Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิษณุโลก

Description: พิษณุโลก

Search

Read the Text Version

พษิ ณโุ ลก

พพษิ ษิ ณณโุ ลุโลกก



วดั เจดียย์ อดทอง

การเดนิ ทาง สารบญั สถานทีท่ ีน่ ่าสนใจ ๘ อ�ำเภอเมอื งพิษณโุ ลก ๑๐ อำ� เภอวังทอง อ�ำเภอเนนิ มะปราง ๑๐ อ�ำเภอวดั โบสถ์ ๑๗ อ�ำเภอชาตติ ระการ ๒๑ อ�ำเภอนครไทย ๒๓ ๒๕ เทศกาลงานประเพณ ี ๒๙ สินคา้ พืน้ เมอื งและของท่รี ะลกึ กจิ กรรมทน่ี ่าสนใจ ๓๔ ๓๖ สามล้อทวั ร ์ ๓๗ ลอ่ งแกง่ เรอื ยาง จกั รยานท่องเทย่ี ว ๓๗ รถรางทอ่ งเทย่ี วเมอื งพิษณโุ ลก ๓๘ ล่องเรอื ชมแมน่ �้ำน่านนมัสการพระ ๙ วัด ๓๘ ๓๙ สนามกอล์ฟ ๓๙ ตวั อย่างโปรแกรมนำ�เทย่ี ว สิ่งอำ�นวยความสะดวกในจังหวดั พษิ ณุโลก ๓๙ ๓​ ๙ สถานทพ่ี ัก ๔๑ รา้ นอาหาร บรษิ ทั น�ำเทีย่ ว ๔๑ บริษัทรถเชา่ ๔๕ ๔๘ หมายเลขโทรศพั ท์สำ�คัญ ๔๙ ๔๙

โครงการพฒั นาปา ไม้ตามแนวพระราชด�าริ ภหู ินรอ่ งกลา้ พษิ ณุโลก พระพทุ ธชนิ ราชงามเลศิ ถิ่นกําเนดิ พระนเรศวร สองฝง นา นลวนเรือนแพ หวานฉาํ่ แทก ลว ยตาก ถํ้าและน้าํ ตกหลากตระการตา

พิษณุโลกเป็นเมืองใหญ่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ฐานะเปน็ เมอื งลกู หลวง เปน็ เมอื งหนา้ ดา่ นสา� คญั ทจ่ี ะ มากมายไปด้วยแหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ สกัดกั้นกองทัพพม่ายามศึกสงคราม เม่ือคร้ังสมเด็จ วัฒนธรรม และธรรมชาติของสายน้�าและป่าเขาที่ พระนเรศวรมหาราชด�ารงฐานะพระมหาอุปราช สวยงามน่าท่องเที่ยว อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ครองเมืองพิษณุโลก ขณะนั้นไทยตกเป็นเมืองขึ้น ๓๗๗ กิโลเมตร มีพื้นที่ ๑๐,๘๑๕ ตารางกิโลเมตร ของพม่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงรวบรวม ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและท่ีราบสลับกับ ชายฉกรรจ์ชาวพิษณุโลกกอบกู้อิสรภาพชาติไทยได้ ป่าไม้ทางด้านตะวันออก นอกนั้นเป็นที่ราบลุ่มอยู่ ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ โดยทั่วไป มีแม่น�้าส�าคัญคือแม่น้�าน่าน ซึ่งไหลผ่าน บรเิ วณตวั เมือง ในสมัยกรุงธนบุรี พิษณุโลกเป็นสถานท่ีต้ังม่ันรับศึก พมา่ เมอื่ ครง้ั กองทพั ของอะแซหวนุ่ กยี้ กทพั มาตเี มอื ง พิษณุโลกแบ่งการปกครองออกเป็น ๙ อ�าเภอ พษิ ณโุ ลก ใน พ.ศ. ๒๓๑๘ อะแซหวนุ่ กต้ี อ้ งเผชญิ การ คือ อ�าเภอเมืองพิษณุโลก อ�าเภอวังทอง อ�าเภอ ตอ่ สู้อยา่ งทรหดกับเจา้ พระยาจักรีและเจา้ พระยาสรุ พรหมพิราม อ�าเภอบางระก�า อ�าเภอบางกระทุ่ม สีห์ ถึงขนาดต้องขอดูตัว และได้ท�านายเจ้าพระยา อ�าเภอนครไทย อา� เภอวัดโบสถ์ อ�าเภอชาติตระการ จักรวี า่ ตอ่ ไปจะไดเ้ ป็นกษตั รยิ ์ และอา� เภอเนินมะปราง ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจุฬาโลกมหาราชมีพระราชด�าริให้ร้ือก�าแพงเมือง ประวตั ิศาสตร์ พิษณุโลก เพ่ือไม่ให้ข้าศึกใช้เป็นท่ีมั่น ครั้นถึง พ.ศ. ๒๔๓๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลักฐานการสร้างเมืองพิษณุโลกมีมาแต่ราวพุทธ โปรดเกลา้ ฯ ใหย้ กฐานะเมอื งพษิ ณโุ ลกขนึ้ เปน็ มณฑล ศตวรรษท ี่ ๑๕ สมัยอาณาจกั รขอมมอี า� นาจปกครอง เรียกว่า “มณฑลพิษณุโลก” ต่อมาเมื่อยกเลิกการ แถบถิ่นน้ ี แตเ่ ดิมมีพิษณุโลกมีชอื่ เรยี กว่า “เมอื งสอง ปกครองแบบมณฑลแล้ว พิษณุโลกจึงมีฐานะเป็น แคว” เน่ืองจากตั้งอยู่ระหว่างแม่น�้าน่านและแม่น้�า จงั หวดั เรื่อยมาจนปัจจบุ นั แควน้อย หรอื บริเวณท่ตี ้งั ของวดั จุฬามณใี นปัจจุบนั เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. ๑๙๐๐ สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา ลิไทแห่งกรุงสุโขทัย ได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองมา ตั้งอยู่ในบริเวณพ้ืนท่ีตัวเมืองในปัจจุบัน โดยมีฐานะ การเดินทาง เปน็ เมืองลกู หลวง รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (พหลโยธิน) ถึงวังน้อยแล้วแยกเข้าทางหลวง สมัยอยุธยา เมืองพิษณุโลกทวีความส�าคัญมากขึ้น หมายเลข ๓๒ (สายเอเชีย) ผ่านพระนครศรอี ยุธยา เพราะเป็นเมืองกึ่งกลางระหว่างกรุงศรีอยุธยาและ อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท เข้านครสวรรค์ แล้วใช้ อาณาจักรฝ่ายเหนือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ ตรงสู่พษิ ณุโลก รวมระยะ ทรงปฏิรูปการปกครองและเสด็จมาประทับที่เมือง ทาง ๓๗๗ กโิ ลเมตร เป็นเสน้ ทางท่สี ะดวกทีส่ ดุ นตี้ ง้ั แต่ พ.ศ. ๒๐๐๖ จนส้นิ รชั กาลใน พ.ศ. ๒๐๓๑ ช่วงน้ันพิษณุโลกเป็นราชธานีแทนกรุงศรีอยุธยาอยู่ หรือจากสิงห์บุรี ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๑ นานถงึ ๒๕ ป ี หลังรชั สมัยของพระองค์ พิษณโุ ลกมี (อินทร์บุรี-ตากฟ้า) จนถึงทางหลวงหมายเลข ๑๒ (พิษณุโลก-หล่มสัก) ที่เขตอ�าเภอวังทอง เล้ียวซ้าย พิษณโุ ลก 7

ชวี ติ ริมแม่น�า้ น่านของชาวเมอื งพิษณโุ ลก ไปอีก ๑๗ กิโลเมตร เข้าสู่พิษณุโลก รวมระยะทาง ประจา� ทางปรบั อากาศ ตดิ ตอ่ พษิ ณโุ ลกยานยนตท์ วั ร์ ๔๕๐ กิโลเมตร โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๒๙๒๔-๕, ๐ ๕๕๓๐ ๒๐๒๑ เชดิ ชัย ทวั ร์ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๐๐๔๓, ๐ ๕๕๒๑ ๑๙๒๒ และ หากใชเ้ สน้ ทางทผี่ า่ นเพชรบรู ณแ์ ละหลม่ สกั แยกซา้ ย วินทัวร์ โทร. ๐ ๒๙๓๖ ๓๗๕๓-๔, ๐ ๕๕๒๑ ๑๒๗๗ เขา้ ทางหลวงหมายเลข ๑๒ (หลม่ สกั -พษิ ณโุ ลก) ระยะ ทาง ๑๐๐ กโิ ลเมตร จะผา่ นแหล่งท่องเท่ยี วสองข้าง นอกจากน้ียังมีรถโดยสารประจ�าทางบริการระหว่าง ทางหลายแห่ง พิษณุโลกกับจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ อุตรดิตถ์ แพร ่ รถโดยสารประจ�าทาง จากสถานีขนส่งผู้โดยสาร ล�าปาง เชียงใหม่ สุโขทัย ตาก (แม่สอด) พิจิตร กรุงเทพ (จตจุ กั ร) ถนนกา� แพงเพชร ๒ มบี ริการรถ เพชรบูรณ์ และขอนแก่น ทุกวัน สอบถามที่สถานี โดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศไปยัง ขนสง่ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๒๗๑๔ พิษณุโลกตลอดวัน สอบถามรายละเอียดได้ท่ีบริษัท รถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทยจัดบริการรถด่วน ขนสง่ จา� กดั โทร. ๑๔๙๐ www.transport.co.th พิเศษ (สปรินเตอร์) รถเร็ว และรถธรรมดา จาก และทสี่ ถานขี นสง่ พษิ ณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๑๐๕๐ รถ กรุงเทพมหานคร ไปพิษณโุ ลกทกุ วัน สอบถามราย 8 พิษณุโลก

ละเอยี ดไดท้ ี่ โทร. ๑๖๙๐ www.railway.co.th หรอื ระยะทางจากอ�าเภอเมืองพิษณุโลกไป สถานีรถไฟพิษณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๐๐๕ อา� เภอต่าง ๆ เครื่องบิน มีเที่ยวบินระหว่างกรุงเทพฯ-พิษณุโลก อา� เภอบางระก�า ๑๗ กิโลเมตร ทุกวัน สอบถามรายละเอียดได้ที่บริษัทแอร์เอเชีย อา� เภอวังทอง ๑๗ กโิ ลเมตร จา� กดั โทร. ๐ ๒๕๑๕ ๙๙๙๙ www.airasia.com อา� เภอวัดโบสถ์ ๓๐ กิโลเมตร จ�ากัด โทร. บริษัท นกแอร์ จ�ากัด โทร. ๑๓๑๘ อ�าเภอบางกระทมุ่ ๓๕ กิโลเมตร www.nokair.co.th และมบี รกิ ารเทยี่ วบนิ เชยี งใหม-่ อ�าเภอพรหมพริ าม ๔๐ กโิ ลเมตร พิษณุโลกทุกวัน สอบถามรายละเอียดได้ที่บริษัท อา� เภอเนินมะปราง ๗๕ กิโลเมตร กานต์ แอรไ์ ลน์ จา� กัด โทร. ๐ ๒๕๕๑ ๖๑๑๑ www. อ�าเภอนครไทย ๙๗ กโิ ลเมตร kanairlines.com สนามบนิ พษิ ณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๓๐ อา� เภอชาตติ ระการ ๑๓๖ กิโลเมตร ๑๐๑๐ อทุ ยานแห่งชาตภิ หู นิ รอ่ งกลา้ พิษณโุ ลก 9

ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สถานที่ทน่ี ่าสนใจ สุวรรณภิงคารหลั่งน�้าในพระอิริยาบถประกาศ อิสรภาพท่ีเมืองแครง สร้างโดยกรมศิลปากร ศาล อ�าเภอเมอื งพิษณโุ ลก สมเด็จพระนเรศวรมหาราชต้ังอยู่ในโรงเรียน เสาหลักเมอื งพิษณโุ ลก ประดิษฐานอยู่ภายในศาลหลักเมือง ริมแม่น้�าน่าน พิษณุโลกพิทยาคม ติดกับเสาหลักเมือง ถัดเข้าไป ฝง่ั ตะวนั ตก ตรงขา้ มทวี่ า่ การอา� เภอเมอื งฯ ออกแบบ ตามถนนเลียบแม่น้�า แต่เดิมบริเวณโรงเรียนเคย อาคารโดยกรมศิลปากร เป็นทรงยอดปรางค์ เป็นพระราชวังจันทน์มาก่อน เมื่อเดือนมีนาคม เสาหลักเมืองท�าจากไม้มงคลหลายชนิด ได้แก่ จาก ๒๕๓๕ กรมศิลปากรได้ขุดค้นพบแนวเขตพระ โคนล�าต้นถึงลูกฟัก ท�าจากไม้ราชพฤกษ์ ท่อนลูก ราชฐานพระราชวังจันทน์ ซ่ึงเป็นสถานที่ประสูติ แกว้ ทอ่ นบนทา� จากไมช้ งิ ชนั สว่ นยอดบวั ตมู ประกอบ ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นับว่าเป็นการขุด ด้วยลูกแก้วท�าจากไม้สักทองตายพราย และได้น�า ค้นทางโบราณคดีและทางประวัติศาสตร์คร้ังส�าคัญ ไปเข้าพิธีพุทธาภิเษกที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ของจังหวดั กรงุ เทพมหานคร พระราชวงั จนั ทน์ ตงั้ อยภู่ ายในกา� แพงเมอื งพษิ ณโุ ลก ศาลสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เปน็ ศาลาทรงไทย ฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ า้� นา่ น ตรงขา้ มกบั วดั พระศรรี ตั น โบราณตรีมุข พระรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มหาธาตวุ รมหาวหิ าร สนั นษิ ฐานวา่ เคยเปน็ ทปี่ ระทบั ขนาดเท่าองค์จริงในท่าประทับ พระหัตถ์ทรงพระ ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชและพระมหากษตั รยิ ์ 10 พษิ ณุโลก

พระราชวังจนั ทน์ หลายพระองค์ กรมศิลปากรท�าการขุดแต่งและจัด วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร หรือวัดใหญ่ สภาพภูมิทัศน์ มีอาคารขอ้ มูล หอ้ งนทิ รรศการ เพื่อ หรือวัดพระศรี พระประธานองค์ใหญ่ท่ีประดิษฐาน ใหค้ วามร้เู กย่ี วกับสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีการ ในวิหารคือ “พระพทุ ธชินราช” ชาวเมอื งพิษณโุ ลกก็ ขดุ พบโบราณวตั ถชุ นิ้ สา� คญั และถอื เปน็ ชนิ้ พเิ ศษมาก นยิ มเรยี กกนั วา่ “หลวงพอ่ ใหญ”่ ตามไปดว้ ย วดั พระ คือ เครือ่ งถว้ ยจีน ซ่ึงท่กี ้นภาชนะมอี กั ษรจนี ๖ ตัว ศรรี ตั นมหาธาตนุ บั เปน็ พระอารามหลวงทส่ี า� คญั ของ อ่านว่า “ต้าหมิง ซวนเต๋อ เหนียนซื่อ” สันนิษฐาน จังหวัด เพราะเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวเมือง ว่าเป็นเคร่ืองถ้วยบรรณาการสมัยราชวงศ์หมิง สมัย และชาวไทยทงั้ ประเทศ ตง้ั อยทู่ ถ่ี นนพทุ ธบชู า ตา� บล จกั รพรรดซิ วนเตอ๋ ราว พ.ศ. ๑๙๖๙-๑๙๗๙ ซง่ึ ถอื วา่ ในเมอื ง รมิ แมน่ า�้ นา่ นฝง่ั ตะวนั ออก สรา้ งขนึ้ พรอ้ มกบั เป็นถ้วยบรรณาการท่ีมีลักษณะพิเศษ คือที่ก้นถ้วย การสร้างเมืองเม่อื พ.ศ. ๑๙๐๐ มักจะมีชื่อกษัตริย์ประทับอยู่ นอกจากนี้ยังค้นพบ ภายในวัดมีโบราณสถานโบราณวัตถุล้�าค่ามากมาย โบราณวัตถุอื่น ๆ เช่น ชิ้นส่วนเตาเชิงกราน ท่อน้�า เชน่ ดินเผา ตะเกียงดินเผา กระเบ้ืองมุงหลังคาท้ังแบบ พระพทุ ธชนิ ราช พระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั ขนาดใหญ่ แบนและแบบกาบกล้วย เคร่ืองถ้วยจากแหล่งเตา หลอ่ ด้วยทองสัมฤทธ์ ิ ขนาดหนา้ ตักกวา้ ง ๕ ศอก ๑ เมืองศรีสัชนาลัย ภาชนะสัมฤทธ์ิ นอกจากน้ียังพบ คืบ ๕ นว้ิ และสูง ๗ ศอก ได้รับการกลา่ วขานว่าเปน็ โบราณสถานส�าคญั เช่น สระสองหอ้ ง วัดวิหารทอง พระพุทธรูปท่ีมีพุทธลักษณะงดงามท่ีสุดในประเทศ วัดศรสี ุคต วดั จุฬามณี เส้นรอบนอกพระวรกายอ่อนช้อย พระขนงโก่ง พษิ ณโุ ลก 11

พระอฏั ฐารส ทีว่ ดั พระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวหิ าร พระเกตุมาลาเป็นเปลวเพลิง พระหัตถ์มีปลายน้ิว อยู่ในบุษบก สองข้างเป็นรูปชุมสายซึ่งเป็นเครื่องสูง ทั้งส่ีเสมอกัน ซ่ึงเป็นลักษณะพิเศษเรียกว่าทีฒงฺคุลี ชนิดหนงึ่ เป็นรูปฉัตรสามช้นั ใต้ฐานบุษบกมหี นมุ าน ซมุ้ เรอื นแกว้ ท�าดว้ ยไมแ้ กะสลกั สร้างในสมัยอยุธยา แบกฐานไว ้ สว่ นเชงิ ลา่ งของอกเลาทา� เปน็ รปู กมุ ภณั ฑ์ แกะสลักเป็นรูปมกร (ล�าตัวคล้ายมังกร มีงวงคล้าย ยนื ถอื กระบองทา่ สา� แดงฤทธ ์ิ สว่ นลวดลายบานประตู ช้าง) อยู่ตรงปลายซุ้ม และตัวเหรา (คล้ายจระเข้) เป็นลายกนกที่มีภาพสัตว์หิมพานต์ เช่น ราชสีห์ อยู่ตรงกลาง และมีเทพอสุราคอยปกป้ององค์พระ คชสีห์ เหมราช ครุฑ กินรีร�า และภาพสัตว์อื่น ๆ อยู ่ ๒ องค์ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลไิ ท) แหง่ และยังมีลาย “อีแปะ” ด้านละ ๙ วง มัดนกหูช้าง กรงุ สโุ ขทยั โปรดใหส้ รา้ งขน้ึ พรอ้ มกบั พระพทุ ธชนิ สหี ์ ประกอบช่องไฟระหวา่ งวงกลม หรือวงกลมเปน็ ลาย และพระศรศี าสดา กรยุ เชงิ มลี ายประจา� ยามกา้ มปปู ระดบั ขอบรอบบาน บานประตปู ระดบั มกุ อยทู่ ท่ี างเขา้ พระวหิ ารดา้ นหนา้ ประต ู เดมิ บานประตวู หิ ารพระพทุ ธชนิ ราชทา� ดว้ ยไม้ สร้างข้ึนเมอื่ พ.ศ. ๒๒๙๙ ฝมี อื ชา่ งหลวงสมยั อยุธยา สักแกะสลัก เมื่อท�าบานประตูประดับมุกเสร็จแล้ว ตอนปลาย ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม บานประตูเก่าได้น�าไปประดับประตูวิหารพระแท่น โกศ ตรงกลางประตูมีสันอกเลาประดับลวดลายพุ่ม ศิลาอาสน์ จงั หวัดอุตรดติ ถ์ ข้าวบิณฑ์ สองข้างเป็นลายกนกก้านแย่ง ช่วงกลาง พระเหลอื พระยาลไิ ทรบั สง่ั ใหช้ า่ งนา� เศษทองสมั ฤทธิ์ อกเลามีรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน เรียกว่า “นม ทเ่ี หลอื จากการสรา้ งพระพทุ ธชนิ ราช พระพทุ ธชนิ สหี ์ อกเลา” เป็นรูปบุษบก มีรูปพระอุณาโลมซ่ึงเป็น และพระศรีศาสดา มารวมกันหล่อพระพุทธรูปปาง สัญลักษณ์ของพระพุทธองค์ประดิษฐานบนบัลลังก์ มารวิชยั ขนาดเล็ก และพระสาวกยนื อกี ๒ องค ์ สว่ น 12 พิษณโุ ลก

วหิ ารพระเจา้ เขา้ นิพพาน หรอื วหิ ารแกลบ หรือวหิ ารหลวงสามพี่น้อง อฐิ ทก่ี อ่ เตาสา� หรบั หลอมทองไดน้ า� มารวมกนั บนฐาน ในสมัยเดียวกับพระพุทธชินราช ราว พ.ศ. ๑๘๐๐ ชกุ ช ี พรอ้ มกบั ปลกู ตน้ มหาโพธ ิ์ ๓ ตน้ บนชกุ ช ี เรยี กวา่ เดิมประดิษฐานอยู่ในวิหารใหญ่ แต่วิหารได้พังไป โพธสิ์ ามเสา้ ระหวา่ งตน้ โพธไิ์ ดส้ รา้ งวหิ ารนอ้ ยขน้ึ หนงึ่ จนหมด เหลือเพียงเสาท่ีก่อด้วยศิลาแลงขนาดใหญ ่ หลัง อัญเชิญพระเหลือกับพระสาวกไปประดิษฐาน ๓-๔ ตน้ เรยี กว่า “เนินวหิ ารเก้าหอ้ ง” อยดู่ ้านหลงั เรยี กว่า “วิหารพระเหลือ” วิหารพระพทุ ธชนิ ราช วหิ ารพระเจา้ เขา้ นพิ พาน หรอื วหิ ารแกลบ หรอื วหิ าร พระปรางค์ประธาน ศลิ ปะสมยั อยุธยาตอนตน้ ฐาน หลวงสามพ่นี อ้ ง ต้งั อยู่ทางดา้ นใต้ของพระวหิ ารพระ เหลีย่ มย่อมุมไมย้ ี่สบิ เดิมเป็นเจดยี ์ทรงพมุ่ ขา้ วบิณฑ์ ศรีศาสดาราม ภายในวิหารมีพระพุทธรูปนั่งขนาด แบบสุโขทัยแท้ ต่อมาถูกแปลงให้เป็นพระปรางค์ใน ใหญ่ บริเวณกลางพระวิหารมี “หีบปางพระเจ้าเข้า สมยั อยุธยา นิพพาน” เป็นหีบบรรจุพระบรมศพ ท�าด้วยศิลา ประดับด้วยลวดลายลงรักปิดกระจกสวยงาม โดย วัดพระศรรี ัตนมหาธาตวุ รมหาวิหารเปิดทกุ วัน เวลา ข้อพระบาทเลยออกมาเล็กน้อย ต้ังบนแท่นอันสลัก ๐๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๖๔๙, ๐ ๕๕๒๕ ลวดลายงดงาม รอบแท่นมีปัญจวัคคีย์ ก�าลังแสดง ๘๙๖๖ ส่วนพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระพุทธชิน ความทกุ ขอ์ าลยั พระองค ์ ซง่ึ นบั ไดว้ า่ เปน็ โบราณวตั ถุ ราช เปิดวนั พธุ -อาทิตย ์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๐๐ น. ปดิ ชนิ้ ส�าคญั ของวัดพระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร วนั จนั ทร ์ วันองั คาร และวันหยุดนกั ขตั ฤกษ ์ www. พระอัฏฐารส พระพุทธรูปยืนปางห้ามญาต ิ thailandmuseum.com ประดษิ ฐานอยู่ด้านหลังพระวหิ าร สงู ๑๘ ศอก สร้าง พษิ ณโุ ลก 13

วัดนางพญา วดั ราชบูรณะ ตงั้ อย่รู ิมแมน่ ้�านา่ นฝัง่ ตะวันออก ทาง ถงึ ความศักด์สิ ิทธ ิ์ ปจั จบุ ันหาไดย้ ากมาก มกี ็แต่ท่ีได้ ใต้ของวัดพระศรรี ัตนมหาธาต ุ พระอโุ บสถมีลักษณะ สร้างจ�าลองข้ึนภายหลัง มีการพบกรุพระเคร่ืองครั้ง พเิ ศษคอื ทชี่ ายคาตกแตง่ ดว้ ยนาค ๓ เศยี ร มลี กั ษณะ แรกใน พ.ศ. ๒๔๔๔ และครัง้ หลงั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๗ อ่อนช้อยงดงาม จากพระประธานซ่ึงเป็นศิลปะสมัย สุโขทยั ทา� ให้สันนิษฐานไดว้ า่ วดั นน้ี า่ จะสรา้ งในสมัย วัดเจดีย์ยอดทอง ตั้งอยู่นอกก�าแพงเมืองพิษณุโลก สุโขทัย ได้รับการบูรณะครั้งแรกในสมัยพระยาลิไท บนถนนพญาเสือ ซอย ๔ ทางเดียวกับวัดอรัญญิก จงึ กลายเปน็ ทม่ี าของชอื่ วดั ในปจั จบุ นั ภาพจติ รกรรม ปัจจุบันเหลือเพียงเจดีย์ทรงดอกบัวตูมท่ีเป็นศิลปะ ฝาผนงั ภายในโบสถเ์ ปน็ รปู รามเกยี รต ิ์ วาดขน้ึ ในสมยั สุโขทัยเพียงองค์เดียวท่ีพบในพิษณุโลก เจดีย์มีฐาน รชั กาลท ่ี ๔ สันนิษฐานว่าเป็นฝีมอื ชา่ งพนื้ บ้าน กวา้ งประมาณ ๙ เมตร สูง ๒๐ เมตร เฉพาะทีย่ อด วัดราชบูรณะตั้งอยู่ที่ถนนสิงหวัฒน์ บริเวณสะพาน ทรงดอกบัวตูมนั้น ไดเ้ หน็ รอยกะเทาะของปนู ท�าให้ นเรศวร ตรงขา้ มกับวดั นางพญา แลเห็นการเสริมยอดโดยการพอกปูนเพิ่มท่ียอด แหลมของดอกบวั วัดนางพญา ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับวัดราชบูรณะ ถัดไปทางทิศตะวันออก มีลักษณะสถาปัตยกรรม วัดจุฬามณี ตั้งอยู่ริมแม่น้�าน่านฝั่งตะวันออก ห่าง สมัยเดียวกับวัดราชบูรณะ ต่างกันท่ีวัดนางพญา จากตวั เมอื งพษิ ณโุ ลกไปทางใตต้ ามถนนบรมไตรโลก- ไม่มีพระอุโบสถ มีแต่วิหาร วัดน้ีมีชื่อเสียงในด้าน นารถ ระยะทาง ๕ กโิ ลเมตร เป็นโบราณสถานทีม่ มี า พระเคร่ือง เรียกว่า “พระนางพญา” ซ่ึงเล่าลือกัน ก่อนสมัยสุโขทัย เคยเป็นท่ีต้ังของเมืองสองแควเก่า 14 พิษณุโลก

ตามประวัตศิ าสตร์กล่าววา่ สมเด็จพระบรมไตรโลก- โปรดใหส้ รา้ งขนึ้ แผน่ จารกึ หนา้ มณฑปมใี จความสรปุ นาถ ทรงสร้างพระวิหารและเสด็จออกผนวชที่วัดน้ี ไดว้ า่ เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๒๑ สมเด็จพระนารายณม์ หาราช เม่ือ พ.ศ. ๒๐๐๗ เป็นเวลา ๘ เดอื น ๑๕ วัน โดยมี มพี ระบรมราชโองการใหใ้ ชผ้ า้ ทาบรอยพระพทุ ธบาท ข้าราชบริพารออกบวชตามเสด็จถึง ๒,๓๔๘ รูป มี สลักลงบนแผ่นหิน พระราชทานไว้เป็นที่กราบไหว้ โบราณสถานส�าคัญคือ ปรางค์แบบขอมขนาดย่อม ของฝงู ชน ฐานกว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๑๘ เมตร ก่อด้วยศิลา แลง ด้านหน้าก่อเป็นแบบตรีมุข ต้ังบนฐานสูงซ้อน กา� แพงเมือง คเู มอื ง เดิมเปน็ กา� แพงดินเชน่ เดียวกบั กันสามชั้น แต่ละช้ันย่อมุมไม้ย่ีสิบ มีปูนปั้นประดับ กา� แพงเมืองสุโขทัย คาดวา่ สรา้ งขึน้ ในรัชกาลสมเด็จ ลวดลายตามข้ัน ตอนล่างแถบหน้ากระดานและบัว พระบรมไตรโลกนาถ เพือ่ เตรยี มรับศกึ พระเจ้าตโิ ลก หนา้ กระดานเปน็ ลายหงส ์ เหมอื นกบั องคป์ รางคท์ วี่ ดั ราชแหง่ อาณาจกั รลา้ นนา สมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ พระศรีรตั นมหาธาต ุ จงั หวดั ลพบรุ ี สมัยท่ียังสมบรู ณ์ โปรดใหซ้ อ่ มแซมกา� แพงเมอื งอกี ครง้ั เพอ่ื เตรยี มรบั ศกึ อยู่มีก�าแพงแก้วล้อมรอบ ใกล้เคียงกันมีมณฑป พม่า ครั้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรง พระพทุ ธบาทจา� ลองซง่ึ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช ใหช้ า่ งฝร่ังเศสสรา้ งกา� แพงใหม ่ โดยกอ่ อิฐให้แข็งแรง วดั จฬุ ามณี พิษณโุ ลก 15

ยิ่งข้ึน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา นอกจากนย้ี งั เปน็ สถานทรี่ วบรวมนกในวรรณคดไี ทย โลกมหาราช โปรดใหร้ ื้อก�าแพงเมืองและปอ้ มตา่ ง ๆ เช่น นกขม้ิน นกโพระดก นกกาเหว่า นกสาลิกาเขียว เสีย เพ่ือไมใ่ ห้พมา่ ซ่ึงรุกรานไทยยดึ เป็นทีม่ นั่ กา� แพง และนกขนุ แผน เพอื่ จดั แสดงใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วชม และ เมอื งทเ่ี หน็ ไดช้ ดั เจนในขณะนคี้ อื บรเิ วณวดั โพธญิ าณ ยงั มนี กไทยอกี นบั รอ้ ยชนดิ ทจ่ี ดั ใหช้ มและศกึ ษาอยา่ ง วดั นอ้ ย และบรเิ วณสถานตี า� รวจภธู รจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ใกลช้ ดิ เชน่ นกแกว้ นกการะเวก นกกระรางคอดา� นก คเู มอื งพบเห็นได้ตามแนวทขี่ นานกบั ถนนพระร่วง กระรางหัวหงอก นกกางเขนดง เปน็ ตน้ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นจา่ ทวี (จา่ สบิ เอกทว-ี พมิ พ์ บรู ณ สวนนกไทยศึกษา เลขที ่ ๒๖/๔๓ ถนนวิสุทธิ์กษัตริย์ เขตต์) เป็นที่เก็บรวบรวมข้าวของเครื่องใช้พ้ืนบ้าน ต�าบลในเมอื ง เปดิ ทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๗.๐๐ น. ซึ่งเป็นเครื่องมือท�ามาหากินของชาวบ้านในอดีต ค่าเขา้ ชม ผ้ใู หญ่ ๕๐ บาท เด็ก ๒๐ บาท โทร. ๐ ต้ังแต่ชิ้นเล็ก ๆ จนถึงชิ้นใหญ่ เช่น เครื่องจักสาน ๕๕๒๑ ๒๕๔๐ เคร่ืองปั้นดินเผา เครื่องใช้ในครัวเรือน เคร่ืองใช้ใน หอศลิ ปและวัฒนธรรมมหาวทิ ยาลัยนเรศวร จัดตัง้ การประกอบอาชีพ เครอ่ื งวดิ นา้� ด้วยมือ เครอ่ื งสขี ้าว ข้ึนเพื่อเผยแพร่และท�านุบ�ารุงศิลปวัฒนธรรมของ เครื่องมือดักจับสัตว์ รวมกันแล้วนับหม่ืนชิ้น จนได้ ชาติ ภายในจัดแสดงผลงานศิลปกว่าร้อยชิ้นของ รับการยอมรับว่าเป็นขุมทรัพย์ทางประวัติศาสตร์ ศิลปินที่มีช่ือเสียงของไทย เช่น สวัสดิ์ ตันติสุข พูน และภูมิปัญญาไทย และได้รับรางวัลยอดเย่ียม เกษจา� รสั ประยรู อลุ ชุ าฎะ ศลิ ปนิ แหง่ ชาตสิ าขาทศั น อุตสาหกรรมท่องเท่ียวไทย ประเภทหน่วยงานส่ง ศลิ ป ์ ประเทือง เอมเจริญ และชวลิต เสรมิ ปรงุ สขุ เสรมิ และพฒั นาการท่องเที่ยว เม่อื พ.ศ. ๒๕๔๑ ภายในยังจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับวิถีชุมชนภาค พิพิธภัณฑ์ต้ังอยู่ท่ีบ้านเลขที่ ๒๖/๑๓๘ ถนนวิสุทธิ เหนอื ตอนลา่ ง จัดแสดงเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เคร่อื งมอื กษัตริย์ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันจันทร์ เวลา ท�ามาหากินตา่ ง ๆ ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๗๔๙, ๐ ๕๕๒๕ ๘๗๑๕, ๐ ๕๕๓๐ ๑๖๖๘ อัตราคา่ เขา้ ชม ผ้ใู หญ่ ๕๐ หอศิลปและวัฒธรรมมหาวิทยาลัยนเรศวรตั้งอยู่ใน บาท เด็ก ๒๐ บาท พระภกิ ษ ุ นักบวช ไมเ่ สยี คา่ เขา้ บรเิ วณศนู ย์วทิ ยบรกิ าร มหาวิทยาลยั นเรศวร (สว่ น ชม ชาวต่างชาติ ๑๐๐ บาท ตรงขา้ มกบั พพิ ิธภัณฑ์ สนามบิน) ถนนสนามบิน ริมทางหลวงหมายเลข เป็นโรงหล่อพระบูรณะไทย ติดต่อเข้าชมการหล่อ ๑๐๖๑ อ�าเภอเมืองพิษณุโลก เปิดให้เข้าชมทุกวัน พระล่วงหน้า โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๑๖๖๘ ไม่เว้นวันหยุด เวลา ๐๙.๐๐-๑๘.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๐๗๒๐ สวนนกไทยศึกษา เป็นแหล่งอนุรักษ์เรียนรู้นกท่ี พบในเมืองไทย บางชนดิ เปน็ นกหายากใกล้สูญพนั ธ์ุ เช่น นกเงือกชนหิน หน้าตาคล้ายสัตว์ดึกด�าบรรพ์ พิพิธภัณฑ์ผ้ามหาวิทยาลัยนเรศวร (ทุ่งหนองอ้อ) คอเปลือย ไม่มีขน ผมบนหัวทรงพังก์ สะดุดตา พิพิธภัณฑ์ผ้า จัดแสดงท่ีช้ันสองของอาคาร บางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น นกเปล้าหน้าแดง อเนกประสงคใ์ นมหาวิทยาลยั นเรศวร ประกอบดว้ ย ท่มี ีความสวยงาม หอ้ งจดั แสดงนทิ รรศการตา่ ง ๆ จดั แสดงผา้ ผลติ ภณั ฑ์ 16 พษิ ณโุ ลก

พพิ ิธภณั ฑพ์ น้ื บ้านจ่าทวี (จ่าสบิ เอกทวี-พมิ พ์ บรู ณเขตต์) จากผ้าที่น�ามาจากแหล่งต่าง ๆ ของไทยและต่าง สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ ๕๕๒๖ ๑๐๐๐-๔ ต่อ ประเทศ มีบริการข่าวสารและข้อมูลเก่ียวกับการ ๑๒๑๘, ๑๑๔๘ หรือ www.mscs.nu.ac.th วิจัยและเอกสารเกี่ยวกับการผลิต การศึกษาเรื่อง ผ้าประเภทต่าง ๆ รวมทงั้ จัดแสดงชุดฉลองพระองค์ อา� เภอวังทอง ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ซึ่ง วดั ราชครี หี ริ ญั ยาราม (วดั เขาสมอแคลง) ตงั้ อยบู่ น พระราชทานแก่มหาวิทยาลัยนเรศวร เขาสมอแคลง บ้านสมอแคลง เดิมเปน็ วดั ร้าง มพี ระ สงฆม์ าจา� พรรษาเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๙๖ บนเขาสมอแคลงมี พิพิธภัณฑ์ชีวิต จัดแสดงวิถีชีวิตของคนไทยด้าน สระนา�้ เรยี กวา่ สระสองพนี่ อ้ ง มนี า้� ตลอดป ี ในบรเิ วณ การทอผ้าฝ้าย ที่มีกระบวนการผลิตผ้าต้ังแต่การ วัดมีรอยพระพุทธบาทจา� ลอง และบนเขาดา้ นตะวัน ปลูกฝ้าย หม่อน จนกระท่ังถึงการทอผ้าท่ีมีทั้งการ ตกของวัดมีรอยพระบาทตะแคงอยู่กับหน้าผา ซ่ึงมี ทอขั้นพ้ืนฐานและการทอขั้นสูง ในวันเสาร์-อาทิตย์ งานนมสั การพระพทุ ธบาทในชว่ งกลางเดอื น ๓ เป็น มสี าธติ ทอผ้า ประจา� ทุกปี การเดินทาง พิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ภายในมหาวิทยาลัย นเรศวร (ทงุ่ หนองอ้อ) รมิ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๗ เม่อื ประมาณต้นป ี พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดม้ กี ารอัญเชญิ พระ ระหว่างกิโลเมตรที่ ๑๑๘-๑๑๙ เปิดให้เข้าชมทุก โพธิสัตว์กวนอิม ซึ่งแกะสลักจากหินทะเลสาบหยก วัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. โดยมีเจา้ หน้าท่นี �าชม ขาวจากเมอื งหางโจว สาธารณรัฐประชาชนจนี เป็น พิษณุโลก 17

วัดราชคีรีหิรญั ยาราม (วดั เขาสมอแคลง) ปางพเิ ศษทไี่ ดร้ บั อนมุ ตั ใิ หส้ รา้ งโดยรฐั บาลจนี โดยใช้ น�้าตกวังนกแอน่ (สวนรุกขชาตสิ กโุ ณทยาน) เปน็ ตน้ แบบจากวดั เจา้ แมก่ วนอมิ เมอื งหางโจว มขี นาดสงู นา�้ ตกขนาดกลาง สงู ประมาณ ๑๐ เมตร มตี น้ กา� เนดิ มา ๓ เมตร น้�าหนัก ๓ ตนั มาประดิษฐาน ณ วดั แห่งน้ี จากลา� นา�้ เขก็ บรเิ วณทว่ั ไปรม่ รนื่ ดว้ ยพรรณไมต้ า่ ง ๆ ถัดจากเจ้าแม่กวนอิมขึ้นไปบนเขาจะมีทางแยกไป มีป้ายช่ือและลักษณะของต้นไม้ก�ากับไว้ ด้านทิศ ศาลเจ้าเห้งเจีย ซ่ึงชาวไทยเชื้อสายจีนกราบไหว้ ตะวันตกมีพลับพลา สร้างขึ้นเพ่ือรับเสด็จพระบาท ท�าบุญเป็นประจ�า และถัดจากศาลเจ้าเห้งเจียข้ึนไป สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี ๙ และสมเด็จ อีกจะเป็นจุดชมวิวสูงสุด เป็นท่ีตั้งของพระมหาธาตุ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ คราวเสด็จ เจดีย์ศรีบวรชินรัตน์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วน ประพาสภาคเหนือ เมอื่ วนั ท ่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๐๑ พระนลาฏ (กระดูกหน้าผาก) ของพระพุทธเจ้า เจดีย์ ด้านทิศตะวันออกมีศาลาริมน้�า เป็นที่ประทับทอด มีลักษณะเป็นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ที่ฐานประดิษฐาน พระเนตรทิวทัศน์สองฝั่งล�าน�้าวังทอง ก่อนถึงตัว พระพุทธลีลามหาธรรมราชาลิไททั้ง ๔ ด้าน นา�้ ตก ๑๗๐ เมตร มีปา้ ยบอกทางเลย้ี วขวาไปยังแก่ง การเดินทาง จากตัวเมืองพิษณุโลกไปตามทางหลวง ไทร ซง่ึ เปน็ แกง่ หนิ คน่ั กลางลา� นา�้ เปน็ ขน้ั ๆ เหมาะแก่ หมายเลข ๑๒ (พิษณุโลก-หล่มสัก) ระยะทาง ๑๔ การพักผ่อนหยอ่ นใจ กโิ ลเมตร (กอ่ นถึงอา� เภอวังทอง ๓ กโิ ลเมตร) มีทาง การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๒ (พษิ ณโุ ลก- แยกซา้ ยไปอกี ๕๐๐ เมตร สอบถามรายละเอยี ด โทร. หล่มสกั ) ถึงบริเวณกิโลเมตร ๓๓ แล้วแยกขวาไปอกี ๐ ๕๕๓๑ ๑๓๑๕ ๕๐๐ เมตร 18 พิษณุโลก

น�้าตกแก่งซอง มีขนาดใหญ่กว่าน้�าตกวังนกแอ่น มี มีกิจกรรมปั่นจักรยานศึกษาธรรมชาติ โดยมีส่วน บริเวณสวนและรา้ นคา้ อย่รู มิ นา้� ตก รว่ มกบั กลมุ่ สมาชกิ หมบู่ า้ นปา่ ไมแ้ ละชมุ ชนใกลเ้ คยี ง การเดนิ ทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๒ (พษิ ณโุ ลก- มีบริการอาหารและเครื่องดื่ม กิจกรรมล่องแก่ง หลม่ สกั ) หลกั กโิ ลเมตรท ี่ ๔๕ นา้� ตกตงั้ อยดู่ า้ นขวามอื และนวดแผนโบราณ ส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์ จากผลิตผลจากสวนป่าและการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ น้า� ตกปอยและสวนปา่ เขากระยาง อยู่ในความดแู ล โดยชุมชนท้องถ่ินอย่างเหมาะสม ได้รับรางวัล ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) เป็นน�้าตก อุตสาหกรรมท่องเท่ียว ปี ๒๕๕๑ รางวัลดีเด่น ขนาดใหญ่ มีทัศนียภาพสวยงาม สภาพโดยรอบ ประเภทองคก์ รสนับสนุนและสง่ เสริมการทอ่ งเท่ยี ว ร่มรื่น เหมาะเป็นท่ีพักผ่อนหย่อนใจ และในบริเวณ การเดนิ ทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๒ (พษิ ณโุ ลก- สวนป่ายังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติส�าหรับผู้ท่ีสนใจ หล่มสัก) ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ ๕๙-๖๐ มีทาง มบี รกิ ารบา้ นพัก หอ้ งสัมมนา สถานทจี่ ัดคา่ ยพกั แรม แยกขวามือเข้าไปอีก ๒ กิโลเมตร น้�าตกปอยต้ังอยู่ ในบรเิ วณสวนปา่ เขากระยาง น�้าตกวงั นกแอ่น (สวนรกุ ขชาตสิ กุโณทยาน) พษิ ณโุ ลก 19

อุทยานแหง่ ชาตทิ ุ่งแสลงหลวง 20 พิษณโุ ลก

นา�้ ตกแกง่ โสภา เป็นน�้าตกขนาดใหญ ่ มีความสงู ราว จนถึงตลาดพัฒนา เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข ๔๐ เมตร สภาพโดยรอบรม่ รืน่ ตอนบนเป็นแผน่ หนิ ๒๓๒๕ จนถึงบ้านทานตะวัน มีทางไปหน่วยพิทักษ ์ เรียบ ส่วนตอนล่างเป็นโขดหินใหญ่ ในฤดูน้�าหลาก อทุ ยานฯ หนองแมน่ า อีก ๓ กิโลเมตร รวมระยะทาง สายน้�าจะไหลเช่ียวกราก ในฤดูแล้งน้�าน้อย แลเห็น จากบ้านแคมป์สน ๓๕ กิโลเมตร น�้าตกไหลลดหล่ันเป็น ๓ ชั้น เป็นส่วนหนึ่งของ รถโดยสาร จากสถานีขนส่งพิษณุโลกโดยสารรถ อทุ ยานแหง่ ชาติทุง่ แสลงหลวง ประจา� ทางสายพษิ ณโุ ลก-หลม่ สกั ลงรถทบ่ี า้ นแคมป์ การเดนิ ทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑๒ (พิษณโุ ลก- สน กโิ ลเมตรที ่ ๑๐๐ จากน้ันจา้ งเหมารถสองแถวท่ี หลม่ สัก) บริเวณกโิ ลเมตรท ี่ ๗๑-๗๒ มที างแยกขวา ปากทางแคมปส์ นไปยงั หน่วยฯ หนองแม่นา หรอื เชา่ เขา้ ไป ๒ กิโลเมตร เปิดเวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. รถสองแถวจากบรษิ ทั รถเชา่ ในพษิ ณโุ ลกไปยงั หนว่ ยฯ หนองแมน่ าเลยก็ได้ อทุ ยานแหง่ ชาตทิ งุ่ แสลงหลวง มพี นื้ ท ี่ ๗๘๙,๐๐๐ ไร่ ครอบคลุมพ้ืนที่จังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ์ หมู่บ้านม้งเข็กนอ้ ย เปน็ หมู่บ้านชาวไทยภเู ขาเผา่ ม้ง ประกาศเปน็ อทุ ยานแหง่ ชาต ิ เมอื่ วนั ท ่ี ๒๗ พฤษภาคม เหมาะกับผู้สนใจวิถีชีวิตของชาวม้ง เลือกซื้อผลิต ๒๕๑๘ สภาพภูมิประเทศเป็นภูเขาน้อยใหญ่สลับ ภัณฑ์ม้ง โดยเฉพาะเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะ ซับซ้อน เป็นต้นน้�าล�าธารหลายสายที่ไหลลงสู ่ มีการจดั งานประเพณปี ใี หม่มง้ ซง่ึ ชาวม้งแตง่ ตวั ด้วย แม่น�้าน่าน นักท่องเท่ียวสามารถท่องเท่ียวตาม เคร่ืองแต่งกายประจ�าเผ่าท่ีสวยงาม เพื่อประกอบ เส้นเดินทางศึกษาธรรมชาติ ใช้บริการที่พักและกาง กิจกรรมในท้องถิ่นต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจตลอดช่วงเวลา เต็นทเ์ พ่ือพักแรม ดังกลา่ ว สอบถามขอ้ มูลเพ่ิมเติมไดท้ ่ีองคก์ ารบรหิ าร แหล่งท่องเที่ยวในเขตอุทยานฯ ได้แก่ น้�าตกแก่ง ส่วนต�าบลเข็กน้อย โทร. ๐ ๕๖๙๒ ๕๕๗๖ การแสดง โสภา สว่ นพนื้ ทท่ี างดา้ นตะวนั ออกและตอนกลางของ ทางวัฒนธรรมเปดิ ทุกวันเสาร์-อาทติ ย์ อทุ ยานฯ ในอา� เภอเขาคอ้ จงั หวดั เพชรบรู ณ ์ เปน็ บรเิ วณ ป่าสนและทุ่งหญ้าสะวันนา ได้แก่ ทุ่งแสลงหลวง อ�าเภอเนนิ มะปราง ทงุ่ นางพญา ทงุ่ โนนสน ซงึ่ นกั ทอ่ งเทย่ี วนยิ มไปเดนิ ปา่ ถ�้าเดือน-ถ�้าดาว เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเขตอุทยาน และกางเต็นท์พักแรม สามารถติดต่อได้ท่ีหน่วย แห่งชาติทุ่งแสลงหลวง ทางด้านทิศตะวันตก ใน พิทกั ษ์อทุ ยานฯ สล. ๘ (หนองแมน่ า) ความดแู ลของหนว่ ยพทิ กั ษอ์ ทุ ยานฯ สล. ๖ (บา้ นมงุ ) การเดินทาง ที่ท�าการอุทยานแหง่ ชาตทิ ่งุ แสลงหลวง มีลักษณะเป็นถ้�าน�้าลอด ทางขึ้นปากถ�้าเป็นธารน�้า ตั้งอยู่ในช่วงหลักกิโลเมตรท่ี ๗๙-๘๐ ของเส้นทาง ไหลผา่ นโขดหนิ นอ้ ยใหญ่ซ่งึ ตอ้ งปีนปา่ ยข้ึนไป ในถ้า� พิษณุโลก-หล่มสัก สอบถามรายละเอียด โทร. ๐ มีลักษณะคล้ายห้องโถงท่ีมีธารน้�าไหล มีความยาว ๒๕๖๒ ๐๗๖๐, ๐ ๕๕๒๖ ๘๐๑๙ www.dnp.go.th ๑.๔ กิโลเมตร สวยงามด้วยหินงอกหินย้อย ช่วงท่ี การเดนิ ทางไปหน่วยฯ หนองแม่นา เหมาะแก่การชมถ�้าคือ ในฤดูแลง้ และตอ้ งนา� ไฟฉาย รถส่วนบุคคล จากบ้านแคมป์สน กิโลเมตรที่ ๑๐๐ ตดิ ตวั ไปดว้ ย ฤดฝู นไมเ่ หมาะแกก่ ารเทย่ี วชม เนอื่ งจาก ทางหลวงหมายเลข ๑๒ (พิษณุโลก-หล่มสัก) แยก ปริมาณนา้� มากและอนั ตราย ไปตามทางหลวงหมายเลข ๒๑๙๖ (ทางไปเขาค้อ) พษิ ณโุ ลก 21

ถ�้าลอด เขตห้ามล่าสัตวป์ าถ้า� ผาท่าพล การเดินทาง จากตัวเมืองใช้ทางหลวงหมายเลข รูปเกือกม้า หินปูนบริเวณน้ีส่วนมากเกิดจากการ ๑๒ (พิษณุโลก-วังทอง) แยกขวาเข้าทางหลวง ทับถมของเปลือกหอย พลับพลงึ ทะเล หรือปะการงั หมายเลข ๑๑ ทางไปอ�าเภอสากเหล็ก แล้วเล้ียว มีการตกตะกอนทางเคมีอยู่น้อยมาก จากการศึกษา ซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข ๑๑๑๕ ไปยังตัวอ�าเภอ และจา� แนกซากดกึ ดา� บรรพ์ท�าใหท้ ราบวา่ บริเวณน้ี เนินมะปราง และเดินทางต่ออีก ๖ กิโลเมตรถึง เคยเปน็ ทะเลมากอ่ น บริเวณถ้�า รวมระยะทางห่างจากตัวเมืองพิษณุโลก ๘๕ กโิ ลเมตร ยอดสูงสดุ ของภเู ขาราว ๒๓๖ เมตร มหี น้าผาสูงชนั เวา้ แหวง่ อนั เกดิ จากการกดั เซาะของนา้� ฝนนบั หลาย ลา้ นปี เกดิ เปน็ ถา�้ ตา่ ง ๆ มากมายทั่วบริเวณ ถ้�าท่นี ่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ�้าผาท่าพล ครอบคลุมเน้ือท ี่ สนใจ ไดแ้ ก่ ๑,๗๗๕ ไร่ ลักษณะเป็นเขาหินปูนอยู่ในยุคพาลีโอ ถ�้านเรศวร ภายในมีหินย้อยรูปทรงคล้ายพระมาลา ซนี (Palaeocene) และอยใู่ นยคุ ยอ่ ยคารบ์ อนเิ ฟอรสั เบย่ี งของพระนเรศวร จงึ เป็นทมี่ าของชอ่ื ถ�้า เหมาะ (Carboniferus) มอี ายรุ าว ๓๖๐-๒๘๖ ลา้ นปมี าแลว้ ส�าหรับนักผจญภัย ทางเข้าไปยังห้องโถงค่อนข้าง เปน็ ภเู ขาหินปูนลกู โต หนา้ ผาสูงชัน มลี กั ษณะคล้าย ล�าบาก เนื่องจากต้องคกุ เขา่ คลานเข้าไปทลี ะคน ไม่ 22 พิษณุโลก

ควรเขา้ ไปเกนิ ๑๐ คน อาจจะเปน็ อนั ตรายได ้ เพราะ นเ้ี คยเปน็ ทางเดนิ ทพั ของทหารญปี่ นุ่ สมยั สงครามโลก อากาศไม่เพยี งพอ ครัง้ ท่ ี ๒ ถ้�าเรือ ภายในพบรูปคล้ายเรือคว่�าอยู่บนเพดานถ้�า การเดินทาง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ�้าผาท่าพลห่าง เกิดจากการท่ีน้�าท่วมซ้�าแล้วซ้�าเล่า ท�าให้ผนังถ�้าถูก จากตัวเมืองพิษณุโลก ๘๕ กิโลเมตร จากตัวเมือง กัดเซาะและเกิดการละลาย จนดูคล้ายรูปเรือคว�่า พิษณุโลกไปตามทางหลวงหมายเลข ๑๒ ถึงอ�าเภอ ในท่ีสุด ในฤดูแล้งระดับน�้าห้วยที่ไหลลอดผ่านถ้�ามี วงั ทอง ระยะทาง ๒๐ กโิ ลเมตร แยกขวาไปยงั อา� เภอ ปริมาณลดลง สามารถเดินเที่ยวชมความงามของ สากเหลก็ อกี ๓๘ กโิ ลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข ถ้�าไดส้ ะดวก ๑๑ แล้วแยกซา้ ยเขา้ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๑๕ อีก ถา้� ผาแดง อาจเปน็ เพราะบนหนา้ ผาเหนอื ปากถา้� มีสี ๑๗ กิโลเมตร ถึงโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา แดงเคลอื บอยู่ จงึ เป็นทีม่ าของชือ่ ถา�้ ในอดตี เคยเปน็ กอ่ นถงึ ตวั อา� เภอ ๒ กโิ ลเมตร มแี ยกขวาไปถา้� ผาทา่ พล ที่อยู่ของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ จากการส�ารวจ อีก ๑๐ กโิ ลเมตร บางช่วงเป็นทางลูกรงั พบเศษภาชนะดนิ เผา ตกแตง่ ดว้ ยลายเชอื กทาบและ สะเกด็ หนิ กองไว้บนพ้นื ถ้า� ในปัจจุบันโครงสรา้ งของ อ�าเภอวัดโบสถ์ ถ�้ามีความเหมาะสม จึงเป็นท่ีอยู่อาศัยของค้างคาว อุทยานแห่งชาติแก่งเจ็ดแคว ครอบคลุมพื้นท่ีป่า ๒ ชนิด คือ ค้างคาวปากย่นและค้างคาวปกี ถงุ เครา เขาในเขต ๔ อ�าเภอของพิษณโุ ลก คอื อ�าเภอวงั ทอง ด�า เป็นค้างคาวกินแมลงที่ช่วยก�าจัดศัตรูพืชให้กับ วดั โบสถ์ นครไทย และชาติตระการ เปน็ แหล่งตน้ น�า้ เกษตรกร หลายสายทไี่ หลลงสลู่ า� นา�้ แควนอ้ ย แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วท่ี ถ�้าลอด เกิดจากน้�ากัดเซาะเป็นล�าน้�าทะลุภูเขา มี นา่ สนใจในเขตอุทยานฯ คือ น้�าตกแกง่ เจ็ดแคว อนั น้�าไหลผ่านตลอดท้ังปี สามารถเดินข้ามไปอีกฟาก เป็นที่รวมของธารน�้าสายย่อย ๆ จา� นวน ๗ สาย มี หนึง่ ได ้ ทางเดินสะดวกสบายในฤดแู ลง้ แตค่ อ่ นขา้ ง ลกั ษณะเป็นลานหินกวา้ งประมาณ ๒๐๐ เมตร อยู่ ล�าบากในฤดูฝน ด้านในถ้�ากว้างขวาง อากาศเย็น กลางล�าน้�าแควน้อย มีสันดอนเป็นพื้นท่ีป่าอยู่ตรง สบาย อีกด้านหนึ่งเป็นที่ต้ังของวัดและส�านักสงฆ ์ กลาง ท�าให้ล�าน้�าแควน้อยแยกออกเป็น ๗ สาย และยงั เปน็ ทอี่ ยู่ของลิงจ�านวนมาก สนั ดอนกลางนา้� มพี ้ืนทปี่ ระมาณ ๕๐ ไร่ สามารถจัด นอกจากนี้ยังมีสิ่งท่ีน่าสนใจอื่น ๆ ได้แก่ ซาก เปน็ พ้ืนทตี่ ง้ั แคมปพ์ กั แรม มนี า�้ ไหลตลอดปี ดึกด�าบรรพ์ เมื่อประมาณ ๓๖๐ ล้านปีล่วงมาแล้ว การเดินทาง จากพิษณุโลก ใช้ทางหลวงหมายเลข บริเวณน้ีเคยเป็นทะเล มีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่มากมาย ๑๑ (พิษณุโลก-อุตรดิตถ)์ แยกขวาไปอา� เภอวัดโบสถ ์ เช่น ปะการัง หอยสองฝาไม่เท่ากัน จ�าพวกหอย ประมาณ ๒๖ กิโลเมตร ก่อนขึ้นสะพานข้ามแม่น้�า ตะเกียงยักษ ์ พลับพลึงทะเล สาหร่ายทะเล สิ่งมีชีวิต แควน้อย มีทางแยกขวาเข้าทางหลวงหมายเลข เหล่าน้ีเม่ือตายลง บางส่วนจะผุพังสลายตัวไปตาม ๑๒๙๖ ระยะทาง ๓๑ กโิ ลเมตร และแยกขวาทางเขา้ ธรรมชาติ บางส่วนจะถูกเกบ็ รักษาไวใ้ นชน้ั หินกลาย เขือ่ นแควน้อยบ�ารงุ แดนต่อไปอีก ๑๒ กโิ ลเมตร ถงึ เป็นซากดึกดา� บรรพป์ รากฏให้เหน็ จนถึงปจั จบุ ันนี้ ปา้ ยทางเขา้ อทุ ยานฯ เขา้ ไปอกี ๓ กโิ ลเมตร สอบถาม อกั ษรญป่ี นุ่ ตวั อกั ษรปรศิ นาทสี่ ลกั ไวบ้ นกอ้ นหนิ บาง รายละเอยี ดเพ่ิมเติม โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๒๓๔๘ ตวั มคี วามหมายวา่ “ถกู ตอ้ ง” ชาวบา้ นเชอ่ื วา่ บรเิ วณ พษิ ณโุ ลก 23

นา้� ตกชาตติ ระการ 24 พิษณโุ ลก

เข่ือนแควน้อยบ�ารุงแดน เป็นเข่ือนอเนกประสงค์ กล้วยไม ้ และยงั เปน็ แหลง่ ค้นพบปูพันธใ์ุ หม ่ ที่เรยี ก ขนาดใหญ่ของกรมชลประทาน สร้างกั้นแม่น้�าแคว ว่า “ปูแป้ง” หรือปูสองแคว ซึ่งพบเฉพาะในฤดูฝน น้อยตามโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�าริ ตั้ง เหมาะแก่การทอ่ งเที่ยวทัศนศกึ ษาเชงิ นเิ วศ ระหวา่ ง อยู่ท่ีบ้านหินลาด ต�าบลคันโช้ง ห่างจากตัวจังหวัด เดอื นพฤษภาคม-ธนั วาคม ประมาณ ๗๐ กิโลเมตร เป็นเข่ือนหินท้ิง เขื่อนดิน การเดินทาง จากพิษณุโลกใช้ทางหลวงหมายเลข และเข่อื นแกนดนิ เหนียว สามารถเก็บกักน้�าได ้ ๗๖๙ ๑๒ ระยะทาง ๖ กิโลเมตร แยกซ้ายเข้าทางหลวง ล้านลกู บาศกเ์ มตร ประกอบด้วย ๓ เขอ่ื นตดิ ต่อกนั หมายเลข ๑๑ อีก ๒๕ กิโลเมตร ก่อนข้ึนสะพาน คือ เขื่อนแควน้อย เขื่อนสันตะเคียน และเขื่อนปิด ข้ามแม่น�้าแควน้อยมีทางแยกไปบ้านนาขาม ตาม ชอ่ งเขาขาด โดยมสี ถานทน่ี า่ สนใจภายในเขอื่ น ไดแ้ ก่ ทางหลวงหมายเลข ๑๒๒๐ อีก ๘ กโิ ลเมตร มีป้าย ผานาคราช ลกั ษณะเปน็ หนา้ ผาสงู ชนั ซง่ึ สามารถมอง บอกทางเข้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าฯ อีก ๖ กิโลเมตร เห็นทวิ ทัศนข์ องตัวเข่อื นได้ทัง้ หมด เป็นทางลูกรังและมีจุดท่ีต้องขับผ่านธารน้�าไหล หาดเอราวัณ หาดทรายท่ีพักผ่อนเล่นน้�าส�าหรับคน จา� เป็นตอ้ งใชร้ ถขับเคล่อื นสล่ี อ้ ในฤดูฝน ทว่ั ไป สนั มายะ เปน็ สนั เนนิ เตยี้ ๆ มองเหน็ อา่ งเกบ็ นา้� ขนาด อา� เภอชาติตระการ ใหญ่เป็นบรเิ วณกว้าง อุทยานแห่งชาติน�้าตกชาติตระการ มีชื่อเรียกตาม รปู หล่อพระอนิ ทรน์ าคปรก ๙ เศยี รทรงช้างเอราวัณ ชาวบา้ นวา่ นา้� ตกปากรอง ตง้ั อยทู่ บี่ า้ นปากรอง ตา� บล ประดิษฐานบนแท่นกลางวงเวียนถนนอย่างสวยงาม ชาตติ ระการ อา� เภอชาตติ ระการ ห่างจากตวั จงั หวดั เปน็ ท่เี คารพสกั การะของผมู้ าเยอื น ประมาณ ๑๔๕ กิโลเมตร น้�าตกชาติตระการเป็น การเดนิ ทาง จากพษิ ณโุ ลกใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๑ น�้าตกท่ีสวยงามมากของจังหวัดพิษณุโลก มี ๗ ช้ัน ไปทางอ�าเภอวัดโบสถ ์ ระยะทาง ๒๖ กโิ ลเมตร จาก แต่ละช้ันมีความสวยต่างกันออกไป และต้ังช่ือตาม นนั้ เลย้ี วขวาไปตามทางหลวงหมายเลข ๑๒๙๖ ระยะ นามธดิ าทา้ วสามลในวรรณคดไี ทยเรอื่ งสงั ขท์ อง โดย ทาง ๓๑ กิโลเมตร เลยี้ วขวาเขา้ ไปอีก ๑๓ กิโลเมตร เฉพาะชั้นที่ ๓ และ ๔ น้�าตกจากหน้าผาสงู ประมาณ รวมระยะทางจากตัวเมืองพิษณโุ ลก ๗๐ กโิ ลเมตร ๑๐ เมตร แผ่กระจายเป็นม่านน�้าเต็มหน้าผา ช้ันที่ สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ โทร. ๐ ๕๕๓๑ ๖๐๐๗ เป็นแอ่งใหญ่ที่สุดคือช้ันที่ ๑ ระยะทางเดินจาก ชนั้ ที่ ๑ ถงึ ชั้นที ่ ๗ ประมาณ ๑,๒๒๐ เมตร เขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขาน้อย-เขาประดู่ มีพ้ืนท่ีกว่า นอกจากนี้ ในบรเิ วณอทุ ยานฯ ยงั มสี ถานทน่ี า่ สนใจ ๘๐,๙๐๐ ไร่ ได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นเขตห้าม อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ ล่าสตั ว์ปา่ เมอื่ วันท่ ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ มแี หล่ง ผาแดง เปน็ หน้าผาชัน มหี ินทรายสแี ดง อยู่ถดั จาก ทอ่ งเทยี่ วทนี่ า่ สนใจ คอื เขานอ้ ย-เขาประด ู่ มคี วามสงู น�า้ ตกชาติตระการชน้ั ท่ ี ๔ ไปทางขวามอื เส้นทางนี้ จากระดับทะเลปานกลางระหวา่ ง ๑๐๐-๕๐๐ เมตร ตอ้ งมเี จ้าหน้าที่น�าทาง ประกอบด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง น�้าตกนาจาน มีทั้งหมด ๗ ชั้น ชั้นที่ ๑ มีลักษณะ และทุ่งหญ้า มีความหลากหลายทางด้านพืชพรรณ ไหลเอ่ือยไม่ค่อยสูงนัก มีหินที่ค่อนข้างล่ืน ช้ัน มดี อกไมต้ ามฤดกู าล ทสี่ วยงามคอื ดอกกระเจยี วและ ท่ ี ๒ มีลักษณะสวยงามมาก สงู ประมาณ ๒-๓ เมตร พิษณโุ ลก 25

บริเวณช้ันท่ี ๔ ของน้า� ตกชาตติ ระการ เสน้ ทางนยี้ งั ไมไ่ ดเ้ ปดิ เปน็ ทางการ ชน้ั ท ่ี ๓ มคี วามงาม เขา้ สทู่ างหลวงหมายเลข ๒๐๑๓ ซง่ึ เปน็ ทางสู่อ�าเภอ เป็นพิเศษ น้�าตกไหลลดลงมาพร้อมกันทีเดียวถึง นครไทย ประมาณ ๒๙ กโิ ลเมตร จากนนั้ เลยี้ วซา้ ยเขา้ ๓ ทาง สงู ประมาณ ๕-๖ เมตร ชน้ั ท ี่ ๔-๗ เปน็ นา�้ ตกที่ ทางหลวงหมายเลข ๑๑๔๓ เขา้ ส่อู า� เภอชาตติ ระการ ไหลตอ่ เนอื่ ง มคี วามสงู ประมาณ ๓๐ เมตร มเี สน้ ทาง ไปอีกประมาณ ๓๘ กิโลเมตร มีทางแยกขวาอีก ๙ เดินเทา้ ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร ควรออกจากที่ทา� การ กโิ ลเมตรจะถึงน�า้ ตก อุทยานฯ กอ่ นเวลา ๑๘.๐๐ น. ผากระดาน อยู่ห่างจากท่ีท�าการฯ ประมาณ ๓ ทพ่ี กั และสง่ิ อ�านวยความสะดวก อุทยานฯ มีบ้านพัก กโิ ลเมตร เป็นภาพแกะสลักของมนษุ ย์หินยคุ โบราณ บรกิ ารนกั ทอ่ งเทย่ี ว และสามารถน�าเต็นท์มาเองได้ ลกั ษณะคลา้ ยรปู ทรงเรขาคณติ สร้างความตื่นตาตืน่ สอบถามรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๗๐๒๘ ใจได้มาก หรอื สอบถามทก่ี รมอทุ ยานแหง่ ชาต ิ สตั วป์ า่ และพนั ธ์ุ ถ้า� น�้ามดุ เป็นถ�้าที่เกิดจากน�้าตกนาจานช้นั บน แยก พืช เขตบางเขน กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ ออกเป็น ๓ สาย เปน็ ระยะทางประมาณ ๒๐๐-๒๕๐ www.dnp.go.th เมตร มสี ายน้า� ไหลผ่านภายในถ�า้ สวยงามแปลกตา อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว ครอบคลุมพื้นที่อ�าเภอ ถ�้ากา มีร่องรอยของมนุษย์ยุคโบราณที่แกะสลักไว้ ชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และอ�าเภอน�้าปาด บนแผ่นหินขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่ามีอายุมากกว่า จังหวัดอุตรดิตถ์ ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขา ๗,๐๐๐ ปี สูงตามแนวชายแดนไทย-ลาว บริเวณที่สูงที่สุด การเดินทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๒ (พิษณุโลก- คือ “ยอดภูสอยดาว” สูงถึง ๒,๑๐๒ เมตร จาก หลม่ สกั ) เมอื่ ถงึ กโิ ลเมตรท่ี ๖๘ (บา้ นแยง) เล้ียวซา้ ย 26 พษิ ณโุ ลก

อทุ ยานแหง่ ชาติภสู อยดาว พิษณโุ ลก 27

อุทยานแหง่ ชาตภิ หู ินร่องกล้า ระดับทะเลปานกลาง อากาศหนาวเย็นเกือบตลอด การเดินทาง ใช้เส้นทางพิษณุโลก-อ�าเภอวัดโบสถ์- ทั้งปี สภาพป่าส่วนใหญ่ยังอุดมสมบูรณ์ มีทุ่งหญ้า บ้านโป่งแค-อ�าเภอชาติตระการ-ภูสอยดาว ระยะ ขนาดใหญ่ในพ้ืนท่ีที่เคยเป็นที่ท�ากินของชาวไทยภู ทาง ๑๗๗ กิโลเมตร หรอื ใชเ้ ส้นทางพษิ ณุโลก-บา้ น เขาเผ่ามง้ แยง-อ�าเภอนครไทย-อ�าเภอชาติตระการ-ภูสอยดาว แหล่งท่องเท่ียวในเขตอุทยานฯ ได้แก่ ป่าสน ทุ่ง ระยะทางรวม ๑๕๔ กิโลเมตร ดอกไม ้ หนา้ ผา จดุ ชมววิ นา�้ ตกสายทพิ ย ์ และนา�้ ตกภู ทพ่ี กั อทุ ยานฯ ภสู อยดาวมบี า้ นพกั และลานกางเตน็ ท์ สอยดาว พน้ื ทปี่ า่ สนสามใบ เหมาะแกก่ ารมาเทยี่ วชม รวมไปถึงลูกหาบเดนิ ขึน้ ภูสอยดาว ใหบ้ รกิ าร ในเดอื นสงิ หาคม-กนั ยายน เนอื่ งจากจะพบเหน็ ทะเล สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม อุทยานแห่งชาติภู หมอกและดอกไมต้ า่ ง ๆ โดยเฉพาะดอกหงอนนาคขน้ึ สอยดาว โทร. ๐ ๕๕๔๓ ๖๐๐๑-๒ หรอื กรมอุทยาน อยทู่ ว่ั ไป และกลว้ ยไมป้ า่ ตามคาคบไมใ้ หญ ่ ระยะทาง แหง่ ชาต ิ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ เดนิ ทางจากเชงิ เขา ๖.๕ กิโลเมตร บางช่วงเปน็ เสน้ www.dnp.go.th ทางชนั ใช้เวลาประมาณ ๔-๕ ช่ัวโมง 28 พษิ ณุโลก

ศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้า ในพระราชด�าริ ทห่ี าชมไดย้ ากยงิ่ มสี วนจดั แสดงไมห้ วั เชน่ กระเจยี ว สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิต์ ิ พระบรมราชนิ ีนาถ โปรดฯ เปราะภู และยังมีการรวบรวมพันธุ์กุหลาบ กุหลาบ ให้จัดตั้งศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้าขึ้นในพ้ืนท่ี พันป ี พืชผกั และสมนุ ไพรพ้นื บา้ น ส่วนปลายของเทือกเขาภูสอยดาว โดยได้ทรง การเดนิ ทาง ศนู ยร์ วมพรรณไมบ้ า้ นรม่ เกลา้ ฯ อยหู่ า่ ง ประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเข้าท�าการส�ารวจ จากตวั อา� เภอชาตติ ระการ ประมาณ ๘๐ กโิ ลเมตร พ้ืนท่ีสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภูมิประเทศ สอบถามรายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ โทร. ๐ ๕๕๓๑ ๖๗๑๓- ดิน ภมู ิอากาศ และชนดิ พชื พนั ธุ์ เพอ่ื จัดตั้งเปน็ ศูนย์ ๕, ๐๘ ๑๖๐๒ ๐๖๙๕ อเี มล:์ phitsanulok@qsbg. รวมพรรณไม้บา้ นร่มเกลา้ ในพระราชดา� ริ ตามแผน org. งานขององค์การสวนพฤกษศาสตร์ โดยมีพระราช ประสงค์เพ่ือส่งเสริมความม่ันคงภายในประเทศ อา� เภอนครไทย เป็นการอนุรักษ์ป่าที่สมบูรณ์ไว้เพ่ือเป็นป่าต้นน�้า อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ต้ังอยู่บนรอยต่อ ลา� ธาร และสนบั สนนุ ราษฎรบา้ นรม่ เกลา้ และหมบู่ า้ น ของสามจงั หวัด คือ พษิ ณุโลก เพชรบูรณ์ และเลย ข้างเคียงให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน พร้อมทั้งได้พัฒนา ครอบคลุมพ้นื ท ่ี ๑๙๑,๘๗๕ ไร่ ประกาศเป็นอุทยาน สถานท่ีดังกล่าวให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัด แหง่ ชาตเิ มอื่ วนั ท ่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๒๗ ภหู นิ รอ่ งกลา้ พษิ ณุโลกและประเทศชาติต่อไป มยี อดเขาสงู ๑,๖๑๗ เมตร จากระดบั ทะเลปานกลาง มีทิวทัศน์สวยงาม ปกคลุมด้วยป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ปัจจุบันศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้าในพระ และป่าสนเขา มีสนสองใบและสนสามใบข้ึนปะปน ราชด�าริ ต้ังอยู่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ กัน และพบกล้วยไม้ดอกไม้ป่าหลายชนิดขึ้นอยู่ตาม บ ริ เ ว ณ แ น ว สั น เ ข า ส ่ ว น ป ล า ย ข อ ง เ ทื อ ก เ ข า ภู ลานหิน ได้รับรางวัลดีเด่น รางวัลอุตสาหกรรมท่อง สอยดาว ในเขตอ�าเภอชาติตระการ มีความสูงจาก เท่ยี วไทย คร้งั ที่ ๗ ประจา� ปี ๒๕๕๑ ประเภทแหลง่ ระดับทะเลปานกลาง ๗๕๐-๑,๒๘๐ เมตร มีเนื้อท ่ี ท่องเท่ยี วทางธรรมชาตภิ าคเหนือ ๑,๓๘๕ ไร่ เป็นสาขาของสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ จังหวัดเชียงใหม่ ท�าหน้าที่เป็น ภูหินร่องกล้าเคยเป็นศูนย์กลางฐานท่ีมั่นของการ ศนู ยร์ วมพรรณไมภ้ าคเหนอื ตอนลา่ งและศนู ยอ์ นรุ กั ษ์ เผยแพร่แนวคิดคอมมิวนิสต์ท่ีใหญ่และส�าคัญของ พรรณพืชประจ�าถ่ิน โดยเฉพาะพืชเขตอนุภูมิภาค ภาคเหนือ ซึ่งเป็นศูนย์กลางแพร่กระจายแนวคิด อนิ โดจนี (Indo-Chinese Sub-Region) คอมมิวนิสตไ์ ปสูเ่ ขาค้อ ภขู ัด และภเู มย่ี ง จนเกิดเป็น ปัญหาความม่ันคงทางการเมือง เมื่อเหตุการณ์สงบ นอกจากน้ี ศูนย์รวมพรรณไม้บ้านร่มเกล้าฯ ยังเป็น ลงในปลายเดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดม้ กี าร แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศเพอื่ การเรยี นรแู้ ละเปน็ สถาน ตดั เสน้ ทางผ่านใจกลางภูหนิ รอ่ งกลา้ และจัดตง้ั เป็น ทพ่ี กั ผอ่ นทา่ มกลางธรรมชาตขิ นุ เขาและมวลพฤกษา อทุ ยานแห่งชาตขิ ้ึน จนกลายมาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว นานาพนั ธ์ ุ มสี ถานท่กี างเต็นท์ จุดดนู ก คา่ ยพกั แรม ส�าคัญแหง่ หน่ึงของภาคเหนอื ตอนล่างในปัจจบุ ัน และจุดชมทิวทัศน์ท่ีสวยงาม มีการจัดแสดงพรรณ สถานทีน่ ่าสนใจในอุทยานฯ ไม้ประจ�าถิ่น ไม้หายากและใกล้สูญพันธุ์ มีโรงเรือน รวบรวมกลว้ ยไมไ้ ทยทรี่ วบรวมสายพนั ธก์ุ ลว้ ยไมไ้ ทย พษิ ณุโลก 29

ผาชธู ง พิพิธภณั ฑ ์ ตง้ั อยูบ่ รเิ วณศูนยบ์ รกิ ารนักท่องเทย่ี ว จัด ทางเดินโลกท่ีสาม เป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ แสดงนทิ รรศการเรอ่ื งราวการใชช้ วี ติ และการสรู้ บของ ผ่านภมู ิทัศนท์ ีส่ วยงาม และสถานท่ีส�าคัญของ พคท. สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) ไดแ้ ก ่ สา� นกั อา� นาจรฐั เปน็ สถานทด่ี า� เนนิ การทางการ รวมท้ังจดั แสดงเครอ่ื งมอื เคร่อื งใชแ้ ละอาวธุ ตา่ ง ๆ ปกครอง พิจารณาลงโทษผู้กระท�าผิด มีคุก สถาน 30 พษิ ณโุ ลก

ท่ีทอผ้า และโรงซ่อมเคร่ืองจักรกล ที่หลบภัยทาง โรงเรียนการเมือง การทหาร อยู่ห่างจากท่ีท�าการ อากาศ เปน็ โพรงถ�้ากว้างขวาง จุคนได้กวา่ ๒๐๐ คน อทุ ยานฯ ๖ กโิ ลเมตร เคยใชเ้ ปน็ สถานทใ่ี หก้ ารศกึ ษา ผาชูธง เป็นจุดที่คอมมิวนิสต์ชักธงแดงทุกคร้ังที่รบ ตามแนวทางของลัทธิคอมมิวนิสต์ มีบ้านพักฝ่าย ชนะ ลานหนิ ปมุ่ เตม็ ไปดว้ ยหนิ ปมุ่ เปน็ บรเิ วณกวา้ งดู พลเรือน ฝา่ ยพลาธิการ และสถานพยาบาล กระจาย แปลกตา เกดิ จากการสึกกร่อนของหินโดยธรรมชาติ ตัวอยใู่ ตผ้ ืนป่ารกทึบ ประมาณ ๓๐ หลัง ในบรเิ วณ เคยใชเ้ ปน็ ท่พี ักฟน้ื คนไข้ ใกล้เคียงยังมีสุสานทหารและกังหันพลังงานน้�าใช้ สีขา้ ว โรงเรยี นการเมอื ง การทหาร พษิ ณุโลก 31

ลานหินแตก น้�าตกร่มเกล้า-ภราดร ห่างจากโรงเรียนการเมือง กิโลเมตรที่ ๑๘ มีทางเดินเท้าเข้าสู่น้�าตกอีก ๓.๕ ประมาณ ๖๐๐ เมตร มที างแยกเดนิ ลงนา้� ตกรม่ เกลา้ กิโลเมตร เส้นทางเดินเป็นป่าดิบเขา นักท่องเท่ียว ก่อน จากนั้นเดินลงไปประมาณ ๒๐๐ เมตร จะถึง ต้องติดต่อขอเจ้าหน้าท่ีน�าทางจากอุทยานฯ ใช้เวลา น้�าตกภราดร ที่เกิดจากล�าธารเดียวกนั ในการเดนิ ประมาณ ๖ ชวั่ โมง จงึ ตอ้ งเรมิ่ ออกเดนิ ทาง ลานหินแตก ลานหินกว้างมีรอยแตกคล้ายแผ่นดิน กอ่ นเวลา ๑๐.๐๐ น. แยก ตามซอกหินพบไม้ประเภทมอส ไลเคน เฟิน การเดนิ ทาง จากพษิ ณโุ ลกใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๒ กลว้ ยไม้ และดงดอกกุหลาบพนั ปสี ีขาวตลอดทาง (พษิ ณโุ ลก-หลม่ สัก) เลย้ี วซา้ ยทบ่ี า้ นแยง กิโลเมตรที่ นา้� ตกศรพี ชั รนิ ทร์ ไดร้ บั การตงั้ ชอ่ื เพอ่ื เปน็ อนสุ รณใ์ ห้ ๖๘ สทู่ างหลวงหมายเลข ๒๐๑๓ ไปอกี ๒๘ กโิ ลเมตร กับทหารจากค่ายศรีพัชรินทร์ จังหวัดขอนแก่น ซ่ึง ถึงอ�าเภอนครไทย แล้วเลี้ยวขวาตามทางหลวง เป็นทหารหน่วยแรกท่ีข้ึนมาบนภูหินร่องกล้า น้�าตก หมายเลข ๒๓๓๑ ไปภูหินรอ่ งกล้าอีก ๓๑ กโิ ลเมตร ศรพี ชั รนิ ทรม์ คี วามสงู ประมาณ ๒๐ เมตร มแี อง่ ใหญ่ นอกจากน ี้ ภหู นิ รอ่ งกลา้ ยงั สามารถเขา้ ถงึ ไดจ้ ากดา้ น เหมาะส�าหรบั เล่นน้า� จงั หวดั เพชรบรู ณ ์ โดยใชเ้ ส้นทางหล่มเกา่ -ทับเบกิ -ภู น�้าตกหมันแดง เปน็ นา้� ตกที่มีชั้นต่าง ๆ รวม ๓๒ ชั้น หนิ รอ่ งกลา้ แตเ่ สน้ ทางนค้ี อ่ นขา้ งสงู ชนั และคดเคย้ี ว ไม่สามารถลงเล่นน้า� ได ้ เกดิ จากห้วยน�า้ หมัน ซงึ่ มนี �้า มาก เหมาะเปน็ ทางลงมากกว่า ตลอดปี อยู่บนเส้นทางสายภูหินร่องกล้า-หล่มเก่า 32 พิษณโุ ลก

น�้าตกหมนั แดง พษิ ณโุ ลก 33

ประเพณีการแขง่ เรอื ยาวชงิ ถว้ ยพระราชทาน หมายเหตุ การเดินทางขึ้นและลงภูหินร่องกล้าท้ัง เรือยาวประเพณีฯ จัดประมาณเดือนกันยายนของ สองเส้นทาง ควรใช้รถยนต์หรือรถตู้ที่มีก�าลังสูง ทุกปี มีพิธีทอดผ้าป่าเรือยาว พิธีเปล่ียนผ้าห่มองค์ สภาพเบรกและคลัชต์ดีมาก และต้องใช้ความ พระพทุ ธชนิ ราช ในงานมกี ารประกวดขบวนเรอื การ ระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษรสบสั ไมส่ ามารถขนึ้ ได ้ เนอื่ งจาก แขง่ ขนั เรือยาวประเพณ ี และมกี ารประดบั ขบวนเรือ เส้นทางคดเค้ยี วและสงู ชนั ตา่ ง ๆ สวยงามนา่ ชม จดั ขน้ึ ในบรเิ วณแมน่ า้� นา่ น หนา้ ทีพ่ กั และสิง่ อา� นวยความสะดวก อทุ ยานฯ มบี า้ นพกั วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร และลานกางเตน็ ท์ รวมถึงเตน็ ทใ์ ห้เชา่ สอบถามราย ละเอียดตดิ ต่ออุทยานแห่งชาติภหู นิ รอ่ งกลา้ โทร. ๐ ประเพณปี กั ธงนครไทย เปน็ ประเพณดี ง้ั เดมิ ของชาว ๕๕๒๓ ๓๕๒๗ หรอื กรมอทุ ยานแหง่ ชาต ิ สตั วป์ า่ และ อา� เภอนครไทย โดยมคี วามเชอื่ วา่ อา� เภอนครไทยคอื พนั ธุพ์ ืช โทร. ๐ ๒๕๖๒ ๐๗๖๐ www.dnp.go.th เมืองบางยางในอดีต ซึ่งพ่อขุนบางกลางหาวใช้เป็น ท่ีรวบรวมไพร่พลเพื่อขับไล่ขอม ในการต่อสู้คร้ังนั้น พ่อขุนบางกลางหาวได้รับชัยชนะ จึงทรงเอาผ้าคาด เทศกาลงานประเพณี เอวผกู ปลายไมไ้ วบ้ นยอดเขาชา้ งลว้ ง เพอื่ เปน็ อนสุ รณ์ แห่งชัยชนะ ชาวนครไทยจึงได้ยึดถือเป็นประเพณี ประเพณีการแข่งเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน ปฏิบัติในวันขึ้น ๑๔ ค่�า เดือน ๑๒ ของทุกปี โดย การแข่งเรือยาวเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งของจังหวัด พิษณุโลกท่ีได้จัดข้ึนอย่างต่อเนี่องมานาน งานแข่ง 34 พิษณโุ ลก

จะร่วมกันทอผืนธงผ้าฝ้าย และน�าไปยังเขาช้างล้วง โดยเทศบาลนครพิษณุโลกร่วมกับการท่องเที่ยว เพื่อปักธงชยั โดยมพี ระสงฆร์ ว่ มเจริญชยั มงคลคาถา แห่งประเทศไทย (ททท.) ส�านักงานพิษณุโลก กจิ กรรมในงาน ไดแ้ ก ่ การประกวดแหธ่ ง การแขง่ ขนั รวบรวมร้านอาหารและร้านจ�าหน่ายของที่ระลึกที่มี ผู้พิชิตเขาชา้ งลว้ ง และการประกวดธิดาปักธง คณุ ภาพและมชี อ่ื เสยี งมารว่ มออกรา้ นในบรเิ วณสวน สาธารณะริมแม่น�้าน่าน มีผู้สนใจเดินทางมาร่วมชิม งานแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และงาน อาหารพื้นเมืองและซื้อหาสินค้าที่ระลึกจ�านวนมาก กาชาดพิษณุโลก จัดในบริเวณศาลากลางจังหวัด สอบถามได้ทีเ่ ทศบาลนครพษิ ณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๓ พิษณุโลก ชมการแสดงแสงเสยี งตระการตา “ยอยศ ๑๔๐๐-๒ ย่ิงฟ้า มหาราชแห่งแผ่นดิน” การออกร้านสลาก ชิมกาแฟแก่งซอง ล่องแก่งล�าน้�าเข็ก ล�าน�้าเข็กมี กาชาดพาโชค การแสดงนทิ รรศการสนิ คา้ หนงึ่ ตา� บล ต้นก�าเนิดจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ อ�าเภอเขาค้อ หนง่ึ ผลติ ภณั ฑ ์ และการแสดงศลิ ปวฒั นธรรมพนื้ บา้ น ไหลขนานกับทางหลวงหมายเลข ๑๒ ลงมาทีอ่ �าเภอ สอบถามได้ท่ีส�านักงานปกครองจังหวัดพิษณุโลก วังทอง ระยะทางล่องแก่ง ๘ กิโลเมตร ผ่านเกาะ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๖๔๔๒ แก่งต่าง ๆ ถึง ๑๘ แกง่ ต้งั แตร่ ะดบั ๑-๕ ท่ามกลาง ธรรมชาติเขียวขจีร่มร่ืน นอกจากการล่องแก่งท่ี งานมหกรรมอาหารและสินค้าของท่ีระลึกจังหวัด สนกุ สนานท้าทายแล้ว ยังได้ชมิ กาแฟสดแก่งซองซึง่ พิษณุโลก จัดขึ้นในบริเวณสวนชมน่านเฉลิมพระ เป็นกาแฟท้องถ่ินพันธุ์อะราบิกาและโรบัสตา ปลูก เกียรติฯ ในเดือนเมษายนและธันวาคมของทุกปี ทวั่ ไปในบรเิ วณตา� บลแกง่ โสภา และยงั มรี า้ นจา� หนา่ ย แก่งซอง พษิ ณโุ ลก 35

กาแฟสดจ�านวนมากให้แวะชิมรสชาติอันกลมกล่อม สุนัขป่า และออกลูกที่มีคุณลักษณะพิเศษ เรียกว่า เข้มข้น หอมกร่นุ จงึ มชี ื่อเรียกติดปากกันว่า “กาแฟ พันธบ์ุ างแก้ว แกง่ ซอง” เน่ืองจากมีผู้นิยมเล้ียงสุนัขพันธุ์น้ีกันมากข้ึน ท้ัง ใช้เฝ้าบ้านเฝ้าสวน หรือแม้กระทั่งเลี้ยงไว้ในเชิง สนิ คา้ พืน้ เมืองและของทีร่ ะลกึ พาณิชย ์ และมชี มรมผู้เล้ียงสนุ ขั บางแก้วหลายชมรม ส�านักงานปศุสัตว์พิษณุโลกจึงได้ก�าหนดมาตรฐาน กล้วยตากบางกระทุ่ม เป็นของฝากมีชื่อของ ของสุนัขพันธุ์บางแก้วไว้เพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ พิษณุโลก มีเน้ือนุ่ม รสชาติหอมหวานอร่อย น่ารับ และคณุ สมบตั ทิ ด่ี ขี องสนุ ขั พนั ธน์ุ ี้ โดยมลี กั ษณะทว่ั ไป ประทาน ซ้ือหาได้ที่ศาลาขายของที่ระลึกในวัดใหญ ่ เป็นสุนัขขนาดกลาง โครงร่างเป็นรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส หรอื รา้ นคา้ ของที่ระลกึ ท่วั ไปในตลาด แหนมและหมูยอสุพัตรา แหนมสดและหมูยอ สมส่วน ประกอบด้วยกล้ามเนื้อท่ีสมบูรณ์ แข็งแรง ข้ึนช่ือของพิษณุโลก สะอาด รสชาติอร่อย เป็น เคล่ือนไหวคล่องแคล่ว มีพฤติกรรมที่ต่ืนตัว ร่าเริง อุตสาหกรรมครอบครัวของโรงงานสุพัตรา ซึ่งเป็น ซอ่ื สัตย์ ฉลาด กล้าหาญ และเชื่อฟงั คา� ส่ัง ชาวเมืองพิษณุโลก ไก่ชนพระนเรศวร หรือไก่เจ้าเล้ียง เป็นไก่อูพันธุ์ หมซ่ี วั่ เสน้ สขี าวนวล เมอื่ นา� ไปปรงุ อาหาร โดยเฉพาะ เหลอื งหางขาว มคี ุณสมบัตทิ รหด แขง็ แรง ทนทาน ผดั หมซ่ี ว่ั เสน้ จะเหนยี วนมุ่ นา่ รบั ประทาน มใี หเ้ ลอื ก ในการต่อสู้ และมีความเช่ือว่าเป็นไก่พันธุ์เดียวกับที่ หลายยห่ี อ้ หาซอ้ื ไดท้ ัว่ ไปตามร้านค้าของทร่ี ะลึก สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงน�าไปตีกับไก่ของ พระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี ปัจจุบันมีการ น้�าปลาบางระก�า อ�าเภอบางระก�ามีช่ือในเรื่องการ อนุรกั ษเ์ พาะพันธุจ์ า� หนา่ ยกนั แพร่หลาย ทา� นา�้ ปลามานาน เป็นน้า� ปลาแท ้ รสชาติกลมกล่อม ทา� จากปลาสร้อยในลา� นา�้ ยม สนิ คา้ พน้ื เมอื งและของทรี่ ะลกึ กลมุ่ งานศลิ ปด์ นิ ไทย ๕๖๔/๗ ถนนมติ รภาพ อา� เภอ เมืองฯ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๓๙๙ www.thaiclay.com ไม้กวาดนาจาน อ�าเภอชาติตระการเป็นอ�าเภอที่มี กลมุ่ หตั ถกรรมผา้ ดน้ มอื ๑๒๗/๒ หมู่ ๘ ตา� บลทา่ ประชากรน้อย แต่ชาวบ้านพยายามท�าอาชีพเสริม ทอง อา� เภอเมอื งฯ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๓๒๘๙ เพ่ือหารายได้เพิ่มให้กับครอบครัว บ้านนาจานเป็น ก้านกล้วย ๙๓/๒ ถนนพระยาลิไท ต�าบลในเมือง หมบู่ ้านท่ีท�าไมก้ วาดจากดอกหญา้ และใช้ด้ามหวาย อ�าเภอเมืองฯ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๑๙๘๓ อยา่ งดี ทนทาน ฝมี อื ละเอียด กลว้ ยตากไทไท ๑๐๙/๒ หม ู่ ๓ ตา� บลสมอแข อา� เภอ สนุ ขั พนั ธบ์ุ างแกว้ ถน่ิ กา� เนดิ อยทู่ บ่ี า้ นบางแกว้ ตา� บล เมอื งฯ โทร. ๐ ๕๕๒๖ ๘๐๓๘, ๐๘ ๑๙๖๒ ๙๕๙๔ ท่างาม อ�าเภอบางระก�า มีเร่ืองเล่าว่า หลวงปู่มาก www.banana-tai-tai.com สุวัณณโชโย (เมธาวี) เจ้าอาวาสวัดบางแก้ว ได้ กรงุ เก่าผ้าไทย ๔๔๖/๕ หมู่ ๕ ต�าบลหวั รอ อ�าเภอ เลี้ยงสุนัขไว้ท่ีวัด ซึ่งต่อมาสุนัขท่ีวัดได้ผสมพันธุ์กับ เมอื งฯ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๓๘๔๘ 36 พิษณุโลก

เซรามิกสองแคว ๕๖/๕๐ หมู่ ๒ ต�าบลวัดจันทร์ กจิ กรรมท่นี า่ สนใจ อา� เภอเมอื งฯ โทร. ๐๘ ๕๐๔๙ ๒๐๕๗ สามล้อทัวร์ รายการท่องเที่ยวที่จัดข้ึนเพ่ือพานัก โรงหลอ่ พระพานธปู ๖๔ หม ู่ ๖ ตา� บลดนิ ทอง อา� เภอ ท่องเท่ียวชมชีวิตยามราตรีของชาวเมืองพิษณุโลก วังทอง โทร. ๐๘ ๑๑๖๕ ๐๑๖๙ โดยรถสามล้อถีบในเขตตัวเมือง เช่น ย่านตลาด วิสาหกจิ ชุมชนกลว้ ยตากบปุ ผา ๒/๓ หม่ ู ๔ ตา� บล อาหาร ผัก ผลไม ้ ยา่ นธรุ กิจสา� คัญ ๆ ซ่ึงมเี อกลักษณ์ เนินกมุ่ อา� เภอบางกระทมุ่ โทร. ๐๘ ๙๔๖๐ ๗๙๗๙, เฉพาะตวั ที่นา่ สนใจ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ตลาดอาหาร ๐๘ ๑๘๐๕ ๓๓๒๕ www.banana-society.com นานาชนดิ บรเิ วณรมิ แมน่ า�้ นา่ น ถนนพทุ ธบชู า ซง่ึ มใี ห้ ศูนยจ์ �าหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ OTOP ศาลากลางจังหวดั เลอื กมากมาย นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถใชบ้ รกิ ารสามลอ้ พษิ ณโุ ลก อ�าเภอเมอื งฯ โทร. ๐๘ ๖๙๓๗ ๐๔๑๑ ทัวรไ์ ด้จากโรงแรมช้ันน�าทกุ แห่งในจังหวัดพิษณโุ ลก ลอ่ งแกง่ เรือยาง พิษณุโลก 37

ล่องแก่งเรือยาง กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงผจญภัย ยาง ต�าบลทรัพย์ไพรวัลย์ ถึงน้�าตกแก่งซอง ระยะ ท่ีได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก ทางประมาณ ๘ กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาราว ๒ ชว่ั โมงครึ่ง ด้วยความต่ืนเต้นสนุกสนาน และยังได้รับความ ความยากในการล่องต้งั แต่ระดบั ๑-๕ กอ่ นล่องแกง่ เพลิดเพลินจากการชมธรรมชาติอันสวยงาม ล�าน้�า ทุกคร้ังจะมีการสาธิตซักซ้อมวิธีปฏิบัติระหว่างล่อง เข็กไหลผ่านอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง ผ่านช้ัน แกง่ จากผ้ชู า� นาญเพอ่ื ความปลอดภัย สามารถติดตอ่ หินลดระดับเป็นน้�าตกศรีดิษฐ์และน้�าตกแก่งโสภา ไดท้ ร่ี สี อรท์ บนเสน้ ทางพษิ ณโุ ลก-หลม่ สกั หรอื บรษิ ทั น�้าตกปอย น�า้ ตกแก่งซอง และนา�้ ตกวงั นกแอน่ ไหล น�าเที่ยว และผูป้ ระกอบการล่องแก่ง ผ่านอ�าเภอวังทอง ไปรวมกับแม่น้�าน่านที่อ�าเภอ บางกระทุ่ม เป็นล�าน้�าท่ีไม่ใหญ่นัก แต่มีเกาะแก่ง จักรยานท่องเท่ียว จังหวัดพิษณุโลกมีเส้นทางท่ีตัด มากมายตลอดล�าน�้าอันคดเคี้ยวไปมา และลดหลั่น ผ่านธรรมชาติอันสวยงามมากมาย เหมาะแก่การ เปน็ ข้นั มชี ั้นตา่ ง ๆ เปน็ ระยะ ทอ่ งเท่ยี วโดยจกั รยานเสือภูเขา โดยเฉพาะท่ีอทุ ยาน แหง่ ชาตทิ งุ่ แสลงหลวง มเี สน้ ทางผจญภยั ทสี่ นกุ สนาน ช่วงเวลาที่นิยมล่องแก่งอยู่ระหว่างเดือนมิถุนายน- ต้องปีนเขา ลงทางด่ิง ผ่านสภาพป่าหลายหลาก ตุลาคม ซง่ึ มปี ริมาณน้า� มากระดับนา้� สูง และกระแส นักท่องเท่ียวสามารถใช้บริการเช่าจักรยานท่ีหน่วยฯ น�้าก็รุนแรงตามไปด้วย การล่องเริ่มจากบ้านปาก หนองแม่นา อุทยานแห่งชาตทิ งุ่ แสลงหลวง จักรยานท่องเที่ยว 38 พษิ ณุโลก

รถรางท่องเท่ียวชมเมืองพิษณุโลก พร้อมวิทยากร ตวั อย่างโปรแกรมนา� เทย่ี ว บรรยาย เส้นทางท่องเที่ยว คือ วัดพระศรีรัตมหา โปรแกรมท่ี ๑ (ล่องแก่ง) ธาตุฯ-พิพิธภัณฑ์ชาวแพ-พระบรมราชานุสาวรีย์ วันที่ ๑ เจ้าพระยาจักรี-สถานีรถไฟ-หอนาฬิกา-สะพาน ๐๖.๐๐ น. -ออกเดนิ ทางจากกรงุ เทพฯ เอกาทศรถ-ตะแลงแกง-คูเมือง-ศาลากลางจังหวัด- ๑๒.๓๐ น. -รับประทานอาหารกลางวนั ท่ี วัดวิหารทอง-ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช- จงั หวัดพษิ ณุโลก พระราชวังจันทน์-ศาลหลักเมือง เป็นต้น ใช้เวลา ๑๓.๓๐ น. -นมสั การพระพทุ ธชินราช ท่ี ประมาณ ๔๐ นาที ขึ้นรถรางได้ที่วัดพระศรีรัตน วัดพระศรรี ตั นมหาธาตุฯ มหาธาตฯุ รายละเอยี ดตดิ ตอ่ บรษิ ทั พษิ ณโุ ลกบรกิ าร -กจิ กรรมนั่งรถรางท่องเที่ยวชม “รถเมลบ์ ้านเรา” โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๒๒๕๘, ๐ ๕๕๒๘ เมืองพิษณโุ ลก ๔๑๔๔, ๐๘ ๑๖๘๐ ๑๒๐๐ ได้รบั ได้รับรางวัลดีเดน่ -ชมโรงหลอ่ พระพุทธรูป เครอื ข่าย รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย คร้ังท่ี ๗ ประจ�า พทุ ธศิลปส์ องแคว ป ี ๒๕๕๑ ประเภทองคก์ รสนับสนนุ และสง่ เสริมการ -พิพธิ ภัณฑ์พนื้ บ้านจา่ ทวี ท่องเที่ยว ภาคเหนอื ๑๘.๐๐ น. -รับประทานอาหารเยน็ ล่องเรือชมแม่น�้าน่าน นมัสการพระ ๙ วัด เป็น ๑๙.๐๐ น. -นง่ั สามล้อทวั ร์ ชมเมอื งพษิ ณุโลก รายการท่องเท่ียวท่ีจัดขึ้นเพื่อพานักท่องเที่ยวชมวิถี ยามราตรี ชีวติ และบรรยากาศสองฝ่งั แมน่ ้า� นา่ น จดุ ชมทิวทัศน์ -เลือกซือ้ ของ ณ ตลาดไนท์บาซาร์ ต�านานเมืองสองแควท่ีแม่น�้าแควน้อยไหลบรรจบ วนั ท่ี ๒ -พักผ่อนตามอัธยาศยั แมน่ า�้ นา่ น บรกิ ารเชา่ เหมาเรอื เพอื่ ทอ่ งเทย่ี ว จดั เลยี้ ง ๐๘.๐๐ น. -เดินทางไปวัดราชคีรีหริ ญั ยาราม สมั มนา โทร. ๐๘ ๑๙๗๑ ๔๐๗๑ นมัสการเจ้าแม่กวนอิมหยกขาว สนามกอล์ฟ ๑๐.๐๐ น. -เดินทางไปทรพั ยไ์ พรวัลยแ์ กรนด ์ โฮเทล แอนด์ รสี อร์ท อา� เภอวังทอง สนามกอล์ฟดงภูเกิด ภายในหน่วยบัญชาการช่วย ๑๑.๓๐ น. -ถึงทรัพย์ไพรวัลยแ์ กรนด์ โฮเทล รบท่ี ๓ (บชร.๓) ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ ถนน แอนด ์ รสี อรท์ อา� เภอวงั ทอง สนามบิน สนามขนาด ๑๘ หลุม เปิดบริการทุกวัน ๑๒.๐๐ น. -รับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๐๖.๐๐-๑๘.๐๐ น. โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๕๐๔๖-๕๑ ๑๓.๐๐ น. -ฟงั บรรยายการเตรยี มตวั ล่องแกง่ ตอ่ ๗๔๐๙๙, ๐ ๕๕๒๕ ๑๕๓๑ ๑๓.๓๐ น. -ล่องแก่งพิชติ ลา� น�า้ เข็ก วอเตอรแ์ ลนด์ กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา ๔๓/๒ ๑๖.๓๐ น. -ขึน้ ทา่ น�า้ วนธาราเฮลท ์ รีสอรท์ แอนด ์ สปา (วงั นา�้ เยน็ รีสอรท์ ) หม ู่ ๓ ตา� บลศรภี ริ มย ์ อา� เภอพรหมพริ าม เปดิ บรกิ าร อา� เภอวังทอง ทกุ วัน โทร. ๐ ๕๕๙๙ ๓๗๐๐-๓, ๐ ๕๕๒๐ ๐๙๙๙ ๑๘.๐๐ น. -รบั ประทานอาหารเยน็ พกั ผ่อน พษิ ณุโลก 39

วันท่ี ๓ ชมพพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ ๐๙.๓๐ น. -ออกเดนิ ทางกลบั กรงุ เทพฯ ใชเ้ สน้ ทาง พระพทุ ธชนิ ราช เพชรบรู ณ์ ๑๔.๐๐ น. -นงั่ รถรางทอ่ งเทยี่ ว ชมเมอื งพษิ ณโุ ลก ๑๒.๐๐ น. -รับประทานอาหารกลางวัน ไก่ย่าง พรอ้ มฟงั บรรยายประวตั คิ วามเปน็ มา วเิ ชียรบรุ ี เพชรบรู ณ์ ของเมืองสองแคว ๑๓.๓๐ น. -แวะชมโบราณสถานเขาคลังนอก ๑๕.๐๐ น. -ชมและศกึ ษาวิถีชวี ติ ในอดีตที่ อทุ ยานประวัติศาสตร์ศรเี ทพ พพิ ธิ ภัณฑ์พนื้ บ้านจ่าทวี จงั หวัดเพชรบูรณ์ ๑๗.๐๐ น. -เขา้ พักท่ีตวั เมอื งพษิ ณโุ ลก ๑๔.๓๐ น. -ออกเดินทางกลบั กรงุ เทพฯ ๑๘.๐๐ น. -รับประทานอาหารเย็น/ผักบ้งุ เหนิ ฟ้า ๑๗.๓๐ น. -ถงึ กรุงเทพฯ โดยสวสั ดภิ าพ ๑๙.๐๐ น. -นั่งสามลอ้ ทัวร ์ ชมเมอื งพษิ ณุโลก ยามราตรี โปรแกรมท่ี ๒ (เดอื นมถิ นุ ายน-ตลุ าคมของทกุ ป)ี -พักผ่อนตามอัธยาศัย วันที่ ๑ วันที่ ๒ ๐๘.๐๐ น. -ออกเดินทางจากกรงุ เทพฯ ๐๗.๐๐ น. -รบั ประทานอาหารเช้าท่โี รงแรมท่ีพัก โดยรถยนต์ ๐๘.๐๐ น. -เดนิ ทางไปอา� เภอวังทอง ๑๒.๐๐ น. -แวะรับประทานอาหารกลางวันที่ ๐๙.๐๐ น. -เดนิ ทางไปบา้ นท่าข้าม เพอ่ื เล่น จังหวดั พษิ ณุโลก กิจกรรมลอ่ งแกง่ ลา� น้�าเขก็ ๑๓.๐๐ น. -นมัสการพระพทุ ธชินราช พระเหลอื -ฟังบรรยายการเตรียมตัวลอ่ งแก่ง พระเจา้ เขา้ นิพพาน -พชิ ิตลา� น้�าเขก็ ท่ีวดั พระศรีรตั นมหาธาตฯุ อทุ ยานแห่งชาตทิ งุ่ แสลงหลวง 40 พิษณโุ ลก

๑๒.๐๐ น. -ขน้ึ ทา่ นา้� วนธาราเฮลท ์ รสี อรท์ แอนด ์ ๔๘ หอ้ ง ราคา ๓๘๐ บาท สปา (วงั นา�้ เยน็ รสี อรท์ ) อา� เภอวงั ทอง ไกรแสง เพลส ๔๕ ถนนธรรมบูชา ต�าบลในเมือง ๑๒.๓๐ น. -รับประทานอาหารกลางวนั พร้อม โทร./โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๐๕๐๙ จา� นวน ๒๒ ห้อง ลมิ้ ลองรสชาติกาแฟสดแกง่ ซอง ราคา ๔๐๐-๔๕๐ บาท ๑๓.๓๐ น. -เดินทางชมสวนป่าเขากระยาง คาซ่า ฮอลิเดย์ ๓๐๕/๒ ถนนพิชัยสงคราม โทร. น�้าตกปอย ๐ ๕๕๓๐ ๔๓๔๐-๒, ๐๘ ๘๒๙๐ ๔๘๑๑ โทรสาร ๑๕.๐๐ น. - เดนิ ทางไปอุทยานแห่งชาติ ๐ ๕๕๓๐ ๔๓๔๐-๒ ตอ่ ๙ จ�านวน ๔๓ ห้อง ราคา ทุง่ แสลงหลวง (หนว่ ยฯ หนองแมน่ า) ๔๕๐-๗๐๐ บาท ๑๖.๓๐ น. -ถึงอทุ ยานฯ เข้าทพ่ี ักอุทยานฯ จันทนา อพารท์ เมนท์ ๔๐๑/๑๖๒-๓ หมู่ ๑๐ ถนน พกั ผอ่ นตามอธั ยาศัย มิตรภาพ ต�าบลอรัญญิก โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๑๕๔๑ ๒๐.๐๐ น. -กจิ กรรมสอ่ งสัตว์ยามค่�า โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๑๕๔๑ จา� นวน ๑๘ หอ้ ง ราคา วันที่ ๓ ๓๒๐ บาท ๐๙.๓๐ น. -ออกเดนิ ทางกลบั กรงุ เทพฯ ใชเ้ สน้ ทาง จสั มนิ รีสอร์ท ๗/๑๐๕ ถนนพระร่วง ต�าบลในเมอื ง เพชรบรู ณ์ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๖๘๘๓, ๐ ๕๕๒๑ ๖๔๔๓, ๐๘ ๔๖๘๘ ๑๒.๐๐ น. -รับประทานอาหารกลางวนั ๘๘๗๖ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๗๔๑๔ จา� นวน ๓๕ ห้อง ไกย่ ่างวเิ ชยี รบรุ ี ราคา ๕๐๐-๙๐๐ บาท ๑๓.๓๐ น. -แวะชมโบราณสถานเขาคลังนอก เดอะ แกรนด์ รเิ วอรไ์ ซด ์ ๕๙ ถนนพระร่วง โทร. ๐ อุทยานประวัติศาสตรศ์ รีเทพ ๕๕๒๔ ๘๓๓๓, ๐ ๕๕๒๑ ๖๔๒๐ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ จังหวดั เพชรบูรณ์ ๘๙๘๗ www.tgrhotel.com จา� นวน ๘๐ หอ้ ง ราคา ๑๔.๓๐ น. -ออกเดนิ ทางกลับกรงุ เทพฯ ๑,๓๐๐-๖,๐๐๐ บาท ๑๗.๓๐ น. -ถงึ กรงุ เทพฯ โดยสวสั ดิภาพ ทอ็ ปแลนด ์ ๖๘/๓๓ ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๐๐-๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๑๕ กรุงเทพฯ โทร. ส่งิ อ�านวยความสะดวกใน ๐ ๒๒๑๕ ๗๗๑๕, ๐ ๒๒๑๕ ๖๑๐๘ โทรสาร ๐ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ๒๒๑๕ ๐๕๑๑ www.toplandhotel.com จา� นวน สถานท่ีพัก ๒๕๓ หอ้ ง ราคา ๑,๔๐๐-๓๕,๐๐๐ บาท (ราคาห้องพกั ในเอกสารนอ้ี าจเปลย่ี นแปลงได้ โปรด ทอแสง การ์เดน ๒๑๙ หมู่ ๓ ถนนจุฬามณี- สอบถามจากโรงแรมก่อนเขา้ พกั ) บางกระทมุ่ ตา� บลท่าโพธิ ์ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๔๔๔๔, อ�าเภอเมอื งพิษณุโลก ๐ ๕๕๒๖ ๐๘๘๘-๙๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๖ ๐๙๙๙ เกยี รตวิ มิ ล ๒๔/๓๕ ถนนพระองคข์ าว ตา� บลในเมอื ง จ�านวน ๖๙ ห้อง ราคา ๓๕๐-๗๐๐ บาท โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๕๐๑๐ โทรสาร ๐ ๕๕๓๐ ๕๐๑๑ เทพนคร ๔๓/๑ ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก โทร. ๐ ๕๕๒๔ จา� นวน ๔๓ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท ๔๐๗๐-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๔๐๗๕ จา� นวน ๑๕๐ แกว้ สวุ รรณ อนิ น ์ ๘๓/๒๗๙ ถนนประชาอทุ ศิ โทร. ๐ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๑,๕๐๐ บาท ๕๕๒๑ ๖๓๐๔-๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๖๓๓๘ จ�านวน พิษณุโลก 41

นา่ นเจา้ ๒๔๒ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๕ พนู สขุ เรซเิ ดนซ ์ ๔๔๐ ถนนทพิ ยเ์ สนา ตา� บลในเมอื ง ๒๕๑๐-๔, ๐ ๕๕๒๔ ๔๗๐๒-๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๒๙๐๘, ๐๘ ๓๐๒๗ ๒๗๖๕ โทรสาร ๔๗๙๔ www.nanchaohotel.com จา� นวน ๑๕๐ ๐ ๕๕๓๐ ๒๘๘๗ www.poonsook.com จ�านวน ห้อง ราคา ๖๕๐-๑,๘๐๐ บาท ๗๐ หอ้ ง ราคา ๑,๑๐๐-๑,๕๐๐ บาท บ้านคลองรีเจนท์ ๑๐/๘ ถนนสิงหวัฒน์ โทร. ๐ เพชรไพลนิ ๔/๘ ถนนอาทติ ย์วงศ ์ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๕๕๒๘ ๒๗๗๗, ๐ ๕๕๒๘ ๒๑๔๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๘ ๘๘๔๔, ๐ ๕๕๒๑ ๙๔๓๓-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๓๒๔๕ www.banklongregionhotel.com จา� นวน ๕๒๓๗ จ�านวน ๔๐ หอ้ ง ราคา ๔๕๐-๕๐๐ บาท ๗๒ หอ้ ง ราคา ๓๐๐-๕๐๐ บาท ไพลิน ๓๘ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๕ บา้ นคลองรสี อร์ท ๒๓๔/๓-๕ หมู่ ๒ ถนนสงิ หวัฒน์ ๒๔๑๑-๕, ๐ ๕๕๒๒ ๕๒๒๘-๓๓ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ตา� บลบา้ นคลอง โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๒๐๐๔-๗ โทรสาร ๐ ๕๒๓๗ กรงุ เทพฯ โทร. ๐ ๒๒๑๕ ๗๑๑๑ โทรสาร ๕๕๒๘ ๒๐๐๔ ตอ่ ๒๐๐ www.baanklongresort. ๐ ๒๒๑๕ ๕๖๔๐ จา� นวน ๒๗๔ หอ้ ง ราคา ๙๐๐- com จา� นวน ๗๙ หอ้ ง ราคา ๓๗๐ บาท ๓,๕๐๐ บาท บ้านทะเลแก้ว ๒๓๕/๑๗ หมู่ ๕ ถนนสิงหวัฒน ์ ภเู กดิ ๓๔๒/๒ หมู่ ๗ ต�าบลสมอแข (เยื้องป๊มั เอสโซ่) (ราชภัฎทะเลแกว้ ) ตา� บลบา้ นคลอง โทร. ๐ ๕๕๒๔ โทร. ๐ ๕๕๓๓ ๘๙๐๐โทรสาร ๐ ๕๕๒๕ ๙๕๔๓ ๓๒๒๐-๓ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๓๒๒๒ ตอ่ ๒๐๐ จา� นวน www.phukirdhotel.com จ�านวน ๖๐ ห้อง ราคา ๓๘ หอ้ ง ราคา ๔๒๐-๒,๐๐๐ บาท ๓๘๐-๖๐๐ บาท บ้านไท รีสอร์ท ๑๘๒ หมู่ ๖ ถนนนครสวรรค์- มะขามสงู แลนดพ์ ารค์ ววิ ๔๓/๔ หม ู่ ๕ ตา� บลมะขาม บางระก�า ตา� บลท่าโพธ์ ิ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๗๕๐๒-๓ สูง โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๙๓๙๘ จ�านวน ๑๘ ห้อง ราคา จ�านวน ๔๖ ห้อง ราคา ๓๕๐-๕๕๐ บาท ๔๐๐-๕๐๐ บาท บ้านพักเยาวชนนานาชาติพิษณุโลก ๓๘ ถนน เมยฟ์ ลาวเวอร์ แกรนด์ พษิ ณโุ ลก ๓๙ ถนนสนามบนิ สนามบนิ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๒๐๖๐, ๐ ๕๕๓๗ ๘๔๒๘ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๑๐๖๕-๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๑๐๗๑ จ�านวน ๓๐ ห้อง ราคา ๑๕๐ บาท จ�านวน ๑๑๐ ห้อง ราคา ๙๘๐-๔,๐๐๐ บาท ปร๊ินเซสกรีน ๘ ถนนพระองค์ด�า โทร. ๐ ๕๕๓๐ มนต์ระวี พาวลิ เลยี น ๓๗๙ หม ู่ ๔ ถนนสิงหวัฒน์ ๔๙๘๘-๙ โทรสาร ๐ ๕๕๓๐ ๔๙๘๗ www.prin ต�าบลบ้านคลอง จา� นวน ๕๐ หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๘๐๐ cessgreenhotel.com จ�านวน ๒๘ ห้อง ราคา บาท ๔๙๐-๖๐๐ บาท โยเดีย เฮอริเทจ ๘๙/๑ ซอยพญาเสือ ถนนพุทธ ปญั ญาศลิ ปแ์ มนชน่ั ๘๘๘/๔๓ ถนนมติ รภาพ ตา� บล บูชา โทร. ๐ ๕๕๒๑๔ ๖๗๗, ๐ ๕๕๒๕ ๙๘๔๖ ในเมอื ง โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๐๔๖, ๐๘ ๖๙๒๘ ๘๘๕๖ www.yodiaheritage.com จา� นวน ๒๕ ห้อง ราคา จ�านวน ๒๒ หอ้ ง ราคา ๓๗๐ บาท ๓๕๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท พิษณุโลกออร์คิด ๘๑/๓๙ หมู่ ๘ ถนนธรรมบูชา รตั นา ปารค์ ๙๙๙/๕๙ ถนนมติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๓๗ ต�าบลหัวรอ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๐๐๕๑, ๐ ๕๕๓๐ ๘๒๓๔-๕ โทรสาร ๐ ๕๕๓๗ ๘๒๓๔ ต่อ ๑๒ จา� นวน ๑๐๙๕-๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๘ ๐๐๕๑ จา� นวน ๕๓ ๗๘ หอ้ ง ราคา ๘๙๐-๑,๗๐๐ บาท (รวมอาหารเชา้ ) ห้อง ราคา ๖๕๐-๑,๓๐๐ บาท 42 พิษณุโลก

ราชพฤกษ์ ๙๙/๙ ถนนพระองค์ดา� โทร. ๐ ๕๕๓๐ ไอยรา แกรนด์ พาเลซ ๙๙/๕ ถนนวิสุทธิกษัตริย ์ ๓๐๔๘-๕๐ โทรสาร ๐ ๕๕๓๐ ๓๑๘๐ จ�านวน ๗๐ ต�าบลในเมือง โทร. ๐ ๕๕๙ ๐๙๙๙ โทรสาร ๐ ห้อง ราคา ๓๐๐-๑,๕๐๐ บาท ๕๕๕๙ ๐๙๙๓ www.ayaragrandplace.hotel. ราชวงศ์ ๗๑๔ ถนนมติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๕๖๙, com จ�านวน ๗๐ หอ้ ง ราคา ๒,๒๐๐-๕,๐๐๐ บาท ๐ ๕๕๒๔ ๑๙๑๗, ๐ ๕๕๒๔ ๑๗๘๙, ๐ ๕๕๒๒ ภทั ธารารีสอรท์ แอนด์ สปา ๓๔๙/๔๐ ถนนไชยยา ๐๓๗๘-๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๐๓๗๖, ๐ ๕๕๒๕ นุภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๒๙๖๖, ๐๘ ๖๙๓๙ ๔๔๙๙ ๘๕๙๐ จ�านวน ๗๕ ห้อง ราคา ๒๕๐-๕๐๐ บาท โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๒๕๕๕ จา� นวน ๖๔ ห้อง ราคา รมิ น่าน ๕ ถนนมติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๙๐๖, ๕,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท ๐ ๕๕๒๘ ๒๒๗๓-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๘ ๐๐๑๙ ต่อ ลีลาวดี ปาร์ค แอนด์ โฮเทล ๒๒๗/๑๖๒ ถนน ๒๐๐ จ�านวน ๔๘ ห้อง ราคา ๔๐๐ บาท บรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๙๙๙ โทรสาร ลาพาโลมา ๑๐๓/๘ ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก โทร. ๐ ๐ ๕๕๒๔ ๒๕๕๕ จา� นวน ๖๐ หอ้ ง ราคา ๑,๐๐๐- ๕๕๒๑ ๗๙๓๐-๔ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๗๙๓๕ จา� นวน ๑,๕๐๐ บาท ๒๔๙ ห้อง ราคา ๙๐๐-๒,๕๐๐ บาท เครสซิเดนท์ ๑๙๙/๙๙ หมู่ ๗ ถนนพิษณุโลก- เลอ กรอ็ งค์ รสี อรท์ ๗๙/๑ หม ู่ ๗ สามแยกต้นหว้า นครสวรรค ์ ตา� บลทา่ โพธ ์ิ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๗๔๘๔-๗ ถนนพิษณโุ ลก-นครสวรรค์ โทร. ๐๘ ๓๔๘๙ ๖๖๘๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๖ ๑๘๖๔ www.kresidenthotel. โทรสาร ๐ ๕๕๒๓ ๐๒๓๒ จา� นวน ๓๐ ห้อง ราคา com จา� นวน ๕๐ หอ้ ง ราคา ๕๕๐-๗๕๐ บาท ๓๕๐-๔๕๐ บาท กรี ติเพลส ๑๔๑ ซอยอู่ทอง ถนนพระองค์ด�า โทร. ๐ ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางธุรกิจเวียงแก้ว ๕๕๒๑ ๒๔๖๔, ๐๘ ๗๘๔๖ ๕๔๔๘ www.keerati ๑๕๖ ถนนสิงหวัฒน์ ต�าบลพลายชุมพล โทร. ๐ place.com จา� นวน ๑๔ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๓๘๐ บาท ๕๕๒๑ ๖๓๙๐ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๖๓๘๘ จา� นวน เกยี รตวิ มิ ล ๒๔/๓๕ ถนนพระองคด์ า� โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๐ หอ้ ง ราคา ๓๐๐ บาท ๔๒๙๙, ๐ ๕๕๓๐ ๕๐๑๐ โทรสาร ๐ ๕๕๓๐ ๕๐๑๑ อมรินทรน์ คร ๓/๑ ถนนเจ้าพระยา โทร. ๐ ๕๕๒๑ จ�านวน ๔๕ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๔๕๐ บาท ๙๐๖๙-๗๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๙๐๔๔ กรงุ เทพฯ โทร. ธรรมชาติ รีสอรท์ ๓๕๕/๑๑ หมู่ ๑๑ หมู ่ ๗ ถนน ๐ ๒๒๔๓ ๔๑๕๐ โทรสาร ๐ ๒๖๖๘ ๕๒๒๒ จา� นวน มติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๓๐๒๖ จา� นวน ๓๔ ห้อง ๑๒๔ ห้อง ราคา ๔๒๘-๑,๘๐๐ บาท ราคา ๕๐๐-๕,๐๐๐ บาท อมรนิ ทรล์ ากนู ๕๒/๒๙๙ ถนนพระองคข์ าว โทร. ๐ บ้านกล้วยไม้ ๑๖๘/๕ ถนนพระองค์ขาว โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๐๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๐๙๔๔ กรงุ เทพฯ ๕๕๒๑ ๔๙๖๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๔๙๖๕ จา� นวน โทร. ๐ ๒๖๖๘ ๔๒๗๗ www.amarinlagoonhotel. ๑๒ ห้อง ราคา ๔๐๐-๔๕๐ บาท com จา� นวน ๓๐๑ หอ้ ง ราคา ๑,๖๐๐-๖,๐๐๐ บาท บ้านพามดาว ๒๙/๒๕๔ ซอย ๕ ถนนสิงหวัฒน์ เอส เจ ทาวน์เวอร์ ๒๙๐/๘๐ ถนนพิชัยสงคราม โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๗๗-๘ จา� นวน ๒๕ หอ้ ง ราคา โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๔๙๒๙, ๐ ๕๕๓๐ ๔๙๓๙, ๐ ๕๕๓๐ ๓๕๐ บาท ๔๙๒๙ ตอ่ ๓๓๓ จ�านวน ๓๒ หอ้ ง ราคา ๓๘๐-๔๓๐ บาท พษิ ณุโลก 43

มุมสวนรีสอร์ท ๑๘๘ หมู่ ๓ ต�าบลทา่ โพธ์ิ โทร. ๐ www.bankiangnum.9nha.com หรือ www. ๕๕๓๒ ๒๐๓๓ www.gardencornerresort.com bankiangnum.com บา้ นพกั ๔ หลงั ราคา ๖๐๐- จา� นวน ๓๐ ห้อง ราคา ๓๕๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท เมอริเดียน ๓๐/๒ หมู่ ๗ ต�าบลวัดจันทร์ โทร. ๐ บ้านเคยี งปอย กิโลเมตรที่ ๖๕ ริมน�า้ ตกปอย ๕/๑ ๕๕๒๑ ๖๗๗๑-๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๑ ๖๑๐๙ จ�านวน หมู่ ๑ ต�าบลแก่งโสภา โทร. ๐๘ ๓๖๒๗ ๕๓๘๓, ๖๐ ห้อง ราคา ๓๕๐-๖๐๐ บาท ๐๘ ๙๕๖๗ ๗๕๒๗ จ�านวน ๑๔ ห้อง ราคา ๓๐๐- รัตนาวิว ๗๓/๑-๕ ถนนมิตรภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๖๐๐ บาท ๑๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๒๒ ๑๙๙๙ ต่อ ๓๐๐ จ�านวน บ้านพักน�้าตกหลังสวน ๑ หมู่ ๘ ถนนพิษณุโลก- ๕๙ หอ้ ง ราคา ๓๕๐-๗๙๐ บาท หล่มสัก ตา� บลแกง่ โสภา กโิ ลเมตรที ่ ๕๑-๕๒ โทร./ เรอื นขมน้ิ ๙๙๙/๑๐๕ ถนนมติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๒ โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๓๓๓๘ จ�านวน ๖ ห้อง ราคา ๐๐๗๐ จา� นวน ๕๖ หอ้ ง ราคา ๓๙๐-๘๐๐ บาท ๔๐๐ บาท วนารมย ์ ๙/๓๓ ถนนสีหราชเดโชชัย ต�าบลวดั จนั ทร์ บา้ นพักสวนปา่ เขากระยาง หมู่ ๑ ตา� บลแกง่ โสภา โทร. ๐ ๕๕๓๕ ๕๑๕๖-๘, ๐๘ ๑๖๗๖ ๔๑๑๖ ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตรที่ ๖๐ ทางเข้า โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๘๙ จ�านวน ๗๕ ห้อง ราคา น้�าตกปอย โทร. ๐๘ ๑๖๐๔ ๔๒๐๗, ๐๘ ๖๒๐๘ ๓๕๐-๕๙๐ บาท ๘๑๑๖ www.fio.co.th บ้านพัก ๑๐ หลัง ราคา ๘๕๐-๓,๐๐๐ บาท เต็นท์ ๗๐ บาท อา� เภอวังทอง บ้านริมแก่ง ๒๙๓ หมู่ ๙ ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก เดอะ ฮลิ ล์ รสี อรท์ ๔๒/๕ หม ู่ ๙ ตา� บลแกง่ โสภา ถนน กิโลเมตรที่ ๔๙ ต�าบลแก่งโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ พิษณุโลก-หลม่ สกั กิโลเมตรท ่ี ๔๔ โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๙๗ จา� นวน ๑๔ ห้อง ราคา ๓๐๐-๑,๕๐๐ บาท ๓๐๕๘-๙ จ�านวน ๘ หอ้ ง ราคา ๔๐๐-๑,๒๐๐ บาท บ้านสวนวังนกแอน่ รีสอร์ท ๕๖๔ ถนนพิษณโุ ลก- ทรพั ยไ์ พรวลั ย์ แกรนด์ โฮเตล็ แอนด์ รสี อรท์ ๑/๗๙ หลม่ สัก กโิ ลเมตรท ่ี ๓๗ ตา� บลวังนกแอน่ โทร. ๐๘ หม ู่ ๒ ถนนพษิ ณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตรท ี่ ๕๓ ต�าบล ๑๕๓๓ ๖๔๘๘, ๐๘ ๙๘๘๐ ๐๐๐๔ จา� นวน ๑๓ หอ้ ง แก่งโสภา โทร./โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๓๓๔๕ ส�านักงาน ราคา ๘๐๐-๒,๕๐๐ บาท พษิ ณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๓๔๕ www.resort.co.th พนาวัลย์ รีสอร์ท ๔๑ หม่ ู ๒ ตา� บลแก่งโสภา ถนน จา� นวน ๑๔๒ หอ้ ง ราคา ๑,๕๐๐-๔,๔๐๐ บาท พิษณุโลก-หลม่ สกั กโิ ลเมตรท ่ี ๕๑ โทร./โทรสาร ธารวังทอง รีสอร์ท ๒๖๑ หมู่ ๗ ต�าบลวังนกแอ่น ๐ ๕๕๒๙ ๓๐๔๐ จา� นวน ๑๑ ห้อง หอ้ งพกั รวม ๑ ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก สามแยกทางเข้าบ้านใหม่- หอ้ ง ราคา ๕๐๐-๑,๕๐๐ บาท ร่มเกล้า โทร. ๐ ๕๕๓๘ ๔๒๒๒, ๐ ๕๕๒๖ ๘๑๒๓ เรน ฟอเรสท์ รีสอร์ท ๔๒ หมู่ ๙ ต�าบลแก่งโสภา โทรสาร ๐ ๕๕๒๖ ๘๑๒๔ จา� นวน ๓๕ หอ้ ง ราคา ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตรท่ี ๔๔ โทร. ๐ ๖๐๐-๖,๐๐๐ บาท ๕๕๒๙ ๓๐๘๕-๖ โทรสาร ๐ ๕๕๒๙ ๓๐๘๖ www. บา้ นเคยี งนา�้ แก่งซอง ๔๒/๓ หม ู่ ๙ ตา� บลแกง่ โสภา rainforestthailand.com จ�านวน ๑๗ หอ้ ง ราคา ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตรที่ ๔๕ ติดน้�าตก ๑,๕๐๐-๖,๕๐๐ บาท แกง่ ซอง โทร.๐ ๕๕๒๙ ๓๔๔๑, ๐๘ ๗๒๐๔ ๐๙๖๙ 44 พิษณโุ ลก

วนธารา เฮลท์ รสี อร์ท แอนด์ สปา ๖ หม ู่ ๙ ตา� บล รงุ่ กานต์ เกสต์เฮาส ์ ๑๙๓ หม ู่ ๔ ตา� บลปา่ แดง โทร. แกง่ โสภา ถนนพษิ ณโุ ลก-หลม่ สกั ทางหลวงหมายเลข ๐ ๕๕๓๘ ๑๑๔๕ จ�านวน ๑๘ ห้อง ราคา ๒๕๐- ๑๒ กโิ ลเมตรท ี่ ๔๖ โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๔๑๑-๔ โทรสาร ๓๕๐ บาท ๐ ๕๕๒๙ ๓๔๑๕ กรุงเทพฯ โทร. ๐ ๒๓๑๘ ๘๘๙๕- ๖ www.wanathara.com จา� นวน ๓๖ หอ้ ง ราคา รา้ นอาหาร ๑,๖๐๐-๓,๘๐๐ บาท อา� เภอเมอื งพษิ ณโุ ลก กนกภัณฑ์ (ก๋วยเต๋ียวสุโขทัย) ๒๓/๒๕-๒๗ ถนน อ�าเภอพรหมพิราม เอกาทศรถ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๐๙๗๐ ลลี าวดี กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท ๙/๙ หม ู่ ๑ ตา� บล ก๋วยเตี๋ยวเกี้ยมอี๋โชคอ�านวย ๒๐๓/๑๗ ถนนบรม ท่าช้าง โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๙๙๙, ๐๘ ๙๔๖๐ ๓๕๙๑ ไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๒๕๑๗, ๐๘ ๗๒๐๘ จา� นวน ๘ ห้อง ราคา ๘๐๐-๑,๐๐๐ บาท ๔๗๔๔ วอเตอร์แลนด์ กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด ์ สปา ๔๓/๒ กว๋ ยเตย๋ี วจกุ ไกไ่ ทย ๗๕ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. หม่ ู ๓ ต�าบลศรภี ริ มย ์ โทร. ๐ ๕๕๙๙ ๓๗๐๐-๓, ๐ ๐ ๘ ๖๕๙๑ ๐๓๔๒ ๕๕๒๐ ๐๙๙๙ โทรสาร ๐ ๕๕๙๙ ๓๗๐๔ www. ก๋วยเตี๋ยวเจ๊ตุ๊ ๕๒๔/๒๐ ถนนมิตรภาพ โทร. ๐๘ waterlandgolfresort.com จ�านวน ๔๘ ห้อง ราคา ๑๖๐๔ ๑๑๐๕ ๑,๐๐๐-๘,๐๐๐ บาท ก๋วยเต๋ยี วไทยใบตอง ๑๘/๓๗ ถนนสนามบนิ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๔๔๘๖ อ�าเภอนครไทย กว๋ ยเตยี๋ วปา้ ลอ้ ม ๒๙๑ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. นครไท รีสอร์ท ๒๗ หมู่ ๒๗ ต�าบลหนองกะท้าว ๐ ๕๕๒๔ ๖๙๘๗ โทร. ๐๘ ๑๗๐๗ ๖๙๕๑ จ�านวน ๑๕ ห้อง ราคา ก๋วยเตี๋ยวเรืออยุธยา ๑ หมู่ ๑๒ ถนนพิษณุโลก- ๓๕๐-๖๐๐ บาท วัดโบสถ์ ตา� บลหัวรอ โทร. ๐ ๕๕๓๒ ๑๑๓๑ บ้านรนิ ลดารีสอรท์ ๖๘ หมู่ ๙ ตา� บลหนองกะท้าว กว๋ ยเต๋ียวห้อยขาพษิ ณโุ ลกสองแคว ๘๕/๒๔ ถนน โทร. ๐๘ ๙๖๐ ๓๔๕๘, ๐๘ ๑๙๗๑ ๗๑๓๖, พุทธบูชา โทร. ๐๘ ๑๓๗๙ ๒๑๕๐ ๐ ๕๕๓๘ ๙๕๒๕ ก๋วยเตีย๋ วหอ้ ยขารมิ นา่ น ๕/๔ ถนนพญาเสือ โทร. ปั้นหยากาแล รีสอร์ท ๖๓ หมู่ ๑๑ ต�าบลนาเพิ่ม ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๖๙ โทร. ๐ ๕๕๓๖ ๓๑๐๑ จ�านวน ๑๗ ห้อง ราคา ก๋วยเต๋ียวอาซ้อเย็นตาโฟ ขา้ งสโมสรรถไฟ ๑๐๙/๙ ๒๕๐-๕๐๐ บาท ถนนธรรมบูชา โทร. ๐๘ ๓๙๕๗ ๙๖๕๐ กา� แพงเพชรโภชนา สาขา ๕ (โคกมะตมู ) ๖๐๒/๑๓- อ�าเภอชาตติ ระการ ๑๔ ถนนพิชัยสงคราม บา้ นองิ ดอย ๑๓๗ หม ู่ ๕ ตา� บลปา่ แดง โทร. ๐ ๕๕๓๘ ๑๐๙๕ จา� นวน ๑๐ หอ้ ง ราคา ๒๕๐-๓๕๐ บาท พษิ ณุโลก 45

กา� แพงเพชรโภชนา สาขา ๗ (บา้ นคลอง) ๒๙/๑๖ ไทยฟอรย์ ู ๑๕๙/๒ หม ู่ ๕ ตา� บลพลายชมุ พล ทางเขา้ ถนนสงิ หวฒั น ์ ตา� บลในเมอื ง โทร. ๐๘ ๑๕๓๒ ๒๖๒๘ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏส่วนทุ่งทะเลแก้ว โทร. กงุ้ แกว้ ๑๖๗ หม ู่ ๓ ถนนสงิ หวฒั น ์ ตา� บลพลายชมุ พล ๐ ๕๕๓๔ ๑๐๐๘, ๐๘ ๓๑๖๕ ๖๔๘๔ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๒๙๙๘, ๐ ๕๕๒๖ ๒๒๗๗ ธนชาติ ปารต์ บี้ ฟุ เฟต่ ์ ๓๕๗/๒ ถนนบรมไตรโลกนารถ ขนมจีนหล่มเก่าคุณใบเตย ๓๐/๒๐ ถนนพระลือ ต�าบลในเมือง โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๗๖๙๖, ๐๘ ๑๓๙๕ คเู มอื งประตชู ยั (หลงั อาชวี ศกึ ษาพษิ ณโุ ลก) โทร. ๐๘ ๑๓๓๓ ๑๙๗๑ ๑๓๘๕, ๐๘ ๖๖๗๘ ๙๑๑๐ นวลศรี โภชนา ๒๐๐/๓๒-๓๓ ถนนพิชัยสงคราม ข้าวแกงชาววัง ๒๔๕/๖๗ ถนนบรมไตรโลกนารถ ตา� บลในเมอื ง โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๒๐๘๕, ๐๘ ๑๕๓๒ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๖๕๗๓, ๐ ๕๕๒๑ ๗๖๐๕ ๓๑๒๗ ครวั มีด ี ๗๓/๑-๕ อาคารลิไท ถนนพญาลิไท โทร. ๐ นอก-ชาน ๕๑/๕ หม ู่ ๙ ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ๕๕๒๑ ๙๖๒๖-๙ ตา� บลท่าโพธ ิ์ โทร. ๐๘ ๑๖๗๔ ๑๔๒๒ โชคอ�านวย (ปลาแม่น�้า) ๒๔๗/๘ หมู่ ๑๐ ถนน นา่ นนา�้ ๘๙/๔ ถนนวงั จนั ทน ์ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๖๔๐๔, พิษณโุ ลก-นครสวรรค ์ ตา� บลท่าทอง โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๐ ๕๕๒๓ ๐๔๔๔ ๖๓๒๐ น้าอ้อยข้าวต้ม ๔๔๑/๙ ถนนบรมไตรโลกนารถ ๒ ญามิละห์ ฮาลาลฟดู้ ๕๐/๒๐ ถนนพระองคด์ า� โทร. ตา� บลในเมือง โทร. ๐๘ ๖๙๓๐ ๕๒๙๓ ๐ ๕๕๓๐ ๑๓๐๐ นา้� ฟา้ ๗๙/๑๖ ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก โทร. ๐ ๕๕๒๒ ดานัง ๒๖๐/๒ ถนนสนามบิน โทร. ๐๘ ๑๖๐๒ ๕๑๘๙ (อาหารมงั สวริ ตั )ิ ๑๕๕๕, ๐ ๕๕๒๓ ๐๗๘๘ บะหม่ีโบราณ ๗๖/๖-๗ (หลังโรงแรมราชพฤกษ์) ต้นปบี ๔๑๘/๗ หม ู่ ๕ ถนนเอกาทศรถ ตา� บลหวั รอ ถนนวิสุทธิกษัตริย์ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๑๓๙, ๐๘ โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๐๒๙๐-๑ ๑๖๗๕ ๗๘๐๕ ตง้ั หลกั ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๒๔๕ บา้ นคุณพ่อ ๔-๔/๑ ถนนเจา้ พระยาพิษณโุ ลก โทร. ต�าม่ัว ๑๑๒๓/๔ ถนนบรมไตรโลกนารถ ต�าบลใน ๐ ๕๕๒๓ ๑๕๗๔ เมือง โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๔๙๘๘ บา้ นเพอ่ื นพ ี่ ๒ ถนนสงิ หวฒั น ์ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๘๘๖๖, ติ่มซ�า ตี้โถว ๘๙๕/๖ ถนนบรมไตรโลกนารถ ตา� บล ๐๘ ๖๕๘๙ ๒๗๘๙ ในเมอื ง โทร. ๐๘ ๙๗๐๔ ๕๕๔๘, ๐๘ ๔๙๕๒ ๖๔๔๖ บ้านไม ้ ๙๓/๓๐ ถนนอทู่ อง โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๑๒๒, เตี๊ยวก๊า-กาแฟสด (บะกู๊ดเต๋) ๑๘ ถนนสนามบิน ๐๘ ๖๙๒๕ ๕๐๑๘ ต�าบลในเมือง โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๔๓๒, ๐๘ ๙๗๐๓ บา้ นสวุ รรณ ๑๗๑/๕ ซอยเยน็ จติ ถนนสงิ หวฒั น ์ โทร. ๗๒๕๓ ๐ ๕๕๒๔ ๖๓๔๓ ทรเี ฮาส ์ ๔๘ ถนนสนามบนิ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๕๘๗-๘, ใบ๋มุสลิม ๔๙ ถนนพระองค์ด�า โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๐๘ ๖๑๑๖ ๐๗๘๒ ๓๕๓๔, ๐๘ ๙๑๖๐ ๑๘๐๐ ทิพยร์ ส ๙ ถนนไสฤาไท โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๒๐๐ ป.บางรกั ๓๐๘/๖๓ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๒๓๔๕ ป.ปักษ์ใต้ ๒๑๑/๔๖ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๒๘๔ 46 พิษณุโลก

ปา้ บวั โรย (หลงั ศาลากลางจังหวัด) ถนนเทพารกั ษ์ วิโรจน์ ผักบุ้งเหิรฟ้า (สาขา ๑) ๕๒๔/๒๔ ถนน ปารฉิ ัตร (เบยี รว์ ุน้ -แจว่ ฮอ้ น) ๒๖/๑ ถนนสนามบนิ มติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๕๖๘ โทร. ๐ ๕๕๓๗ ๗๑๙๙, ๐๘ ๑๖๒๘ ๐๗๑๙ วโิ รจน์ ผักบงุ้ เหริ ฟ้า (สาขา ๒) ๖๐๘/๑๑๔ ถนน แป้งหมัก ๒๓/๕ ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ ๕๕๒๑ มติ รภาพ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๑๑๒๘ ๔๒๘๔, ๐๘ ๑๕๓๓ ๖๒๕๖ วีระทะเลเผา ๗๒/๔ ถนนสนามบนิ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ผักบุ้งเหิรฟ้า (ริมน�้าน่าน) ถนนพุทธบูชา โทร. ๐ ๒๓๐๑ ๕๕๒๔ ๙๘๓๒ เวียตนาม ๕/๙ ถนนพระองค์ด�า โทร. ๐ ๕๕๒๕ ผกั บงุ้ เหริ ฟา้ ถนนพระองคด์ า� โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๑๘๖, ๙๐๖๕ (อาหารเวยี ดนาม) ๐ ๕๕๒๕ ๑๓๔๘ ศ. โภชนา ๕๕/๕๐-๕๑ ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก โทร. พังกี่ข้าวมันไก่ ๒๙๘/๙๘ ถนนพญาเสือ โทร. ๐ ๐ ๕๕๒๕ ๑๙๓๓ ๕๕๓๐ ๔๘๔๓, ๐ ๕๕๓๐ ๔๗๑๒ สกุลเงิน ๑๓/๕ หมู่ ๒ ต�าบลบ้านคลอง โทร. ๐ เพอ่ื นเจ ๕๕/๙ ถนนศรธี รรมไตรปฎิ ก โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๕๕๒๔ ๘๐๙๕, ๐๘ ๙๗๐๓ ๑๑๓๓ ๙๐๙๘ (อาหารเจ) ส้มต�าครกไม้ (สาขาตลาดทรัพย์อนันต์) ๙๗/๒๗ แพเพญ็ ๑๙๙๗ ๑๐๐/๖๕ ถนนแพพุทธบูชา โทร. หม ู่ ๑ ถนนบรมไตรโลกนารถ ซอย ๔๕ ตา� บลทา่ ทอง ๐๘ ๔๙๙๐ ๐๘๑๑ โทร. ๐๘ ๙๕๖๗ ๔๓๙๕ แพฟา้ ไทย ๑๐๐/๔๙ ถนนพทุ ธบูชา โทร. ๐ ๕๕๒๘ ส้มต�าครกไม้ (สาขาศูนย์การค้าปทุมทอง) ๔๓๑๖, ๐ ๕๕๒๘ ๔๖๓๑, ๐๘ ๗๓๑๗ ๘๐๘๙, ๐๘ ๕๙/๑๘๔-๕ ถนนบรมไตรโลกนารถ ซอย ๗ โทร. ๑๗๐๑ ๑๑๙๙ ๐๘ ๑๔๗๔ ๔๐๔๙ แพสองแคว ๓๐๕/๕ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ สวนอาหารฟ้าไทยฟาร์ม ๑๔๔/๑ หมู่ ๑๑ ต�าบล ๕๕๒๔ ๒๑๖๗, ๐๘ ๑๘๘๗ ๘๔๘๘ ทา่ ทอง กโิ ลเมตรท่ี ๑๐ ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ แพอาหารสบายโบต๊ ๒๙ ถนนวังจนั ทน์ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๖๕๐๘-๙, ๐๘ ๑๖๘๐ ๒๒๘๕ www. ฟาเคราห ์ ๕๒/๖ ถนนพระองค์ดา� โทร. ๐ ๕๕๓๐ fathaifarm.com ๓๓๒๙, ๐๘ ๑๕๓๓ ๓๗๘๖ สองแควข้าวย�าแหนมคลุก ๖๒/๒๒ ถนนบรม ภัตตาคาร ส. เลิศรส ๔/๕-๗ ถนนอาทิตย์วงศ์ โทร. ไตรโลกนารถ ตา� บลวดั จนั ทร ์ โทร. ๐๘ ๑๖๐๕ ๔๑๒๙ ๐ ๕๕๒๕ ๘๔๔๒ สายชล ๒๖๐ ถนนสนามบนิ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๑๑๗๘, มังคละ ๓๘ ถนนบรมไตรโลกนารถ โทร. ๐ ๕๕๒๒ ๐๘ ๑๒๘๑ ๕๖๖๑ ๕๒๒๘-๓๓ สุพัตรา-เวียดนามเฮาส ์ ๕/๙ ถนนพระองค์ดา� โทร. ไมแ้ บบ ๑๐๗/๙ ถนนสงิ หวฒั น ์ ตา� บลบา้ นคลอง โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๓๕๑๓, ๐๘ ๑๙๕๓ ๖๔๖๔ ๐ ๕๕๒๔ ๗๖๐๓ สุมาลีสาล่ีสุพรรณ ๑๙๗/๖ ถนนเอกาทศรถ โทร. ระเบยี งไม ้ ๖๘/๓ ถนนเอกาทศรถ ตา� บลในเมอื ง โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๙๓๗ ๐ ๕๕๒๔ ๗๘๐๐-๙ เสาวรสโภชนา ๒๑/๓๙ ถนนสนามบิน โทร. ๐ เลอสรีนลากูน ๑๑๑๑/๑ ถนนบรมไตรโลกนารถ ๒ ๕๕๒๑ ๐๙๔๒ โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๕๕ พิษณโุ ลก 47

หมวยอีสาน ๘๙๕/๑๖-๑๗ ซอย ๔๓/๑ ถนนบรม สวนอาหารนติ ยา ๕๔ หม ู่ ๙ ถนนพษิ ณโุ ลก-หลม่ สกั ไตรโลกนารถ ๒ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๖๐๖, ๐๘ ๑๒๘๐ กิโลเมตรท่ี ๔๕ ต�าบลแก่งโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๙๙๐๕ ๓๒๑๒, ๐๘ ๙๒๖๘ ๑๒๑๔ หว่องริมน่าน ๒๐๑/๑ ถนนบางพยอม โทร. ๐ ๕๕๒๘ ๐๒๒๒ อ�าเภอนครไทย อมอเร ่ ๘๙/๑ ถนนพุทธบูชา โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๖๗๗ นครไทยรสี อรท์ ๒๗ หม ู่ ๒๗ ตา� บลหนองกะทา้ ว โทร. อาหารต้ังหลัก ๒๓/๒๕ ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ ๐๘ ๑๗๐๗ ๖๙๕๑ ๕๕๒๑ ๔๒๔๕ รังทอง อุทยานแห่งชาติภูหนิ ร่องกล้า ตา� บลเนนิ เพ่ิม ไอโกะ ๘๓/๒๒๒ (หน้าโรงแรมแกรนด์ริเวอร์ไซด์) โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๙๙๗๓ ถนนพระรว่ ง โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๖๐๐๙, ๐๘ ๑๘๘๖ ๗๕๕๘ อา� เภอวดั โบสถ์ ฮาลาลฟดู้ ตรงขา้ มมสั ยดิ ปากสี ถาน โทร. ๐๘ ๙๔๖๐ ครัวแควน้อย ๑/๑ หมู่ ๑ ต�าบลคันโช้ง โทร. ๐๘ ๖๓๙๗ (อาหารมุสลมิ ) ๕๐๕๒ ๖๒๙๗ อ�าเภอวงั ทอง บริษัทน�าเที่ยว กาแฟสดจ่าทวี ๒๕/๑๐ หมู่ ๙ ถนนพิษณุโลก- อ�าเภอเมืองพษิ ณโุ ลก หล่มสัก กิโลเมตรที่ ๔๕ ต�าบลแก่งโสภา โทร. ๐ เจา้ สวั พาเท่ียว ๗๔/๒ ถนนสีหราชเดโชชยั โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๒๗๑ ๕๕๒๑ ๖๕๑๐ ไกถ่ งั วงั ทอง ๔๘๕ หม ู่ ๙ ตา� บลวงั ทอง โทร. ๐ ๕๕๓๑ ณณธพรทัวร์ ๔๕๙/๖๒๒ หมู่ ๗ ถนนมติ รภาพ โทร. ๑๕๒๗ ๐ ๕๕๒๒ ๔๓๕๓ ต�าไทย ๑๒๕/๔ หมู่ ๑ ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก ปา๋ เทพทัวร ์ ๒๘๑/๒๕ หม่ ู ๕ ถนนเอกาทศรถ โทร. กโิ ลเมตรท ี่ ๒๒ ตา� บลวงั ทอง โทร. ๐๘ ๕๗๒๙ ๑๐๐๔ ๐ ๕๕๓๒ ๑๒๖๘ ถิ่นไทยลานลั่นทม ๔๔/๔ หมู่ ๓ ถนนพิษณุโลก- มังคละ ทราเวลิ ๒๙๑/๒๙ ถนนพิชัยสงคราม โทร. หล่มสัก กิโลเมตรท ่ี ๔๒ ตา� บลวังนกแอน่ โทร. ๐๘ ๐ ๕๕๒๔ ๘๒๔๓ ๓๒๑๙ ๒๘๒๒, ๐๘ ๑๒๘๐ ๐๕๙๕ รังทองทัวร์ ๕๕/๓๗ ถนนศรีธรรมไตรปิฎก โทร. บ้านสวนวังนกแอ่น ๕๖๔ หมู่ ๗ ถนนพิษณุโลก- ๐ ๕๕๒๕ ๙๙๗๓, ๐ ๕๕๒๑ ๙๕๑๐-๓, ๐ ๕๕๒๕ หลม่ สัก ตา� บลวงั นกแอ่น โทร. ๐๘ ๑๕๙๕ ๕๕๙๗ ๒๙๐๓, ๐ ๕๕๒๔ ๔๓๒๕ บา้ นแสงตะวนั ถนนสายพษิ ณโุ ลก-หลม่ สกั กโิ ลเมตร เอเบิลทัวร์แอนด์ทราเวล ๕๕/๔๕ ถนนศรีธรรม ที่ ๒๘ โทร. ๐ ๕๕๓๘ ๔๐๖๗ ไตรปิฎก โทร. ๐ ๕๕๒๔ ๒๒๐๖ รมิ แกง่ ๙๗ หม ู่ ๙ ถนนพิษณุโลก-หล่มสัก กิโลเมตร ท ่ี ๔๕.๒ ต�าบลแก่งโสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๓๗๐ เรนฟอเรส รีสอรท์ ๔๒ หม ู่ ๙ ต�าบลแกง่ โสภา โทร. ๐ ๕๕๒๙ ๓๐๘๕-๖ 48 พิษณโุ ลก

บรษิ ทั รถเช่า บัทเจ็ท พิษณุโลก เคาน์เตอร์ภายในสนามบิน พษิ ณุโลก โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๕๕๖ (รถเก๋ง รถกระบะ อา� เภอเมอื งพษิ ณุโลก ขับเอง) จุมพร รถเช่า ๓๕/๕-๗ ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ รังทอง ทัวร์ ๕๕/๓๗ ศูนย์การค้าสุรสีห์ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๗๒๐, ๐ ๕๕๒๔ ๘๙๖๘ โทรสาร ๐ ๕๕๒๔ ๕๕๒๕ ๙๙๗๓, ๐ ๕๕๒๑ ๙๕๑๐-๓, ๐ ๕๕๒๕ ๒๐๕๗ (รถตู้พรอ้ มคนขบั ) ๒๙๐๓, ๐ ๕๕๒๔ ๔๓๒๕ โทรสาร ๐ ๕๕๒๕ ๑๗๓๑ ณัฐพงษท์ วั ร ์ ๘๐ หมู่ ๕ ต�าบลบ้านคลอง โทร. ๐ (รถต ู้ รถเกง๋ พร้อมคนขบั ) ๕๕๒๔ ๑๗๘๔, ๐๘ ๑๘๘๗ ๕๓๕๒ โทรสาร อนสุ รณท์ วั ร ์ ถนนเอกาทศรถ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๔๔๕๓ ๐ ๕๕๒๔ ๓๕๔๙ (รถบัสปรับอากาศ) เอวสิ พษิ ณุโลก ๓๘ ถนนสนามบิน โทร. ๐ ๕๕๒๔ ธนภทั ร ทวั ร ์ โทร. ๐ ๕๕๓๐ ๑๐๒๒ (รถต้)ู ๒๐๖๐ (รถเกง๋ รถกระบะ ขับเอง) นครไทยแอร ์ โทร. ๐ ๕๕๒๓ ๑๘๘๘ หมายเลขโทรศัพท์สา� คัญ ประชาสมั พนั ธ์จังหวดั โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๑๓๙๔ ส�านักงานจงั หวัด โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๕๕๙, ๐ ๕๕๒๔ ๖๔๔๑ ที่วา่ การอ�าเภอเมอื งพษิ ณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๐๐๗, ๐ ๕๕๒๔ ๕๑๓๖ โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช โทร. ๐ ๕๕๒๗ ๐๓๐๐ โรงพยาบาลพษิ ณเุ วช โทร. ๐ ๕๕๙๐ ๙๐๐๐ โรงพยาบาลรวมแพทย ์ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๙๓๐๗-๙ โรงพยาบาลกรงุ เทพพิษณโุ ลก โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๒๒๒๒ โรงพยาบาลอนิ เตอร์เวชการ โทร. ๐ ๕๕๒๑ ๘๗๗๗, ๐ ๕๕๒๑ ๗๘๐๐ สถานีต�ารวจภธู รอ�าเภอเมืองฯ โทร. ๐ ๕๕๒๕ ๘๗๗๗, ๐ ๕๕๒๕ ๙๐๐๐ ตา� รวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓ ต�ารวจทอ่ งเทยี่ วพิษณุโลก โทร. ๐ ๕๕๓๒ ๒๖๔๗-๘, ๑๑๕๕ กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา โทร. ๑๑๘๒ สอบถามหมายเลขโทรศัพท์ โทร. ๑๑๓๓ พิษณุโลก 49

50 พิษณโุ ลก