวา้ งทิ้ง-ย่อมไมถ่ อื เอา ซง่ึ รูป ซงึ่ เวทนา ซง่ึ สญั ญา ซ่งึ สังขาร ซง่ึ วญิ ญาณ. อรยิ สาวกนน้ั ยอ่ มท�ำ ใหก้ ระจดั กระจาย-ยอ่ มไมท่ �ำ ใหเ้ ปน็ กอง ซง่ึ อะไร? เธอยอ่ มท�ำ ให้กระจดั กระจาย-ย่อมไมท่ ำ�ให้เปน็ กอง ซงึ่ รปู ซึง่ เวทนา ซึ่งสัญญา ซึง่ สังขาร ซึ่งวญิ ญาณ. อรยิ สาวกนน้ั ยอ่ มท�ำ ใหม้ อด-ยอ่ มไมท่ �ำ ใหล้ กุ โพลง ซง่ึ อะไร ? เธอยอ่ มท�ำ ใหม้ อด-ยอ่ มไมท่ �ำ ใหล้ กุ โพลง ซง่ึ รปู ซง่ึ เวทนา ซงึ่ สญั ญา ซ่งึ สงั ขาร ซ่งึ วิญญาณ. 103

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   อรยิ สาวกผู้มกี ารสดับ เม่ือเหน็ อยู่อย่างน้ี ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยแมใ้ นรูป แมใ้ นเวทนา แมใ้ นสัญญา แม้ในสงั ขาร แม้ในวญิ ญาณ. เมือ่ เบื่อหนา่ ย ยอ่ มคลายกำ�หนัด เพราะความคลายก�ำ หนดั ยอ่ มหลดุ พน้ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมญี าณหย่ังร้วู ่าหลุดพ้นแล้ว. อรยิ สาวกนน้ั ย่อมทราบชดั วา่ “ชาตสิ นิ้ แล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแลว้ กิจทีค่ วรทำ�ได้สำ�เรจ็ แล้ว กิจอืน่ ทจ่ี ะตอ้ งทำ�เพ่ือความเปน็ อยา่ งนี้ มิไดม้ ีอีก” ดงั น้.ี ภกิ ษุทั้งหลาย !   ภิกษุ (ผู้ซงึ่ หลดุ พน้ แล้ว) นี้ เราเรยี กว่า ไมก่ อ่ อยู่-ไมย่ ุบอยู่ แตเ่ ป็นอนั วา่ ยุบแล้ว-ดำ�รงอยู่ ไมข่ ว้างทิง้ อย-ู่ ไม่ถือเอาอยู่ แตเ่ ป็นอนั วา่ ขวา้ งทง้ิ แลว้ -ด�ำ รงอยู่ ไม่ทำ�ใหก้ ระจดั กระจายอยู่-ไมท่ �ำ ให้เปน็ กองอยู่ แต่เปน็ อันวา่ ทำ�ใหก้ ระจดั กระจายแล้ว-ด�ำ รงอยู่ ไมท่ ำ�ใหม้ อดอยู่-ไมท่ ำ�ให้ลุกโพลงอยู่ แต่เปน็ อนั วา่ ทำ�ใหม้ อดแลว้ -ด�ำ รงอยู.่ ภิกษุนนั้ ไม่ก่ออยู่-ไม่ยุบอยู่ แตเ่ ปน็ อนั วา่ ยบุ ซงึ่ อะไรแล้ว ด�ำ รงอย ู่ ? เธอไม่กอ่ อยู่-ไมย่ ุบอยู่ แต่เปน็ อันว่ายบุ ซง่ึ รูป ซ่งึ เวทนา ซ่งึ สัญญา ซง่ึ สังขาร ซงึ่ วญิ ญาณ แลว้ ด�ำ รงอยู่ 104

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษุนน้ั ไม่ขว้างทงิ้ อยู่-ไม่ถอื เอาอยู่ แตเ่ ปน็ อนั ว่าขว้างทงิ้ ซึ่งอะไรแล้ว ดำ�รงอยู่ ? เธอไม่ขว้างท้ิงอยู่-ไมถ่ อื เอาอยู่ แต่เปน็ อันวา่ ขวา้ งทิ้ง ซึ่งรปู ซง่ึ เวทนา ซง่ึ สัญญา ซึง่ สงั ขาร ซึ่งวญิ ญาณ แล้ว ด�ำ รงอย.ู่ ภิกษนุ น้ั ไมท่ ำ�ใหก้ ระจัดกระจายอย-ู่ ไมท่ ำ�ให้เปน็ กองอยู่ แตเ่ ป็นอันว่าทำ�ใหก้ ระจัดกระจาย ซง่ึ อะไรแลว้ ดำ�รงอยู่ ? เธอไม่ท�ำ ให้กระจัดกระจายอย่-ู ไมท่ ำ�ให้เปน็ กองอยู่ แต่เปน็ อันว่าทำ�ให้กระจดั กระจายซงึ่ รูป ซ่ึงเวทนา ซ่งึ สัญญา ซึ่งสังขาร ซ่ึงวิญญาณ แล้ว ดำ�รงอย.ู่ ภกิ ษุนัน้ ไมท่ �ำ ให้มอดอย่-ู ไม่ทำ�ใหล้ ุกโพลงอยู่ แตเ่ ปน็ อันว่าท�ำ ให้มอด ซึ่งอะไรแลว้ ดำ�รงอย ู่ ? เธอไมท่ �ำ ใหม้ อดอยู่-ไมท่ ำ�ใหล้ ุกโพลงอยู่ แต่เป็นอนั ว่าท�ำ ใหม้ อดซ่ึงรูป ซ่ึงเวทนา ซงึ่ สัญญา ซ่งึ สงั ขาร ซึ่งวิญญาณ แล้ว ด�ำ รงอย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  เทวดาทง้ั หลาย พรอ้ มทง้ั อนิ ทร์ พรหม และปชาบดี ยอ่ มนมสั การภกิ ษผุ มู้ จี ติ หลดุ พน้ แลว้ อยา่ งน้ี มาจากทไ่ี กลเทยี ว กลา่ ววา่ “ขา้ แตท่ า่ นบรุ ษุ อาชาไนย ! ขา้ แตท่ า่ นบรุ ษุ ผสู้ งู สดุ  ! ขา้ พเจา้ ขอนมสั การทา่ น เพราะขา้ พเจา้ ไมอ่ าจจะทราบสง่ิ ซง่ึ ทา่ น อาศยั แลว้ เพง่ ของทา่ น” ดงั น้.ี 105

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : อนิ ทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เห็นประจกั ษ์ตามความเป็นจริง 36 -บาลี อุ. ขุ. ๒๕/๑๒๑/๘๔. สตั ว์โลกน้ี เกิดความเดอื นร้อนแล้ว มีผัสสะบังหน้า ย่อมกลา่ วซึ่งโรคน้ัน โดยความเปน็ ตน เขาส�ำ คัญสง่ิ ใด โดยความเป็นประการใด แต่ส่งิ น้ันย่อมเป็นโดยประการอนื่ จากทีเ่ ขาสำ�คัญนั้น. สัตว์โลกติดข้องอย่ใู นภพ ถกู ภพบังหนา้ แลว้ มภี พโดยความเปน็ อย่างอนื่ จงึ ไดเ้ พลิดเพลนิ ยิ่งนกั ในภพนั้น. เขาเพลิดเพลินยิ่งนกั ในสงิ่ ใด สิ่งนัน้ กเ็ ปน็ ภยั เขากลวั ต่อสิ่งใด ส่งิ น้นั กเ็ ปน็ ทกุ ข.์ พรหมจรรยน์ ้ี อนั บคุ คลยอ่ มประพฤติ กเ็ พอ่ื การละขาดซง่ึ ภพ นน้ั เอง. สมณะหรือพราหมณท์ ้งั หลายเหลา่ ใด กลา่ วความหลดุ พน้ จากภพ ว่ามไี ดเ้ พราะ ภพ เรากล่าววา่ สมณะทั้งปวงนัน้ มิใช่ผู้หลุดพน้ จากภพ. ถึงแมส้ มณะหรอื พราหมณท์ ั้งหลายเหลา่ ใด กล่าวความออกไปได้จากภพ ว่ามไี ดเ้ พราะ วภิ พ เรากลา่ ววา่ สมณะหรอื พราหมณท์ ง้ั ปวงนน้ั กย็ งั สลดั ภพออกไปไมไ่ ด.้ 106

เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) กท็ ุกข์นเ้ี กดิ ขนึ้ เพราะอาศัยซง่ึ อปุ ธิ ท้งั ปวง. ความเกดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข์ ไมม่ ี กเ็ พราะความสน้ิ ไปแหง่ อปุ าทานทง้ั ปวง. ท่านจงดูโลกนี้เถดิ (จะเหน็ วา่ ) สตั วท์ ้ังหลาย อันอวชิ ชาหนาแน่นบงั หน้าแลว้ และว่าสัตว์ผยู้ ินดใี นภพ อันเป็นแลว้ นั้น ย่อมไมเ่ ป็นผูห้ ลดุ พน้ ไปจากภพได.้ กภ็ พทง้ั หลายเหลา่ หนง่ึ เหลา่ ใด อนั เปน็ ไปในทห่ี รอื ในเวลาทง้ั ปวง เพ่ือความมแี ห่งประโยชน์โดยประการทั้งปวง ภพทัง้ หลายท้ังหมดนนั้ ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทุกข์ มีความแปรปรวนเปน็ ธรรมดา. เมอ่ื บคุ คลเหน็ อยซู่ ง่ึ ขอ้ นน้ั ดว้ ยปญั ญาอนั ชอบตามทเ่ี ปน็ จรงิ อยา่ งนอ้ี ยู่ เขาย่อมละภวตัณหาได้ และไมเ่ พลิดเพลนิ ซึ่งวิภวตณั หาดว้ ย. ความดบั เพราะความส�ำ รอกไม่เหลอื เพราะความส้ินไปแห่งตณั หาโดยประการทงั้ ปวง นน้ั คอื นิพพาน. ภพใหมย่ อ่ มไมม่ แี กภ่ กิ ษนุ น้ั ผดู้ บั เยน็ สนทิ แลว้ เพราะไมม่ คี วามยดึ มน่ั . ภิกษนุ ้นั เป็นผ้คู รอบงำ�มารได้แลว้ ชนะสงครามแลว้ ก้าวลว่ งภพทัง้ หลายท้ังปวงไดแ้ ล้ว เปน็ ผู้คงที่ ดังนแ้ี ล. 107

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : อินทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) พงึ เห็นวา่ ชวี ิตน้ันแสนสน้ั 37 -บาลี อฏฺก. อํ. ๒๓/๓๒๗/๑๗๐. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ฝ่ายภกิ ษพุ วกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชวี ติ อยไู่ ด้เพยี ง ชัว่ ขณะฉนั อาหารเสร็จเพียงคำ�เดยี ว. เราพึงใสใ่ จถึงค�ำ สอนของพระผ้มู พี ระภาคเจา้ เถดิ . การปฏิบตั ิตามค�ำ สอนควรท�ำ ให้มากแลว้ หนอ” ดังนก้ี ด็ ี ว่า “โอหนอ เราอาจจะมชี วี ิตอยไู่ ด้เพียง ชัว่ ขณะท่ีหายใจเข้าแล้วหายใจออก หรอื ช่วั หายใจออกแล้วหายใจเขา้ . เราพึงใสใ่ จถงึ คำ�สอนของพระผมู้ ีพระภาคเจา้ เถิด. การปฏิบัตติ ามคำ�สอนควรทำ�ให้มากแลว้ หนอ” ดังนก้ี ็ดี ภิกษเุ หล่านี้ เราเรยี กวา่ เป็นผไู้ มป่ ระมาทแลว้ เป็นผ้เู จริญมรณสติเพือ่ ความสน้ิ อาสวะอย่างแท้จรงิ . 108

เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : อินทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษุท้งั หลาย !   เพราะฉะนน้ั ในเร่ืองนี้ พวกเธอท้ังหลาย พึงสำ�เหนยี กใจไวว้ ่า “เราท้ังหลาย จักเป็นผู้ไม่ประมาทเป็นอยู่ จักเจรญิ มรณสติ เพือ่ ความส้นิ อาสวะอยา่ งแทจ้ รงิ ” ดงั น.้ี ภกิ ษุทง้ั หลาย !   เธอทงั้ หลาย พึงสำ�เหนียกใจไวอ้ ยา่ งนแ้ี ล. 109



ผลที่สุด ของการละความเพลิน ในอารมณ

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : อินทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ผ้ไู ด้ชือ่ วา่ อนิ ทรียภ์ าวนาช้นั เลศิ 38 -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๕๔๒–๕๔๕/๘๕๖–๘๖๑. อานนท ์ ! อนิ ทรยี ์ภาวนาชั้นเลศิ (อนุตตฺ รา อนิ ทฺ รฺ ยิ ภาวนา) ในอรยิ วนิ ยั เปน็ อย่างไรเลา่  ? อานนท์ ! ในกรณีนี้ อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ–ไม่เป็นที่ชอบใจ– ท้ังเปน็ ที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกดิ ข้นึ แกภ่ ิกษุเพราะเหน็ รูปดว้ ยตา. ภกิ ษนุ ั้นรู้ชัดอยา่ งน้ีวา่ “อารมณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราน้ี เปน็ สง่ิ มปี จั จยั ปรงุ แตง่ (สงขฺ ต) เป็นของหยาบๆ (โอฬาริก) เป็นส่ิงทีอ่ าศยั เหตปุ จั จยั เกิดข้ึน (ปฏจิ จฺ สมุปฺปนฺน) แต่มีสิง่ โนน้ ซ่ึงรำ�งับและประณตี กลา่ วคอื อุเบกขา” ดังน้.ี (เม่อื ร้ชู ดั อย่างน้ี) อารมณอ์ ันเป็นที่ชอบใจ–ไม่เปน็ ทชี่ อบใจ- ท้งั เปน็ ที่ชอบใจและไมเ่ ป็นทช่ี อบใจ อนั บงั เกดิ ขนึ้ แก่ภกิ ษุนัน้ ย่อมดับไป อุเบกขายังคงดำ�รงอย.ู่ 112

เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) อานนท ์ ! อารมณ์อันเปน็ ทีช่ อบใจ–ไม่เปน็ ท่ีชอบใจ- ทัง้ เปน็ ทชี่ อบใจและไมเ่ ปน็ ท่ีชอบใจ อนั บงั เกดิ ขนึ้ แก่ภกิ ษนุ ัน้ ยอ่ มดบั ไป เร็วเหมอื นการกระพริบตาของคน อุเบกขายงั คงด�ำ รงอยู.่ อานนท ์ ! น้ีแล เราเรียกว่า อนิ ทรยี ์ภาวนาชั้นเลศิ ในอรยิ วินัย ในกรณแี ห่ง รูปท่รี ูแ้ จ้งดว้ ยจักษุ. (ในกรณแี ห่ง เสียงทร่ี ู้แจง้ ดว้ ยโสตะ กลน่ิ ที่รูแ้ จ้งด้วยฆานะ รสที่รู้แจง้ ดว้ ยชวิ หา โผฎฐัพพะท่ีรู้แจง้ ดว้ ยผิวกาย และ ธรรมารมณท์ ่ีรู้แจง้ ดว้ ยใจ ทรงตรสั อยา่ งเดยี วกัน ต่างกนั แตอ่ ุปมาแหง่ ความเรว็ ในการดับแห่งอารมณน์ ัน้ ๆ คอื กรณเี สียง เปรียบด้วยความเรว็ แห่งการดดี นิ้วมือ กรณกี ลิ่น เปรยี บดว้ ยความเรว็ แหง่ หยดน�้ำ ตกจากใบบัว กรณรี ส เปรยี บดว้ ยความเรว็ แหง่ น�ำ้ ลายทถ่ี ม่ จากปลายลน้ิ ของคนแขง็ แรง กรณโี ผฏฐพั พะ เปรยี บดว้ ยความเรว็ แหง่ การเหยยี ดแขนพบั แขนของคนแขง็ แรง กรณธี รรมารมณ์ เปรยี บดว้ ยความเรว็ แหง่ การแหง้ ของหยดน�ำ้ บนกระทะเหลก็ ทร่ี อ้ น แดงอยตู่ ลอดวนั ) 113

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ผเู้ ขา้ ไปหาเปน็ ผู้ไมห่ ลดุ พน้ 39 ผูไ้ มเ่ ขา้ ไปหาย่อมหลุดพ้น -บาลี ขนฺธ. ส.ํ ๑๗/๖๖/๑๐๕. ภกิ ษุท้ังหลาย !   ผู้เขา้ ไปหา เปน็ ผ้ไู มห่ ลดุ พ้น ผูไ้ มเ่ ข้าไปหา เป็นผหู้ ลดุ พ้น. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   วิญญาณ ซึ่งเข้าถอื เอารปู ตง้ั อยู่ ก็ตง้ั อยู่ได้ เปน็ วญิ ญาณท่มี รี ูปเปน็ อารมณ์ มรี ูปเป็นที่ตั้งอาศยั มนี ันทเิ ปน็ ท่ีเขา้ ไปสอ้ งเสพ ก็ถงึ ความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   วญิ ญาณ ซง่ึ เข้าถือเอาเวทนา ตง้ั อยู่ ก็ตง้ั อย่ไู ด้ เปน็ วญิ ญาณทม่ี เี วทนาเป็นอารมณ์ มีเวทนาเป็นที่ต้งั อาศยั มนี นั ทเิ ป็นทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ ก็ถงึ ความเจริญ งอกงาม ไพบลู ย์ ได้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   วิญญาณ ซ่ึงเขา้ ถือเอาสญั ญา ตั้งอยู่ ก็ตง้ั อยไู่ ด้ เปน็ วญิ ญาณทม่ี สี ัญญาเป็นอารมณ์ มสี ัญญาเปน็ ทต่ี ั้งอาศยั มนี ันทเิ ปน็ ทเ่ี ขา้ ไปสอ้ งเสพ ก็ถงึ ความเจริญ งอกงาม ไพบลู ย์ ได้ 114

เปิดธรรมที่ถกู ปิด : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภิกษทุ ง้ั หลาย !   วิญญาณ ซึ่งเข้าถอื เอาสังขาร ต้ังอยู่ ก็ตงั้ อยไู่ ด้ เป็นวิญญาณท่มี ีสังขารเป็นอารมณ์ มีสังขารเป็นทต่ี งั้ อาศัย มนี นั ทเิ ปน็ ทเี่ ข้าไปส้องเสพ ก็ถงึ ความเจริญ งอกงาม ไพบูลย์ ได้ ภกิ ษุท้ังหลาย !   ผู้ใดจะพึงกลา่ วอย่างน้ีวา่ “เราจกั บัญญัติ ซ่ึงการมา การไป การจตุ ิ การอุบัติ ความเจริญ ความงอกงาม และความไพบลู ย์ ของวิญญาณ โดยเว้นจากรูป เว้นจากเวทนา เวน้ จากสญั ญา และเว้นจากสงั ขาร” ดงั นน้ี ั้น. นี่ ไมใ่ ชฐ่ านะทจ่ี กั มไี ดเ้ ลย. ภิกษทุ ้งั หลาย !   ถา้ ราคะในรปู ธาตุ ในเวทนาธาตุ ในสัญญาธาตุ ในสงั ขารธาตุ ในวญิ ญาณธาตุ เปน็ สิง่ ท่ีภกิ ษลุ ะไดแ้ ล้ว เพราะละราคะได้ อารมณ์ส�ำ หรบั วญิ ญาณก็ขาดลง ทต่ี ง้ั ของวญิ ญาณกไ็ มม่ ี วญิ ญาณอนั ไมม่ ที ต่ี ง้ั นน้ั กไ็ มง่ อกงาม หลดุ พ้นไปเพราะไม่ถูกปรงุ แตง่ เพราะหลุดพ้นไป กต็ ง้ั ม่ัน เพราะตั้งมน่ั กย็ ินดีในตนเอง เพราะยนิ ดใี นตนเอง กไ็ มห่ วน่ั ไหว เมอ่ื ไมห่ วน่ั ไหว กป็ รนิ พิ พานเฉพาะตน ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “ชาตสิ น้ิ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยจู่ บแลว้ กจิ ทค่ี วรท�ำ ไดส้ �ำ เรจ็ แลว้ กจิ อน่ื ทจ่ี ะตอ้ งท�ำ เพอ่ื ความเปน็ อยา่ งนม้ี ไิ ดม้ อี กี ” ดงั น.้ี 115

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี กู ปดิ : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) เพราะไมเ่ พลิน จึงละอนุสยั ทั้ง ๓ ได้ 40 -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๕๑๘/๘๒๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะอาศยั ตา ดว้ ย รปู ทัง้ หลาย ดว้ ย จึงเกิด จกั ขวุ ิญญาณ การประจวบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการนนั่ คือ ผสั สะ เพราะมผี สั สะเป็นปจั จยั ... เพราะอาศยั หู ด้วย เสียงทง้ั หลาย ด้วย จงึ เกิดโสตวญิ ญาณ การประจวบพร้อมแหง่ ธรรม ๓ ประการน่ัน คอื ผสั สะ เพราะมผี ัสสะเป็นปัจจัย... เพราะอาศยั จมูก ด้วย กลิ่นทั้งหลาย ดว้ ย จงึ เกดิ ฆานวิญญาณ การประจวบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ เพราะมผี สั สะเป็นปัจจัย... เพราะอาศัย ลนิ้ ดว้ ย รสทั้งหลาย ด้วย จงึ เกดิ ชิวหาวญิ ญาณ การประจวบพร้อมแห่งธรรม ๓ ประการนั่นคอื ผัสสะ เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จัย... 116

เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) เพราะอาศัย กาย ดว้ ย โผฏฐพั พะทัง้ หลาย ดว้ ย จึงเกดิ กายวญิ ญาณ การประจวบพรอ้ มแห่งธรรม ๓ ประการนน่ั คอื ผสั สะ เพราะมผี สั สะเป็นปัจจัย... เพราะอาศยั ใจ ดว้ ย ธรรมารมณท์ ง้ั หลาย ดว้ ย จงึ เกดิ มโนวญิ ญาณ การประจวบพรอ้ มแห่งธรรม ๓ ประการนั่น คือ ผัสสะ เพราะมผี ัสสะเปน็ ปจั จยั จงึ เกดิ เวทนา อนั เปน็ สขุ บา้ ง เปน็ ทกุ ขบ์ า้ ง ไมใ่ ชท่ กุ ขไ์ มใ่ ชส่ ขุ บา้ ง. บุคคลนนั้ เมอ่ื สุขเวทนา ถกู ต้องอยู่ ยอ่ มไมเ่ พลิดเพลิน ย่อมไม่พร�่ำ สรรเสริญ ไมเ่ มาหมกอยู่ อนสุ ยั คอื ราคะ ยอ่ มไมต่ ามนอน (ตสสฺ ราคานสุ โย นานเุ สต)ิ แกบ่ คุ คลนน้ั . เมื่อ ทกุ ขเวทนา ถูกตอ้ งอยู่ เขาย่อมไม่เศรา้ โศก ยอ่ มไม่ระทมใจ ย่อมไมค่ รำ่�ครวญ ย่อมไม่ตอี กร่�ำ ไห้ ยอ่ มไม่ถงึ ความหลงใหลอยู่ อนสุ ยั คอื ปฏฆิ ะ ยอ่ มไมต่ ามนอน (ไมเ่ พม่ิ ความเคยชนิ ให)้ แกบ่ คุ คลนน้ั . 117

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมอ่ื เวทนาอันไมใ่ ช่ทุกข์ไม่ใช่สขุ ถูกตอ้ งอยู่ เขาย่อมรตู้ ามเป็นจริง ซง่ึ สมุทยะ (เหตเุ กิด) ของเวทนานั้นดว้ ย ซง่ึ อัตถังคมะ (ความดบั ไมเ่ หลือ) แห่งเวทนานน้ั ดว้ ย ซึ่งอัสสาทะ (รสอร่อย) ของเวทนานัน้ ดว้ ย ซึง่ อาทนี วะ (โทษ) ของเวทนาน้ันดว้ ย ซึง่ นิสสรณะ (อบุ ายเครอ่ื งออกพ้นไป) ของเวทนานั้นดว้ ย อนสุ ยั คอื อวชิ ชา ยอ่ มไมต่ ามนอน (ไมเ่ พม่ิ ความเคยชนิ ให)้ แกบ่ คุ คลนน้ั . ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   บุคคลนั้นหนอ (สุขาย เวทนาย ราคานุสย ปหาย) ละราคานสุ ยั อันเกิดจากสุขเวทนาเสียไดแ้ ล้ว (ทกุ ขฺ าย เวทนาย ปฏฆิ านุสย ปฏวิ โิ นเทตฺวา) บรรเทาปฏิฆานุสัยอันเกิดจากทกุ ขเวทนาเสยี ได้แล้ว (อทุกฺขมสุขาย เวทนาย อวิชฺชานสุ ย สมหู นิตฺวา) ถอนอวชิ ชานุสยั อนั เกดิ จากอทุกขมสุขเวทนาเสียไดแ้ ลว้ 118

เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) (อวชิ ฺช ปหาย วชิ ฺช อปุ ปฺ าเทตวฺ า) เม่อื ละอวชิ ชาเสยี ได้แลว้ และทำ�วิชชาใหเ้ กิดขึ้นไดแ้ ล้ว (ทิฏเฺ ว ธมเฺ ม ทกุ ฺขสสฺ นฺตกโร ภวิสฺสตตี ิ) เขาจกั ท�ำ ท่ีสุดแหง่ ทุกข์ ในทฏิ ฐธรรม (รเู้ หน็ ได้เลย) นีไ้ ด้ น้ัน (านเมต วิชชฺ ตฯิ ) ข้อน้เี ปน็ ฐานะทจี่ กั มีได.้ 119

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ย่อมหลุดพน้ ไปจากทกุ ข์ 41 -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๙/๖๕., -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๖/๑๙-๒๐. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   ผู้ใด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน รปู ผนู้ นั้ เทา่ กบั ไม่เพลิดเพลนิ อยู่ ใน สงิ่ ทีเ่ ป็นทกุ ข์... ผู้ใด ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน เวทนา ผู้น้นั เทา่ กับไม่เพลิดเพลนิ อยู่ ใน สิง่ ทเ่ี ปน็ ทุกข.์ .. ผู้ใด ไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน สัญญา ผู้นนั้ เทา่ กับไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ที่เป็นทุกข.์ .. ผใู้ ด ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน สงั ขารทั้งหลาย ผนู้ ั้น เทา่ กบั ไม่เพลดิ เพลินอยู่ ใน ส่ิงทีเ่ ปน็ ทุกข.์ .. ผูใ้ ด ไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน วิญญาณ ผนู้ น้ั เท่ากบั ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สงิ่ ทเี่ ป็นทุกข์ 120

เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เรากล่าววา่ “ผ้ใู ด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน ส่งิ ทเ่ี ป็นทกุ ข์ ผ้นู ้ัน ยอ่ มหลุดพน้ ไปไดจ้ ากทกุ ข”์ ดังนี้. 121

พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษุทงั้ หลาย !   (ทรงตรสั กรณเี พลิน แลว้ ทรงตรสั กรณไี ม่เพลนิ ตอ่ เทยี บกัน) ...สว่ นผ้ใู ด ไม่เพลดิ เพลินอยู่ ใน จกั ษุ ผนู้ ้นั เทา่ กับ ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน สิ่งที่เปน็ ทุกข์... ผใู้ ด ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน โสตะ ผนู้ ั้น เท่ากับ ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ทเ่ี ปน็ ทุกข.์ .. ผใู้ ด ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน ฆานะ ผนู้ นั้ เทา่ กับ ไม่เพลดิ เพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทุกข์... ผใู้ ด ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน ชิวหา ผู้นน้ั เทา่ กับ ไมเ่ พลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งท่เี ป็นทุกข.์ .. ผใู้ ด ไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน กายะ ผู้น้นั เท่ากบั ไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ที่เปน็ ทุกข์... ผู้ใด ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน มนะ ผู้น้นั เทา่ กบั ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ทเ่ี ป็นทกุ ข์ 122

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) เรากลา่ วว่า ผู้ใด ไมเ่ พลดิ เพลนิ อยู่ ใน สิง่ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ ผนู้ นั้ ย่อมหลดุ พ้นไปได้จากทุกข์ ดงั น.้ี ภิกษุทงั้ หลาย !   (ทรงตรัสกรณเี พลนิ แลว้ ทรงตรสั กรณไี มเ่ พลนิ ตอ่ เทียบกัน) ...ส่วนผใู้ ด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน รปู ผนู้ ้นั เทา่ กบั ไม่เพลิดเพลนิ อยู่ ใน สิง่ ทเ่ี ป็นทกุ ข.์ .. ผใู้ ด ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน เสียง ผ้นู ้ัน เท่ากับ ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน สงิ่ ทเ่ี ป็นทุกข์... ผ้ใู ด ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน กลน่ิ ผู้นั้น เท่ากบั ไมเ่ พลดิ เพลินอยู่ ใน สง่ิ ท่ีเปน็ ทุกข์... ผ้ใู ด ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน รส ผนู้ ั้น เท่ากับ ไมเ่ พลิดเพลินอยู่ ใน ส่งิ ที่เปน็ ทุกข์... 123

พุทธวจน - หมวดธรรม ผใู้ ด ไมเ่ พลิดเพลินอยู่ ใน โผฏฐัพพะ ผู้น้ัน เท่ากับ ไม่เพลิดเพลินอยู่ ใน สิ่งทีเ่ ปน็ ทุกข.์ .. ผ้ใู ด ไม่เพลิดเพลนิ อยู่ ใน ธรรมารมณ์ ผู้นนั้ เท่ากับ ไมเ่ พลิดเพลนิ อยู่ ใน ส่งิ ท่ีเป็นทุกข์ เรากลา่ ววา่ ผใู้ ด ไม่เพลดิ เพลินอยู่ ใน สิ่งทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ ผู้น้นั ย่อมหลุดพน้ ไปได้จากทุกข์ ดงั น้ี. 124

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ลกั ษณะของบุคคลสีป่ ระเภท 42 -บาลี จตกุ กฺ . อํ. ๒๑/๑๘๕/๑๓๘. ภกิ ษุท้ังหลาย !   บุคคลสี่จำ�พวกเหล่านี้ มีอยู่ หาไดอ้ ยู่ ในโลก. ส่ีจ�ำ พวก อย่างไรเลา่  ? สจ่ี �ำ พวกคอื กายออก แต่จติ ไม่ออก (นิกกฺ ฏฺ กาโย อนกิ กฺ ฏฺจิตฺโต) กายไม่ออก แตจ่ ิตออก (อนิกกฺ ฏฺ กาโย นกิ ฺกฏฺ จติ ฺโต) กายก็ไมอ่ อกจติ ก็ไมอ่ อก (อนิกกฺ ฏฺ กาโย จ อนิกฺกฏฺจิตฺโต จ) กายก็ออก จติ ก็ออก (นกิ กฺ ฏฺ กาโย จ นิกฺกฏฺ จติ ฺโต จ) ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   บคุ คลทีช่ ่ือว่า กายออก แตจ่ ติ ไมอ่ อก เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภิกษทุ งั้ หลาย !   ในกรณนี ้ี บคุ คลบางคน เสพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และปา่ ทบึ ในที่นัน้ ๆ เขาวิตกซ่ึงกามวิตกบา้ ง ซึง่ พ๎ยาปาทวิตกบา้ ง ซึง่ วหิ ิงสาวติ กบา้ ง. ภิกษุทั้งหลาย !   อย่างนแ้ี ล บคุ คลท่ี กายออก แตจ่ ิตไมอ่ อก. ภกิ ษทุ ้ังหลาย !   บคุ คลท่ชี ่อื วา่ กายไมอ่ อก แตจ่ ิตออก เป็นอยา่ งไรเล่า ? 125

พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ในกรณนี ้ี บคุ คลบางคน ไมไ่ ดเ้ สพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และ ป่าทบึ ในท่นี ั้นๆ เขาวติ กซ่งึ เนกขมั มวติ กบา้ ง ซงึ่ อพั ย๎ าปาทวติ กบา้ ง ซ่งึ อวหิ งิ สาวิตกบา้ ง. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   อยา่ งนี้แล บคุ คลที่ กายไมอ่ อก แต่จติ ออก. ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   บคุ คลที่ชือ่ ว่า กายกไ็ ม่ออก จิตกไ็ ม่ออก เป็นอยา่ งไรเลา่  ? ภกิ ษุทัง้ หลาย ! ในกรณนี ้ี บคุ คลบางคน ไมไ่ ดเ้ สพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และ ปา่ ทบึ ในที่นน้ั ๆ เขาวติ กซงึ่ กามวิตกบา้ ง ซึ่งพย๎ าปาทวติ กบ้าง ซ่งึ วิหิงสาวติ กบา้ ง. ภิกษุทงั้ หลาย !   อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลท่ี กายกไ็ มอ่ อก จติ กไ็ มอ่ อก. ภิกษทุ ง้ั หลาย !   บคุ คลทช่ี อ่ื ว่า กายก็ออก จติ กอ็ อก เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? ภิกษทุ ั้งหลาย !   ในกรณนี ้ี บคุ คลบางคน เสพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา่ และปา่ ทบึ ในทน่ี น้ั ๆ เขาวติ กซึ่งเนกขัมมวติ กบ้าง ซ่งึ อัพ๎ยาปาทวติ กบา้ ง ซึ่งอวิหิงสาวิตกบ้าง. ภิกษุท้งั หลาย !   อย่างนี้แล บคุ คลที่ กายกอ็ อก จิตก็ออก. ภกิ ษุท้งั หลาย !   บคุ คล ๔ จ�ำ พวกเหลา่ นแ้ี ล มอี ยู่ หาไดอ้ ยู่ ในโลก. 126

ขอย้ำ�เตือนจากพระตถาคต

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : อนิ ทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ความไมป่ ระมาท 43 ยงั กุศลธรรมทงั้ หลายใหเ้ กดิ ข้ึน -บาลี เอก. อํ. ๒๐/๑๓/๖๐. ภิกษุทั้งหลาย !   เราไมม่ องเห็นธรรมอน่ื แม้สักอย่างหนึง่ ทเ่ี ป็นเหตใุ หก้ ศุ ลธรรมทีย่ งั ไมเ่ กดิ เกดิ ขนึ้ หรืออกุศลธรรมท่เี กิดอยูแ่ ลว้ ย่อมเสอื่ มสิ้นไป เหมอื นความไม่ประมาท น้.ี ภิกษุท้งั หลาย !   เม่อื บคุ คลไมป่ ระมาทแลว้ กุศลธรรมทยี่ ังไม่เกดิ ก็เกดิ ข้ึน และอกศุ ลธรรมทีเ่ กิดอยู่แล้ว ก็เสือ่ มสิน้ ไป. 128

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) พนิ ยั กรรม ของพระสงั ฆบดิ า 44 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๘๐/๑๔๓. ภิกษทุ ั้งหลาย !   บัดน้ี ตถาคต ขอเตือนพวกเธอทัง้ หลายไว้ ว่า สังขารท้ังหลาย มีความเสอ่ื มไปเปน็ ธรรมดา พวกเธอท้งั หลาย จงถงึ พรอ้ มด้วยความไม่ประมาทเถิด นีแ่ ล เป็นพระวาจาทตี่ รสั ครงั้ สุดท้ายของพระตถาคตเจ้า. 129



ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)

มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล