นายชนินทร์ ยะอนนั ต์ กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ
ข สรปุ ผลการตรวจแผนการจัดการเรียนรูบ้ ูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะ รายวชิ า ทศั นศลิ ป์ ๕ รหสั วิชา ศ๒๓๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ ความเหน็ ของคณะกรรมการวิชาการ ๑. หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เป็นแผนการจดั การเรียนร้ทู ี่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั โดยให้นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรม เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ใชส้ อนได้ (ลงชือ่ ) ............................................................ ( นางนพวรรณ โศจธิ าดาเจริญ) ................../................/......................... ๒. หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารวิชาการ เป็นการบรู ณาการแบบสอดแทรก ใช้สอนได้ (ลงช่อื ) ............................................................ ( นางรุ่งระพี สทิ ธชิ ยั ) ................../................/......................... ๓. ผอู้ านวยการโรงเรียน ............................................................................................................................. ......................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ ) ............................................................ ( นายคารณ มอ่ มดี) ผู้อานวยการโรงเรียนตรอนตรีสินธุ์ ................../................/....................
ก คานา สืบเนื่องจากการท่ีโรงเรียนตรอนตรสี ินธุ์ ไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการอนุรักษพ์ นั ธุกรรมพชื อันเน่อื งมาจากพระราชดาริฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในโครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้สนองโครงการดงั กลา่ ว จงึ ได้จักทาแผนการเรียนรู้ รายวชิ า ทศั นศิลป์ ๕ ศ๒๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียน ที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ที่สอดแทรกงานสวนพฤกษศาสตร์บูรณาการกลุ่มสาระต่างๆ เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดกิจ กจิ กรรมเรียนรู้ สอดแทรกกบั พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ ๒๕๕๑ กาหนดไว้ในมาตรา ๒๒ อย่างชัดเจนว่า การ จัดการเรียนการสอนต้องยึดหลักการที่ว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ ซึ่งนับว่า ผู้เรียนเป็นสาคัญ กระบวนการจัดการศึกษาจะต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็ม ศกั ยภาพ แผนการจัดการเรียนรู้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น หนว่ ยท่ี ๑ เรือ่ งทศั นธาตใุ นส่งิ แวดลอ้ มและงาน ทศั นศิลป์ จะทาใหค้ รูผสู้ อนและนกั เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมอยา่ งมคี วามสขุ ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีความรัก ความหวงแหนพืช พรรณไม้ รวมทัง้ มีการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนและสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชา ทัศนศิลป์ อกี ทง้ั ยังส่งผลใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลอีกด้วย ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้คาแนะนาและแสดงความคิดเห็น เพ่ือให้แผนการเรียนรู้บูรณาการงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนฉบับนี้เสร็จไปด้วยดี ผู้สอนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี นฉบับน้ี จาเป็นประโยชน์ในการพัฒนาผู้เรียน และส่งผลให้ผู้เรียนเป็นคนดี เป็นคนเก่ง พร้อมจะ ดาเนนิ ชวี ิตอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ นายชนินทร์ ยะอนันต์ ครผู สู้ อน
ข สารบญั หนา้ ก เรอ่ื ง ข คานา ๑ สารบญั ๕ โครงการประกอบการสอนบรู ณาการสาระการเรียนรู้ศลิ ปะกบั งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๖ วิเคราะหค์ วามสอดคล้องของหลกั สตู ร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะและงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ๗ การวเิ คราะห์การจดั ทาคาอธิบายรายวชิ า ๘ คาอธบิ ายรายวชิ า ๙ โครงสรา้ งหน่วยการจดั การเรียนรสู้ ู่แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๐ ผงั มโนทศั น์ ๑๔ แผนการจัดการเรียนรู้ ๑๕ บนั ทกึ ผลหลังสอน ๒๓ ใบความรู้ ๒๔ ใบงาน ภาคผนวก ผลงานนกั เรียน
๑ โครงการ บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นกับรายวชิ าทศั นศิลป์ ๕ (ศ๒๓๑๐๑) สนองกลยุทธโ์ รงเรยี น กลยุทธท์ ่ี ๕ ส่งเสรมิ ความโดดเดน่ และอัตลักษณ์ของโรงเรยี น พัฒนาแหล่งเรียนรทู้ ่ที นั สมัย ส่งเสรมิ องค์กรแหง่ การเรียนรู้ จุดเนน้ จดุ เน้นท่ี ๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลมุ่ สาระหลักเพิม่ ขน้ึ อย่างน้อยร้อยละ ๓ จุดเน้นท่ี ๓ เพม่ิ ศักยภาพนักเรียนในดา้ นภาษา ดา้ นคณติ ศาสตร์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และดา้ นเทคโนโลยี เพอื่ พัฒนาสู่ประชาคมอาเซยี น สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี ๓ ผเู้ รยี นมที กั ษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง รักเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง มาตรฐานท่ี ๔ ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ คดิ สรา้ งสรรค์ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาได้อย่างมสี ติสมเหตุสมผล มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรยี นมีความรู้และทักษะท่ีจาเป็นตามหลกั สูตร มาตรฐานท่ี ๖ ผเู้ รียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางาน รว่ มกับผ้อู ่นื ได้ และมีเจตนคติท่ดี ตี ่ออาชพี สุจริต มาตรฐานที่ ๗ ครูปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล ลักษณะโครงการ โครงการต่อเน่ือง โครงการใหม่ ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ นายชนินทร์ ยะอนนั ต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระยะเวลาดาเนินการ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๘ ๑. หลักการและเหตผุ ลโรงเรียนตรอนตรีสนิ ธุ์ ได้เข้ารว่ มโครงการอนุรักษ์พนั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ตามโครงการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยมี จดุ ประสงค์สาคัญคือ เพื่อใหน้ ักเรียนโรงเรียนตรอนตรีสินธ์ุ มีจติ ในการอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรัพยากรพนั ธุกรรมพืชให้ เกดิ ประโยชน์ต่อชุมชน เขา้ ใจและเหน็ ความสาคัญของพันธกุ รรมพชื ไดร้ ว่ มคดิ ร่วมปฏบิ ตั ิ จนเกิดประโยชนส์ ูงสุด โครงการดงั กลา่ วได้จดั กิจกรรมทีห่ ลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนได้ใกลช้ ดิ พรรณไม้ ศึกษาพรรณไม้อยา่ งลกึ ซ้ึง ทาใหเ้ ห็น คุณคา่ และตระหนกั ความสาคัญของพรรณไม้ทม่ี อี ยู่รอบตวั
๒ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น โดยจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน รายวชิ าทศั นศลิ ป5์ (ศ๒๓๑๐๑) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา 2558 หนว่ ยท่ี ๑ เรอื่ งทัศนธาตุในส่ิงแวดล้อมและ งานทศั นศลิ ป์ เรื่อง ทัศนธาตใุ นสิง่ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ และ ขนาดและสัดสว่ น ซง่ึ นักเรียนสามารถใชท้ กั ษะ ความรูใ้ นการวาดภาพ ๒. วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อใหน้ กั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจหลกั การใช้ทัสนธาตุ(K) ๒. เพื่อให้นกั เรยี นมีทักษะในการเขียนภาพ (P) ๓. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดส้ มั ผสั ใกล้ชิดและเกดิ ความรักตอ่ พชื พรรณ (A) ๓. เป้าหมาย ๓.๑ ผลผลติ ดา้ นปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ทกุ คนมีความรูค้ วามเข้าใจหลักการใช้ทศั นธาตุ ๒) นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ทุกคนมสี ่วนร่วมในการวาดภาพพรรณไม้ ๓) นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ทกุ คนไดส้ มั ผัส ใกล้ชิดและเกดิ ความรกั ต่อพชื พรรณ ดา้ นคณุ ภาพ ๑) นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ทกุ คนสามารถนาความรู้ความเข้าใจหลักการใชท้ ัศธาตมุ าประยกุ ตใ์ ช้ และนามาบรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นได้ ๒) นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ทกุ คนวาดภาพลกั ษณะของพรรณไม้ไดถ้ ูกต้อง ๓) นักเรียนมีความมุ่งม่นั ในการทางาน ใฝศ่ ึกษาเรียนรู้ และมวี ินัยในตนเอง ๓.๒ ผลลัพธ์ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ทกุ คนมที ักษะในการใช้ทัศนธาตุและสามารถนาความรู้ไปวาดภาพ พรรณไม้เป็นการบรู ณาการกับงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนได้ไม่ต่ากวา่ ร้อยละ ๘๐ ๔. กิจกรรมการดาเนนิ งาน กิจกรรม/รายละเอียด ระยะเวลา งบ ดาเนินการ ประมา ผู้รับผิดชอบ ๔.๑ ขน้ั เตรียมการ (P) ๔.๑.๑ นาเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ ๑๖ พ.ค. ๕๘ ณ ๔.๑.๒ ประชมุ ครูกล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะร่วมกัน - นายชนนิ ทร์ ยะอนันต์ วเิ คราะห์ความสอดคล้องหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ และครผู สู้ อนกลุ่มสาระ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับงานสวนพฤกษศาสตร์ การเรียนรู้ศิลปะ โรงเรยี น ๔.๑.๓ วางแผนการจดั การเรียนร้บู ูรณาการ
๓ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ๔.๒ ข้นั ดาเนนิ การ (D) ๓๑ พ.ค. ๕๘- ๑๔๕ นายชนินทร์ ยะอนันต์ ๔.๒.๑ วเิ คราะห์ความสอดคล้องหลักสตู รแกนกลาง ส.ค. ๕๘ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในรายวิชา ทศั นศลิ ป์ ๕ กบั งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๔.๒.๒ เขียนคาอธบิ ายรายวชิ า ทัศนศิลป์ ๕ โครงสร้าง หนว่ ยการเรยี นรู้ ผงั มโนทศั น์ ๔.๒.๓ จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ ๔.๒.๔ จดั ทาสอ่ื การเรียนการสอน ใบความรแู้ ละใบงาน ๔.๒.๕ จัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยบรู ณาการกบั งานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๔.๒.๖ วดั ผลและประเมนิ ผล ๔.๓ ขน้ั ตดิ ตามประเมนิ ผล (C) ๑๕ ก.ย. ๕๘ - นายชนนิ ทร์ ยะอนนั ต์ ตรวจผลงานการ ๔.๔ ขน้ั ประเมินและรายงานผล (A) ๓๐ ก.ย. ๕๘ - นายชนนิ ทร์ ยะอนนั ต์ สรปุ ผลการจดั การเรียนการสอนในรายวิชาทศั นศิลป์ ๕ ๕. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๑๔๒ คน ทเี่ รียนรายวชิ า ทัศนศิลป์๕ (ศ๒๓๑๐๑) ๖. ระยะเวลาดาเนนิ การ พฤษภาคม ๒๕๕๘ – กนั ยายน ๒๕๕๘ ๗. สถานที่ ๗.๑ หอ้ งศูนยส์ าระการเรียนรู้ศิลปะ ๗.๒ ห้องสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ๗.๓ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ๘. งบประมาณในการดาเนนิ การ - กระดาษถา่ ยเอกสาร จานวน ๑ รมี ๑๔๕ บาท
๔ ๙. การติดตามและประเมินผล วธิ ีการประเมิน เครอ่ื งมือท่ีใช้ ตัวชวี้ ัดความสาเรจ็ - การตรวจใบงาน - ใบงาน -การตรวจใบงาน -ใบงาน ผลผลติ (Outputs) -การสงั เกต - แบบสงั เกต ดา้ นปรมิ าณ -การตรวจใบงาน -ใบงาน ๑) นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ มคี วามรู้ - การตรวจชนิ้ งาน - แบบประเมินชิน้ งาน ความเขา้ ใจสรา้ งชนิ้ งานจากการเรยี นรไู้ ด้ - การสงั เกต - แบบสังเกต ๑๐๐% (K) - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ๒) นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ สามารถ - การตรวจช้นิ งาน แสวงหาความร้ดู ้วยตนเองได้ ๙๐% (P) ๓) นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ศกึ ษาพืช พรรณจากแหล่งเรียนรูใ้ นสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนครบ ๑๐๐% (A) ดา้ นคณุ ภาพ ๑) นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ สามารถ นาเสนอหรือแสดงผลงานได้ดี สะอาด สวยงาม (K) ๒) นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ มีความ กระตือรอื ร้นในการทากิจกรรม มเี จตคติท่ีดี(P) ๓) นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ทกุ คนเกดิ ความรักต่อพืชพรรณ ผลลัพธ์ (Outcomes) - นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จานวนร้อยละ ๘๐ มที ักษะในการทางานผลงาน และมีความ พึงพอใจต่อการจัดการเรยี นการสอนแบบ บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียนใน ระดับดี
๕ ๑๐. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ๑๐.๑ นกั เรียนสามารถนาทศั นธาตุมาสรา้ งผลงานได้อย่างสวยงาม ๑๐.๒ นักเรียนเกิดจติ สานกึ ในการอนุรักษพ์ รรณไม้ และความหลากหลายของส่ิงมีชวี ิต ๑๐.๓ นักเรียนมีความรบั ผิดชอบในการทางานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย มีความละเอียดรอบคอบในการทางาน ลงช่ือ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ (นายชนินทร์ ยะอนนั ต์) ลงช่ือ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ (นางนพวรรณ โศจิธาดาเจริญ) ลงชือ่ ผเู้ ห็นชอบโครงการ (นางรุ่งระพี สิทธิชัย) หวั หนา้ กลุม่ บริหารงานวิชาการ ลงชอื่ ผู้อนุมตั ิโครงการ (นายคารณ ม่อมด)ี ผู้อานวยการโรงเรยี นตรอนตรีสนิ ธุ
วิเคราะห์ความสอดคล้อง หลกั สูตรแกนกลา เชือ่ มโยงกบั งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน และม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะและง รายวชิ า ทัศนศลิ ป์ ๕ รหัสวิชา (ศ ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี ๑ ทศั นศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ศ1.1 สรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ศลิ ปะอย่างอสิ ระช่ืนชมและประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ชัน้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง งานส ม.๓ -ม.๓/๑บรรยายสิ่งแวดล้อม -ทัศนธาตุ หลักการออกแบบใน -องค์ปร และงานทัศนศิลป์ทเ่ี ลือกมา สง่ิ แวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ลาดับ โดยใช้ความรเู้ ร่ืองทัศนธาตุ ศึกษา(ห และหลกั การออกแบบ ลาดับ พรรณไม
๖ าง การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มาตรฐานการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ศ๒๓๑๐๑) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคดิ ต่องาน สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (สมศ) ระกอบท่ี ๓ ตัวบ่งช้ที ี่ ๓ ผูเ้ รียนมีความใฝ่รแู้ ละเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง บที่ ๑ การมีส่วนร่วมของผู้ ลาดบั ที่ ๓.๒ ผเู้ รยี นเรยี นรผู้ า่ นประสบการณ์ตรง หน้าปก) รว่ มกับผ้อู ื่นทัง้ ในและนอกสถานที่ บที่ ๓ การศึกษาขอ้ มูล ตวั บ่งชท้ี ี่ ๔ ผู้เรยี นคดิ เปน็ ทาเปน็ ม้ ลาดับที่ ๔.๒ ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการปรบั ตวั เข้า กบั สังคม ตัวบง่ ช้ที ี่ ๕ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผูเ้ รยี น
๗ การวิเคราะห์การจดั ทาคาอธิบายรายวชิ า ทศั นศิลป์ ๕ รหสั วิชา (ศ๒๓๑๐๑) ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตวั ช้ีวัด สาระสาคัญ(K) กระบวนการ(P) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค(์ A) ศ๑.๑ ม.๓/๑ – ทัศนธาตใุ นสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ – การศึกษา -มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการ บรรยาย – หลกั การออกแบบในส่ิงแวดลอ้ ม คน้ ควา้ ทางาน รกั ความเป็นไทย สง่ิ แวดล้อมและ และงานทศั นศลิ ป์ – การสงั เกต งานทศั นศลิ ป์ท่ี – การจาแนก เลอื กมาโดยใช้ – การบรรยาย ความรเู้ ร่ืองทศั น – การปฏิบัติ ธาตุและหลักการ การสร้างผลงาน ออกแบบ ศ ๑.๑ ม.๓/๒ – เทคนิค วิธกี ารของศิลปินในการสรา้ งงาน – การศกึ ษา -มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการ ระบแุ ละบรรยาย ทางาน รักความเป็นไทย เทคนคิ วิธีการของ ทัศนศลิ ป์ ค้นคว้า ศิลปินในการสร้าง งานทศั นศลิ ป์ – วธิ กี ารใช้ทัศนธาตุและหลกั การออกแบบ – การสังเกต ศ ๑.๑ ม.๓/๓ ในการสร้างงานทศั นศลิ ป์ – การวิเคราะห์ วิเคราะหแ์ ละ บรรยายวิธกี ารใช้ – การจาแนก ทศั นธาตุ และ หลกั การออกแบบ – การบรรยาย ในการสรา้ งงาน ทัศนศิลป์ของ – การปฏิบัติ ตนเองให้มคี ุณภาพ การสร้าผลงาน – การนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ในชวี ติ ประจาวัน
๘ คาอธบิ ายรายวิชา ศ ๒๓๑๐๑ ทัศนศลิ ป์ ๕ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง จานวน ๐.๕ หน่วยกติ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศกึ ษาวิเคราะห์ วิจารณ์ ค้นคว้า สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ ทศั นธาตุ เทคนิคการออกแบบท้ัง ๒ มติ ิ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ ส่ือความคดิ จินตนาการ ความรู้สกึ ความประทับใจดว้ ยวัสดุ อปุ กรณ์ วิธกี ารทาง ทศั นศิลป์ องคป์ ระกอบพน้ื ฐาน ขอบขา่ ย คุณค่างานทศั นศลิ ป์ สรา้ งสรรคง์ านทศั นศิลป์ เกี่ยวกับงาน จิตรกรรม ประติมากรรม ตามความถนัด และความสนใจ นาความรู้ ทางดา้ น ศิลปะ ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ใช้ความร้ทู างทัศนศลิ ป์สบื คน้ ข้อมลู ขา่ วสารเทคโนโลยีมาเช่อื มโยงใช้ ในชวี ิตประจาวนั และนาไปใชก้ บั ชีวติ ประจาวนั ได้ มคี วาม ซาบซึ้ง พึงพอใจ ยอมรับและเข้าใจวา่ วฒั นธรรม มีผลต่อการสร้างงานศลิ ปะรูจ้ กั ผลงานศลิ ปะใน ท้องถิน่ ตนเอง มคี วามภาคภูมิใจในศิลปะท่ีเป็นวฒั นธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญาไทย รหสั ตวั ช้ีวัด ศ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖ , ม.๓/) , ม.๓/๘ , ม.๓/๙ , ม.๓/๑๐ , ม.๓/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๑๓ ตัวช้วี ดั
๙ โครงสรา้ งหนว่ ยการจดั การเรียนรู้ ทศั นศลิ ป์ ๕ รหัสวชิ า (ศ๒๓๑๐๑) กล่มุ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง/ภาคเรียน ๐.๕ หนว่ ยการเรยี น อัตราสว่ นคะแนน ๑๐๐ คะแนน ระหว่างภาค : กลางภาค : ปลายภาค ๖๐ : ๒๐: ๒๐ ที่ ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน/ตัวช้วี ัด สาระสาคัญ เวลา คะแนน (100) การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) ๕๐ ๑ ความรู้ความ ศ ๑.๑ ม.๓/๑ การสร้างงานทัศนศิลป์นัน้ มีเทคนคิ ทห่ี ลากหลาย ๑๐ ๕๐ เข้าใจในงาน ข้ึนอยู่กับจินตนาการและการลงมอื ปฏิบัติของ ทศั นศิลป์ ศลิ ปนิ วา่ จะใชเ้ ทคนิคใดบ้าง ซ่ึงการใช้เทคนิคใน ๑๐๐ การสร้างสรรคผ์ ลงานน้ัน ศิลปินจะตอ้ งมีความรอบ ๒ หลักการสรา้ ง ศ ๑.๑ ม.๓/๒ รู้ และตอ้ งหม่ันศกึ ษาท้ังเร่ืองเส้น สี ฯลฯ เพือ่ เป็น ๑๐ พ้นื ฐาน และเป็นประสบการณ์ในการสรา้ งสรรค์ และพฒั นาผลงานต่อไป การโฆษณา คอื การทผ่ี ู้ผลิตนาเสนอสินคา้ หรือ งานทัศนศิลป์ ศ ๑.๑ ม.๓/๓ สงิ่ ของ ต่อสังคมหรือประชาชน จงึ เกดิ การศึกษา งานออกแบบและงานทัศนศิลป์ เพ่ือนามาประยุกต์ใช้ ในการโฆษณาใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ และผลักดนั ใหเ้ กิดความประทับใจในการโฆษณานนั้ รวม ๒๐
๑๐ ผังมโนทศั น์ การบูรณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ วชิ า ทศั นศลิ ป์ ๕ รหัสวชิ า (ศ๒๓๑๐๑) ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ จานวน ๐.๕ หนว่ ยการเรยี น จานวน ๒๐ ชัว่ โมง/ภาคเรยี น ความรู้ความเขา้ ใจในงาน ทศั นศิลป์ ทศั นศลิ ป์๕ หลกั การสร้างงาน ทศั นศิลป์
๑๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ ความรู้ ความเขา้ ใจในงานทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๘ วิชา ทศั นศิลป์ ๕ รหัสวชิ า (ศ๒๓๑๐๑) เวลา ๒ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ความรู้ ความเขา้ ใจในงานทัศนศิลป์ บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น องค์ประกอบท่ี ๓ (๓.๑)การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน(ก๗-๐๐๓) ลาดับที่ ๑ การมสี ว่ นร่วมของผศู้ ึกษา(หน้าปก) ลาดบั ท่ี ๓ การศกึ ษาข้อมลู พรรณไม(้ หน้า๒-๗) ครูผู้สอน นายชนินทร์ ยะอนนั ต์ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ ความรู้ ความเขา้ ใจในงานทัศนศิลป์ ๑. ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี (ศ ๑.๑ ม. ๓/๑) บรรยายส่ิงแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรเู้ ร่อื งทัศนธาตแุ ละหลกั การ ออกแบบ ๒. สาระสาคญั ทศั นธาตุในสงิ่ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ได้แก่ จดุ (Dot) เส้น (Line) รปู รา่ งและรูปทรง (Shape-Form) ขนาด สดั ส่วน (Size-Proportion) แสงเงา (Light-Shade) สี (Color) บริเวณว่าง (Space) ลกั ษณะผิว (Texture) ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ จดุ ประสงค์การเรียน (ผลลัพธ์ปลายทาง) – สามารถบรรยายสงิ่ แวดล้อมและงานทศั นศิลปเ์ ก่ียวกบั พรรณไม้ท่ีเลอื กมาโดยใช้ความรู้เรือ่ งทศั นธาตุได้ จดุ ประสงค์การเรียนรูย้ ่อย (นาทาง) 1. บรรยายสง่ิ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลปท์ ่ีเก่ียวกบั พรรณไมท้ ีเ่ ลอื กมาโดยใชค้ วามรู้เร่ืองทศั นธาตุ 2. เห็นความสาคัญในพรรณไม้ ส่ิงแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรเู้ รื่องทัศนธาตุ 3. วาดภาพพรรณไม้ ส่ิงแวดล้อม และงานทัศนศิลปท์ เ่ี ลือกมาโดยใชค้ วามรเู้ ร่อื งทัศนธาตุได้ ๔. สาระการเรียนรู้ ทศั นธาตุ หลกั การออกแบบในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์
๑๒ ๕. แนวทางบรู ณาการ โดยพจิ ารณาเกี่ยวกับความสอดคลอ้ งและความเหมาะสม เช่น การเช่อื มโยงกับวิชาตา่ ง ๆ ดงั นี้ ภาษาไทย เกีย่ วกบั การอา่ น การเขียน การสรปุ การบนั ทึกข้อมูล และการบรรยาย คณติ ศาสตร์ เกยี่ วกับการจาแนกทัศนธาตใุ นสง่ิ แวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ วิทยาศาสตร์ เกยี่ วกบั การสังเกตส่งิ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ สังคมศกึ ษาฯ เกี่ยวกับการปฏิบตั ิกจิ กรรมเป็นกลุม่ การงานอาชีพฯ เกีย่ วกับการจัดเตรียมและดูแลรกั ษาวัสดุ อุปกรณ์ ภาษาตา่ งประเทศ เกย่ี วกบั การอ่าน การเขยี นคาศพั ท์ทัศนศลิ ป์ ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นที่ ๑ ข้ันนาเข้าส่บู ทเรยี น ๑. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพอื่ ประเมนิ ความรู้ ๒. ครใู ห้นักเรียนสังเกตสิง่ แวดลอ้ มรอบตัวว่ามที ศั นธาตุอะไรบา้ งหรือไม่ ๓. ครูสนทนากบั นักเรียนเพอ่ื เชื่อมโยงความรูเ้ กี่ยวกบั ส่งิ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ท่ปี ระกอบไปด้วยทัศน ธาตุตา่ ง ๆ ขั้นท่ี ๒ ขนั้ สอน ๑. ครนู าตวั อยา่ งภาพสิง่ แวดลอ้ มและผลงานทัศนศลิ ป์ที่แสดงใหเ้ หน็ ทศั นธาตใุ ห้นักเรียนสงั เกต โดยครู ชใ้ี ห้เหน็ ทศั นธาตุทปี่ รากฏใน (ตวั อยา่ งภาพ) ส่งิ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์ ๒. แบง่ นกั เรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ ๕–๖คน รว่ มกันศกึ ษาคน้ ควา้ ความหมาย และสว่ นประกอบของทศั นธาตุ ท่มี ีความเกยี่ วข้องกับงานทัศนศลิ ปล์ งในแบบจดบันทึกและวาดภาพประกอบ ๓. แต่ละกลมุ่ ออกมาบรรยายผลการศกึ ษาความหมายและส่วนประกอบของทัศนธาตุ พรอ้ มท้ังจาแนกทัศน ธาตใุ นสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยครูคอยรว่ มบรรยายเสรมิ ในสว่ นท่นี กั เรียนไมเ่ ขา้ ใจหรือบรรยายไม่ถูกตอ้ ง ขน้ั ที่ ๓ ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรียนร่วมกันบรรยายสรปุ เรอ่ื ง ทศั นธาตใุ นส่งิ แวดล้อมและงานทัศนศลิ ป์ โดยใชค้ วามร้เู รื่องทศั น ธาตทุ ี่มีอย่ใู นส่งิ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์ ซ่ึงมีความสาคัญตอ่ การถ่ายทอดความคิดจินตนาการในรูปแบบตา่ ง ๆ ของ ผลงานทศั นศิลป์ โดยครคู อยให้ความรู้เสริมในสว่ นทีน่ กั เรยี นไมเ่ ข้าใจหรือสรุปไมต่ รงกับเน้อื หา ข้นั ที่ ๔ ฝึกฝนนักเรียน ๑. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๕–๖ คน ศกึ ษาทัศนธาตุทปี่ รากฏในงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ ที่ชื่นชอบ จัดทาเปน็ รายงาน แลว้ นามาบรรยายใหค้ รแู ละเพื่อน ๆ ฟงั เกี่ยวกบั ความสาคัญและคณุ คา่ ของ ทศั นธาตวุ า่ มีความสาคัญต่องานทัศนศลิ ป์อย่างไรบ้าง ๒. นักเรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานทศั นศลิ ปโ์ ดยนาความรเู้ รื่องทัศนธาตุมาใชใ้ นการวาดภาพพรรณไม้ต่างๆใน โรงเรียน ข้ันที่ ๕ การนาไปใช้
๑๓ นักเรยี นนาความรเู้ ร่ือง ทัศนธาตุในส่งิ แวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ มาใชก้ บั ผลงานทัศนศิลปข์ องตนเองและ การใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน ๗. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ ๑. ห้องสมุด ๒. ตวั อยา่ งภาพสงิ่ แวดล้อมและผลงานทศั นศลิ ปท์ ี่แสดงให้เห็นทศั นธาตุ ๓. วัสดุ อปุ กรณ์ในการสร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์ ๔. หนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ชัน้ ม.๓ บริษทั สานกั พมิ พว์ ัฒนาพานิช จากัด ๕. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพืน้ ฐาน ทศั นศิลป์ ชนั้ ม.๓บริษัท สานักพิมพว์ ัฒนาพานิช จากัด ๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์/พฤตกิ รรม นา้ หนกั ผล วิธกี ารวัดท่ีหลากหลาย เครือ่ งมอื การวดั การเรยี นรู้ การเรียนรู้ KPA ๑. บรรยายส่ิงแวดลอ้ ม / ๑. สังเกตจากการถามและการแสดงความ – แบบทดสอบกอ่ น และงานทัศนศิลปท์ ่ี คดิ เห็น เรยี น เลอื กมาโดยใช้ความรู้ ๒. จากการตรวจการวัดและประเมนิ ผล – แบบทดสอบด้าน เรอ่ื งทัศนธาตุ การเรียนรูป้ ระจาหนว่ ย ความรู้ ๓. จากการตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน – แบบบนั ทึกและการ จดบนั ทึกและวาด ๒. เห็นความสาคัญใน / ๑. สังเกตจากความซื่อสตั ยใ์ นการปฏิบัติ ภาพประกอบ ส่งิ แวดลอ้ มและงาน กจิ กรรม – แบบประเมินผลเรอ่ื ง ทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดย ๒. สงั เกตจากความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่ที่ ความรู้ ความเขา้ ใจใน ใช้ความรู้เรือ่ งทศั นธาตุ ไดร้ บั มอบหมาย งานทศั นศลิ ป์ ๓. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการ – แบบประเมนิ ผลดา้ น ประเมนิ ผลด้านคุณธรรม จริยธรรม และ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคา่ นยิ ม ๓. เขียนบรรยาย // ๑. สงั เกตจากการใช้วัสดุ อุปกรณ์อย่าง ถูกต้องและประหยดั สิ่งแวดล้อมและงาน ๒. จากการใช้ความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการ – แบบประเมนิ ผลด้าน ทกั ษะ/กระบวนการ ทศั นศิลปท์ ่ีเลือกมาโดย ใชค้ วามรู้เร่อื งทศั นธาตุ ปฏิบัติกิจกรรม ได้ ๓. สงั เกตจากความต้ังใจและผลการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมตามขน้ั ตอน ๔. สังเกตจากการนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
๑๔ ๕. ประเมินการปฏิบตั งิ านจากแบบบันทึก การจดบนั ทกึ และวาดภาพประกอบ ๖. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการ ประเมนิ ผลดา้ นทักษะ/กระบวนการ ๗. ประเมินพฤติกรรมจากแบบประเมนิ ผล เรอื่ ง ความรู้ ความเข้าใจในงานทัศนศิลป์ หมายเหตุ: ให้ครูใสค่ ะแนนแสดงเกณฑก์ ารประเมนิ ในแตล่ ะดา้ นตามความเหมาะสม ๙. กิจกรรมเสนอแนะ ๑. กิจกรรมสาหรับกลุ่มสนใจพิเศษ นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๔–๔คน ศึกษาสงิ่ แวดลอ้ มของโลกว่ามคี วามเกยี่ วข้องกบั ทัศนธาตุอยา่ งไร จัดทา เปน็ รายงาน แล้วนามาเล่าให้ครูและเพอ่ื น ๆ ฟัง โดยครูสนทนาซักถามเสริมเก่ียวกบั ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมและ ความเกย่ี วข้องกับทศั นธาตุอย่างไรบา้ ง ๒. กจิ กรรมสาหรับฝกึ ทกั ษะเพิม่ เติม ๑. นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานทศั นศิลปด์ ้วยทัศนธาตุตามความสนใจ ๒. นักเรยี นศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเติมเรอ่ื งทศั นธาตุในผลงานทัศนศลิ ปป์ ระเภทต่าง ๆ เพื่อฝึกทกั ษะการ นาทศั นธาตไุ ปใช้ในผลงานของตนเอง
๑๕ บันทกึ หลงั การสอน ผลการจัดการเรียนการสอน ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ปัญหา/อุปสรรค ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ แนวทางแก้ไข ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________ ลงช่ือ______________________ (ผบู้ นั ทึก) (นายชนินทร์ ยะอนนั ต์)
๑๖ ใบความรู้ ทัศนะ หมายถึง การเห็น สง่ิ ทีม่ องเหน็ ธาตุ หมายถึง สงิ่ ทถ่ี อื วา่ เป็นสว่ นสาคญั ทรี่ วมกัน เปน็ รปู รา่ งของส่งิ ท้งั หลาย ทศั นธาตุ หมายถึง ส่วนสาคัญท่รี วมกันเป็นรปู รา่ งของสงิ่ ท้งั หลายตามทตี่ ามองเห็น ทศั นธาตุ ไดแ้ ก่ ๑. จุด (Dot) ๒. เส้น (Line) ๓. สี (Color) ๔. รปู ร่างและรูปทรง (Shape and Form) ๕. นา้ หนกั (Value) ๖. บรเิ วณว่าง (Space) ๗. ลกั ษณะผิว (Texture) ๑. จุด (Dot) จดุ หมายถงึ รอยหรือแต้มท่ีมลี ักษณะกลมๆ ปรากฏทผี่ วิ พื้น ไม่มีขนาด ความกวา้ ง ความยาว ความหนา เปน็ สิ่งท่ี เลก็ ที่สุดและเปน็ ธาตุเร่ิมแรกทีท่ าใหเ้ กดิ ธาตอุ น่ื ๆ ข้นึ ๒.เสน้ (Line) เสน้ คือ จุดหลาย ๆ จดุ ตอ่ กนั เปน็ สาย เปน็ แถวแนวไปในทศิ ทางใดทิศทางหนึง่ เปน็ ทางยาวหรือจุดทเี่ คลื่อนที่ไป ในทศิ ทางใดทิศทางหนึง่ ด้วยแรงผลกั ดัน หรอื รอยขดู ขดี เขียนของวตั ถุเป็นรอยยาว เส้นแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ ๆ 2 ลักษณะ ดังน้ี ๑. เสน้ ตรง
๑๗ ๑.๑ เส้นด่งิ คือ เสน้ ตรงท่ีตง้ั ฉากกับพนื้ ระดับใหค้ วามรสู้ กึ มัน่ คง แข็งแรง สงา่ รงุ่ เรือง สมดลุ พงุ่ ขนึ้ ๑.๒ เส้นนอน คือ เส้นตรงทีน่ อนราบไปกับพ้ืนระดับ ให้ความรสู้ กึ กวา้ งขวาง สงบเงยี บ เยือกเยน็ ผอ่ นคลาย ๑.๓ เส้นเฉยี ง คอื เสน้ ตรงเอนไม่ต้ังฉากกบั พ้นื ระดับให้ความร้สู กึ ไมม่ ่ันคง เคลือ่ นไหว แปรปรวนไมส่ มบรู ณ์ ๑.๔ เส้นฟันปลา คอื เสน้ ตรงหลายเสน้ ต่อกนั สลับขนึ้ ลงระยะเทา่ กนั ให้ความรสู้ ึกรุนแรง กระแทก ตื่นเต้น อนั ตราย ขดั แย้ง
๑๘ ๑.๕ เส้นประ คอื เส้นตรงทข่ี าดเป็นช่วง ๆ มรี ะยะเทา่ กนั ให้ความรสู้ ึกตอ่ เน่ืองขาดระยะใจหาย ไมแ่ น่นอน ๒. เส้นโค้ง ๒.๑ เส้นโคง้ ลง คือ เส้นทเี่ ป็นท้องกระทะคล้ายเชือกหย่อน ให้ความรู้สกึ อ่อนโยน เคลอ่ื นไหวไม่แข็งแรง ๒.๒ เสน้ โคง้ ขึน้ คือ เสน้ ทโี่ ค้งเปน็ หลังเตา่ คล้ายคนั ธนใู ห้ความรสู้ กึ แข็งแรง เชือ่ ม่นั เคลือ่ นไหว
๑๙ ๓. เส้นคด คือ เส้นโคง้ ขึน้ โค้งลงต่อเนือ่ งกนั คล้ายคลนื่ ในทะเล ให้ความรสู้ ึกเล่ือนไหล ต่อเน่อื ง อ่อนช้อย น่มุ นวล ๔. เสน้ กน้ หอย คือ เสน้ โคง้ ต่อเน่ืองกนั วนเขา้ เล็กลงเป็นจุดคลา้ ยก้นหอย ให้ความรูส้ กึ อดึ อัด เคลือ่ นไหว คลีค่ ลาย ๕. เส้นโค้งอิสระ คือ เส้นโค้งต่อเนือ่ งกันไปไม่มที ิศทาง คล้ายเชอื กพนั กนั ให้ความร้สู กึ วนุ่ วาย ยุง่ เหยิง ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ๓.สี (Colour) สี หมายถงึ ลกั ษณะของแสงสว่าง ปรากฏแก่ตาใหเ้ ห็นเป็นสีขาว ดา แดง เขียว น้าเงนิ เหลอื ง เป็น ตน้ ถา้ ไม่มีแสงจะมองไม่เห็นสี ซึ่งสมี ี ๒ ชนิด ดงั นี้ ๑. สีทเ่ี ปน็ วตั ถุ (Pigment) สที เ่ี ปน็ รงควตั ถุสผี งหรอื ธาตุในร่างกายที่ทาใหค้ นมีสีตา่ ง ๆ สีทเ่ี กดิ จากวตั ถุ
๒๐ ธาตุ เชน่ จากพืช สัตว์ แร่ธาตุ เปน็ ตน้ ซ่งึ เปน็ สีทใี่ ชใ้ นงานศลิ ปะ ๒. สที เ่ี ป็นแสง (Spectrum) สีทีเ่ กดิ จากการหกั เหของแสง แสงส่องผา่ นแท่งแกว้ แสงแดดสอ่ งผ่านละออง นา้ ในอากาศจะเกดิ การหกั เหของแสงเปน็ สรี ุ้ง ๗สี ไดแ้ ก่ สีแดง ส้ม เหลอื ง เขียว น้าเงนิ คราม ม่วง วงจรสธี รรมชาติ วงจรสี เกิดจากการนาเอาแม่สีที่เปน็ วตั ถุมาผสมกันเปน็ สี ๓ ขนั้ มี ๑๒ สี คอื สีเหลือง เหลอื ง เขยี ว เขียว เขยี วน้าเงนิ น้าเงิน น้าเงินม่วง มว่ ง ม่วงแดง แดง แดงส้ม ส้ม เหลอื งส้ม หรือเรยี กวา่ วงล้อของสี ๑. สีข้นั ที่ ๑ คอื สีท่ีไม่มีสีใดสามารถผสมให้ได้สันี ้น ได้แก่ สแี ดง สเี หลือง สนี า้ เงิน
๒๑ สีขั้นที่ ๒ (Secondary Colours) เกิดจากการนาเอาแม่สที ี่เปน็ วตั ถทุ ้ัง ๓ สี มาผสมกันเกิดสใี หมข่ ้นึ มาอกี ๓ สี คอื ส้ม เขียว ม่วง สีขั้นที่ ๓ (Tertiory Colours) เกิดจากการนาเอาสีขนั้ ที่ ๑ กบั สขี ั้นท่ี ๒ มาผสมกัน ทลี ะคู่ทอ่ี ยตู่ ิดกัน จะไดส้ ีเพ่ิมขน้ึ อีก ๖ สี สแี ดง = ตนื่ เตน้ เรา้ ใจ อนั ตราย พลัง อานาจ รัก สีสม้ = ตนื่ ตัว ตน่ื เต้น เรา้ ใจ สนุกสนาน สีเหลอื ง = สดใส ร่าเริง ฉลาด เปรย้ี ว สีเขียวออ่ น = สดชน่ื ร่าเรงิ เบิกบาน สเี ขียวแก่ = สะอาด ปลอดภยั สดชนื่ ธรรมชาติ ชรา สนี ้าเงนิ = สภุ าพ เช่อื มน่ั หนกั แนน่ ถ่อมตวั ผ้ชู าย สฟี า้ = ราบร่ืน สวา่ ง วัยรุ่น ทนั สมยั สีม่วง = ฟุ่มเฟือย ลึกลับ ขเ้ี หงา สีชมพู = ความรัก ผู้หญงิ อ่อนหวาน นุ่มนวล หอม สีขาว = ความบรสิ ทุ ธ์ิ สะอาด ปลอดภยั เดก็ ทารก สีดา = ทกุ ข์ ลึกลับ สืบสวน หนักแน่น สีเทา = สภุ าพ ขรึม สนี ้าตาล = อนุรักษ์ โบราณ ธรรมชาติ ๔. รปู รา่ งและรูปทรง (Shape and Form)
๒๒ รูปร่าง (Shape) หมายถึง เส้นรอบนอกของ วตั ถุ คน สตั ว์ สง่ิ ของ มลี ักษณะเปน็ ๒ มติ ิ (กวา้ ง ยาว) รูปทรง (Form) หมายถงึ โครงสรา้ งของรปู วัตถุ คน สตั ว์ ส่งิ ของ มลี กั ษณะเป็น ๓ มิติ (กว้าง ยาว ลกึ ) ๕. น้าหนัก (Value) นา้ หนัก หมายถึง ความอ่อนแก่ของสี หรอื แสงเงาท่นี ามาใชใ้ นการเขยี นภาพ น้าหนักทาใหร้ ูปทรงมี ปริมาตร และให้ ระยะแกภ่ าพ แสงและเงา(Light & Shade) แสงและเงา เป็นองคป์ ระกอบที่อยคู่ ู่กนั แสง เม่ือส่องกระทบกบั วตั ถุ จะทาใหเ้ กิดเงา แสงและเงา เป็นตวั กาหนดระดบั ของค่านา้ หนัก ความเขม้ ของเงาจะขึ้นอย่กู บั ความเข้มของแสง ในท่ที ี่มีแสงสว่าง มาก แสงและเงา เปน็ องคป์ ระกอบที่อยคู่ ู่กนั แสง เมื่อสอ่ งกระทบกบั วตั ถุ จะทาให้เกดิ เงา แสงและเงา เป็นตวั กาหนดระดบั ของค่าน้าหนัก ความเข้มของเงาจะขนึ้ อยูก่ ับความเขม้ ของแสง ในที่ทม่ี ีแสงสวา่ ง มาก
๒๓ ๖. บริเวณว่าง (Space) บริเวณวา่ ง หรอื ชอ่ งไฟ คือ ๑. อากาศทโ่ี อบล้อมรูปทรง ๒. ระยะห่างระหว่างรูปทรง
๒๔ ๓. บรเิ วณภายในรปู ทรงท่มี ีลักษณะกลวงหรอื ทะลุเป็นชอ่ งทม่ี ีอากาศผา่ นเข้าไปได้ ๔. บรเิ วณว่างของภาพเขียนหรือภาพวาด ที่มองดเู ปน็ ช่องลึกเข้าไปในภาพ เรยี กวา่ บรเิ วณว่างลวงตา ๗. ลักษณะผิว (Texture) ลักษณะผิว หมายถงึ ลกั ษณะภายนอกของวัตถุที่มองเหน็ และสมั ผัสพนื้ ผวิ ได้ แสดงความรสู้ ึกหยาบ ละเอียด ขรขุ ระ มัน ด้านเป็นเสน้ เป็นจุด จบั ดแู ลว้ สะดดุ มอื หรือสมั ผัสไดจ้ ากความรสู้ ึกผวิ เปน็ ทัศนธาตุท่ีนามาประกอบในการ สรา้ งงานศิลปะ ลักษณะผิวที่แตกตา่ งกันจะทาให้เกิดความรูส้ กึ แตกต่างกัน
๒๕
๒๖ ใบงาน คาชี้แจง : ให้นักเรียนออกแบบรูปภาพหน้าปกพรรณไม้ที่ศึกษาพรอ้ มทั้งกาหนดมาตราส่วน ชื่อ________________________________ ชัน้ _____________เลขท_ี่ ______________
ตารางสรปุ แผนการจดั การเรยี นร้ทู เี่ ก่ยี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะ โรงเรียน ชือ่ -สกุล นายชน ตาแหน่ง พนักงานร คาช้ีแจง โปรดกรอกข้อมูลโดยท จานวน องคป์ ระกอบ ปกี ารศึกษา ระบุร ัหสวิชา ่ีทสอน (ม ..........) แผนการจัดการเ ีรยนรู้ สื่อ/นวัตกรรม/ใบความรู้ ใบงาน รวมนักเรียน ่ทีเรียน ๑.การจัดทาป้าย ืช่อพรรณไม้ ๒.การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน ๒๕๕๘ ศ ๒๓๑๐๑ ๑ ๑ ๑ ๑๔๒ ม.๓
27 ยวกับงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น นตรอนตรีสินธุ์ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ นินทร์ ยะอนันต์ ราชการ(ครผู ูส้ อน) ทาเครอื่ งหมาย ลงในช่องวา่ ง บท่ี จานวนช้ินงาน ๓.การศึกษา ้ขอ ูมล ้ดาน ่ตางๆ ๔.การรายงานผลการเรียนรู้ ๕.การนาไปใช้ประโยชน์ทางงการ ึศกษา กลุ่ม เ ่ีดยว รวม งบประมาณที่ใช้ (บาท) ระยะเวลาดาเ ินนการ - ๑๔๒ ๑๔๒ ๑๔๕ พ.ค.
28 ภาคผนวก
29
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: