คู่มอื กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผู้สูงอายุ ฝ่าเทา้ ขวา ฝา่ เทา้ ซ้าย
ค่มู ือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผู้สูงอายุ ISBN 978-616-11-3928-5 คู่มือ กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพ่อื สขุ ภาพผูส้ ูงอายุ ท่ีปรกึ ษา นายแพทยม์ รตุ จิรเศรษฐสริ ิ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถยี รรัตน์ รองอธิบดกี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผเู้ ขยี น นางบณุ ยาพร วิภาตะวัต นางอำ� ไพ ชัยชลทรัพย์ นางสาวอรณุ เนตร ต้นโลม นางรุ่งฤดี ทองพลู บรรณาธกิ ารบรหิ าร นายแพทยเ์ ทวญั ธานรี ัตน ์ ผู้อำ� นวยการกองการแพทยท์ างเลือก คณะบรรณาธกิ าร นกั วิชาการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพเิ ศษ นางสไี พร พลอยทรพั ย์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ นางจิรภฎา วานชิ อังกรู นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ นางสาวทศั นเี วศ ยะโส ผูป้ ระสานงาน นางสาวดวงเดือน แสงตรง นางสาวอรุณรตั น์ เดโชภพ จดั พิมพโ์ ดย กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข โทรศพั ท์ 02 591 7007 ตอ่ 2605 , 2606 พิมพค์ ร้งั ท่ี 2 : กมุ ภาพนั ธ์ 2562 จำ� นวน : 13,000 เล่ม ออกแบบและพิมพ์ท่ี : บริษัท วี อนิ ด้ี ดีไซน์ จำ� กดั กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผู้สูงอายุ คำ�นำ� การสง่ เสริมสขุ ภาพปอ้ งกันโรคและคุ้มครองผู้บรโิ ภคเปน็ เลิศ เปน็ เป้าหมายหนง่ึ ทส่ี ำ� คญั และสอดคลอ้ งกบั นโยบายกระทรวงสาธารณสขุ สคู่ วามเปน็ เลศิ ตามแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข เพ่ือให้ประชาชนได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านการ สง่ เสริมสขุ ภาพป้องกนั โรคเชิงรุก ในทกุ กลุม่ วยั โดยการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในสงั คม ทงั้ การใหค้ ำ� ปรกึ ษา ปอ้ งกนั และสง่ เสรมิ สขุ อนามยั โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทย ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์นั้น การสร้างเสริมผู้สูงอายุ ให้สามารถดูแลสุขภาพ ตนเองไดจ้ งึ เปน็ สงิ่ ส�ำคัญ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ตระหนักถึงความจ�ำเป็นใน การนำ� ศาสตรก์ ารแพทยท์ างเลอื กดา้ นกดจดุ สะทอ้ นเทา้ มาใชใ้ นการผสมผสานดแู ลสขุ ภาพ ผสู้ ูงอายุ จึงได้จัดท�ำคู่มือ “กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผู้สงู อาย”ุ ส�ำหรับบุคลากรสาธารณสุขและภาคีเครือข่ายใช้เป็นแนวทางการบูรณาการดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งตนเองและปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวันต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ลดภาร การดแู ลผู้สูงอายุ ส่งผลใหค้ ุณภาพชวี ติ ของคนในครอบครัว ชุมชน และสังคมดีขึ้น การจดั ทำ� คมู่ อื “กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผสู้ งู อาย”ุ เลม่ น้ี กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ตอ้ งขอขอบคณุ อาจารยอ์ ำ� ไพ ชยั ชลทรพั ย์ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นกดจดุ สะทอ้ นเทา้ พรอ้ มดว้ ยคณะ ทอ่ี นเุ คราะหข์ อ้ มลู และใหค้ ำ� แนะนำ� ทถี่ กู ต้องด้านความหมายและการแบ่งประเภท Reflexology ประวัติความเป็นมา ทฤษฎีโซน (Zone theory) ทฤษฎีเส้นพลงั (Meridian theory) งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวข้อง เทคนคิ การแบ่ง โซนเทา้ ต�ำแหนง่ อวัยวะท่ีสะทอ้ นบนฝ่าเท้า เทคนคิ และวธิ ีการกดจดุ สะทอ้ นเท้า เพอื่ สรา้ ง เสริมสขุ ภาพ กลไกการบำ� บัดอาการที่พบบอ่ ย 7 ระบบ ข้อหา้ มและข้อควรระวงั ค�ำแนะน�ำ หลงั การนวดกดจดุ สะทอ้ นเทา้ ประโยชนข์ องการกดจดุ สะทอ้ นเทา้ อนั เปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งสงู และหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื เลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งและเปน็ อกี ทางเลอื กหนง่ึ ในการนำ� ไปประยกุ ต์ใชด้ แู ลสขุ ภาพประชากรผู้สูงอายใุ ห้มีคุณภาพชีวติ ทดี่ ขี ้ึนตอ่ ไป นายแพทย์มรุต จริ เศรษฐสริ ิ อธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก มกราคม 2562 กองการแพทยท์ างเลอื ก ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู ือ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ หนา้ ก (Foot Reflexology) 0 เพ่ือสขุ ภาพผูส้ งู อายุ 1 2 สารบัญ 4 6 7 10 11 14 ค�ำนำ� 15 16 ประเภท Reflexology 20 ความหมาย 25 ประวัตคิ วามเปน็ มา 25 ทฤษฎีทเี่ กี่ยวขอ้ ง 26 ทฤษฎโี ซน (Zone Theory) 26 ทฤษฎีเสน้ พลงั (Meridian Theory) 31 งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง 33 กดจุดสะท้อนเท้าลดอาการปวด 35 กดจดุ สะท้อนเทา้ ลดอาการชาเทา้ ในผู้ป่วยเบาหวาน 38 กดจดุ สะท้อนเทา้ ลดอาการไม่พึงประสงคห์ ลังการผา่ ตดั 40 เทคนคิ การแบ่งโซนเทา้ 42 ต�ำแหนง่ อวยั วะที่สะทอ้ นบนฝ่าเทา้ การกดจดุ สะท้อนเท้า 7 ระบบ วธิ ีการและเทคนคิ การกดจดุ สะท้อนเทา้ เทคนิคและวิธีการกดจดุ สะทอ้ นเท้าเพ่ือสรา้ งสขุ ภาพ 1. ระบบการขับถา่ ยของเสยี 2. ระบบประสาทสมอง 3. ระบบประสาทสัมผสั 4. ระบบประสาทฮอร์โมน 5. ระบบประสาทโครงสรา้ งกระดกู และไขสนั หลงั 6. ระบบประสาทการเคลอ่ื นไหว 7. ระบบประสาทภมู แิ พแ้ ละน้�ำเหลือง กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ อื กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผู้สงู อายุ สารบญั (ต่อ) หนา้ กลไกการบำ� บัดอาการทพ่ี บบ่อย 7 ระบบ 43 ขอ้ ควรระวงั การกดจดุ สะท้อนเทา้ 46 ขอ้ ห้ามในการกดจดุ สะทอ้ นเท้า 47 คำ� แนะน�ำหลังการนวดกดจุดสะท้อนเทา้ 47 ประโยชนข์ องการกดจุดสะทอ้ นเท้า 48 บรรณานกุ รม 49 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสุขภาพผู้สงู อายุ กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มอื กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอื่ สุขภาพผ้สู ูงอายุ ความหมาย ตามราชบณั ฑติ ยสถาน ปี พ.ศ. 2551 ใหค้ วามหมาย คอื วทิ ยาการสะทอ้ นจดุ เทา้ หมายถงึ การเรยี นรจู้ ุดสะท้อน ในบริเวณที่สัมพันธ์กับเส้นพลังสู่อวัยวะจ�ำเพาะเพื่อน�ำไป ประยกุ ตก์ ารนวดกดจดุ สะทอ้ นซงึ่ เปน็ วธิ กี ารบำ� บดั ทางเลอื ก แบบหนึง่ ทีบ่ รรเทาอาการปว่ ย หรอื บ�ำบดั โรค การนวดกดจดุ สะทอ้ นแตกตา่ งจากการนวดโดยทวั่ ไป เพราะตอ้ งรเู้ ทคนคิ การ ออกแรงกดในระดับที่ลึกกว่าการบีบนวด และรู้จักต�ำแหน่ง สะทอ้ นสอู่ วยั วะอยา่ งแมน่ ยำ� ตำ� แหนง่ การนวดกดจดุ มี 3 แหง่ คอื ทีม่ ือ เทา้ และหู ประเภท Reflexology แบง่ เป็น 3 ชนดิ 1) การนวดกดจดุ สะทอ้ นทมี่ อื (Hand Reflexology) 2) การนวดกดจุดสะทอ้ นทเ่ี ทา้ (Foot Reflexology) 3) การนวดกดจดุ สะท้อนท่ีหู (Ear Reflexology) กองการแพทยท์ างเลือก 1 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ อื กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสุขภาพผู้สงู อายุ ประคววัตามิ เปน็ มา กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2 กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู ือ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผ้สู ูงอายุ วชิ าการกดนวดเทา้ เพอื่ การบำ� บดั รกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ย มมี าตง้ั แตส่ มยั โบราณ มภี าพเขยี นทฝ่ี าผนงั เกยี่ วกบั การนวดเทา้ ปรากฏเป็นหลักฐานอยู่ในปิรามิดของอียิปต์ และท่ีอินเดีย มีรอยพระพทุ ธบาทท่ีจารึกภาพแสดงการนวดฝา่ เทา้ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1913 ดร.วิลเล่ยี ม ฟิตชเ์ จอรลั ด์ ท�ำการ ค้นควา้ ปรับปรงุ ทฤษฏีเกยี่ วกบั “การรักษาตามโซน” และ ทำ� การเผยแพร่ ในวงการแพทย์ ตอ่ มาปี ค.ศ.1930 Eunice lngham นกั กายภาพบำ� บดั ประเทศอเมรกิ าไดศ้ กึ ษา ทฤษฏโี ซนของ ดร.วลิ เลยี่ มได้ คน้ พบ จุดท่ีทรงพลังมากที่สุด บริเวณฝ่าเท้า มีการสร้างแผนภาพ ร่างกายตามต�ำแหน่งเท้าและศึกษาศาสตร์ที่เก่ียวข้อง กับฝ่าเท้าโดยเฉพาะเรียกว่า Reflexology ซ่ึงต่อมาได้รับ การขนานนามว่า “มารดาแห่งการนวดกดจุดสะท้อนเท้า” (นิโคลา ฮอลล,์ 1988.) กองการแพทย์ทางเลือก 3 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ อื กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสขุ ภาพผสู้ งู อายุ ทฤษฎที เี่ กีย่ วข้อง F 1. ทฤษฎีโซน (Zone Theory) F 2. ทฤษฎเี ส้นพลังงาน (Meridian Theory) F 3. ทฤษฏีพลังงาน (Energy Theory) F 4. ทฤษฏคี วบคุมประตู (Gate Control Theory) F 5. ทฤษฏีกรดแลคติก (Lactic Theory) F 6. ทฤษฏีตัวรับความรู้สึกผ่านเสน้ ประสาท (Propriceptive nervous receptors Theory) F 7. ทฤษฎีการผ่อนคลาย (Relaxation Theory) F 8. ทฤษฎีควบคมุ ความปวดภายใน (Endogenous Theory) F 9. ทฤษฎีจิตวทิ ยา (Psychological Theory) ในที่น้จี ะกล่าวถึง 2 ทฤษฎหี ลักส�ำคัญไดแ้ ก่ ทฤษฎี โซนและทฤษฎเี ส้นพลงั ทฤษฏีโซน (Zone Theory) ค้นพบ โดย Dr.William H.Fitzgerald พบว่า อวัยวะทุกส่วนใน รา่ งกายมพี ลงั งานทที่ ำ� หนา้ ทเี่ ชอื่ มโยงอวยั วะทงั้ หมดเขา้ ดว้ ยกนั กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 4 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มอื กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพื่อสุขภาพผสู้ งู อายุ การไหลเวยี นในรา่ งกาย รวมทงั้ หมด 10 โซน แบง่ เปน็ ซกี ซา้ ย และซีกขวาอยา่ งละ 5 โซน โซนที่ 1 จะอยูช่ ิดกับแนวกง่ึ กลาง ล�ำตัว ถัดออกไปจะเป็นโซนที่ 2, 3, 4 และ 5 ตามล�ำดับ นว้ิ หวั แมม่ อื นว้ิ ช้ี นว้ิ กลาง นวิ้ นาง นวิ้ กอ้ ย แทนโซนท่ี 1, 2, 3,4 และ 5 เรมิ่ จากส่วนบนสุดของศีรษะ แตกแขนงออกไปส้ินสุด ที่นิ้วมือและน้ิวเท้าท้ังสิบนิ้ว การออกแรงกดที่เส้นประสาท ส่วนปลายของมือและเท้าในด้านขวาและซ้ายจะมีผลต่อ อวัยวะในโซนเดียวกนั เชน่ โซนนิ้วมอื ด้านขวา สะท้อนไปยัง อวยั วะซกี ขวา ยกเว้น ส่วนของสมอง ซง่ึ เม่อื ออกแรงกดทีม่ ือ หรือเท้าขวาจะมีผลต่อสมองซีกซ้าย เน่ืองจากมีการไขว้กัน ของเส้นประสาทที่ Optic chiasma ทฤษฏีโซนมีความ เก่ียวขอ้ งกบั เสน้ ทางเดนิ แหง่ ชวี ติ เป็นเสน้ ทางเดนิ ซึ่งวงิ่ จาก เทา้ หรอื มอื ขน้ึ สศู่ รี ษะ เชอื่ วา่ พลงั มกี ารไหลอยา่ งสมำ่� เสมอไป ตามเส้นทางต่างๆ ในร่างกาย สิ้นสดุ ท่ใี ดจะเปน็ จดุ สะท้อนท่ี เทา้ และมอื นนั้ เมอ่ื เสน้ ภายในรา่ งกายมกี ารตดิ ขดั การไหลเวยี น ของพลังในร่างกายจะถูกรบกวน การนวดกดจุดจะสามารถ ช่วยลดอาการติดขัด ท�ำให้การไหลเวียนดีข้ึนเกิดสมดุล ในรา่ งกาย กองการแพทยท์ างเลือก 5 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ อื กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสุขภาพผสู้ งู อายุ ทฤษฎโี ซน (Zone Theory) กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 6 กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ แนวคดิ ของทฤษฎเี สน้ พลงั นไ้ี ดใ้ หค้ วามสำ� คญั ของ จดุ สะทอ้ นที่เท้าและมือทัง้ 2 ข้างท่มี ีความสมั พนั ธก์ บั อวยั วะ ตอ่ ม กระดกู และกลา้ มเนอ้ื สว่ นตา่ ง ๆ ท้งั หมดภายในรา่ งกาย ทฤษฎีนี้ได้รับการพัฒนาข้ึนมาจากทฤษฎีโซน โดย Eunice Ingham ไดศ้ ึกษาพฒั นาทฤษฎีโซน อยา่ งต่อเนอื่ ง จนไดม้ า เปน็ Foot Reflex Theory โดยไดส้ รา้ งแผนผงั เทา้ ทแ่ี สดงถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นทางเดินพลังและจุดสะท้อนต่าง ๆ ทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั อวยั วะภายในรา่ งกาย (Visceral organs) กองการแพทยท์ างเลือก 7 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
ค่มู ือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพื่อสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการแสดงภาพตามกายวิภาคศาสตร์ โดยถ้าออกแรง กดจดุ ตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ทา้ หรอื มอื ขวากจ็ ะมผี ลตอ่ อวยั วะ และ ตอ่ มตา่ ง ๆ ภายในของรา่ งกายซกี ขวา ในขณะทถ่ี า้ ออกแรง กดจุดต�ำแหน่งต่าง ๆ ท่ีเท้าหรือมือซ้ายก็จะมีผลต่ออวัยวะ กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 8 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพ่ือสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ และตอ่ มตา่ ง ๆ ภายในของร่างกายซกี ซ้าย (มาจากรากฐาน ของทฤษฎีโซน) ซ่ึงจากการศึกษารวบรวมข้อมูลจากผู้ป่วย จำ� นวนหลายรอ้ ยคน โดยใชน้ ว้ิ มอื กด หรอื คลำ� บรเิ วณเทา้ แลว้ พบวา่ บรเิ วณนน้ั รสู้ กึ ปวด ไมส่ ขุ สบาย หรอื มคี วามรสู้ กึ มเี สยี ง “กรบึ ๆ (Gritting)” เกดิ ขนึ้ ทเี่ ทา้ บรเิ วณใดจะมคี วามสมั พนั ธ์ กับโรค ความผิดปกติ หรือการบาดเจ็บของอวัยวะส่วนใดที่ ผปู้ ว่ ยเปน็ อยู่ เหตนุ จี้ งึ ทำ� ใหส้ ามารถระบวุ า่ จดุ ใดหรอื ตำ� แหนง่ ใดของเท้าหรือมือ เป็นจุดสะท้อนของอวัยวะหรือต่อมใด ภายในรา่ งกาย โดยเธอกลา่ ววา่ “จดุ สะทอ้ น ทเี่ ทา้ เปรยี บเสมอื น กระจกเงาท่ีสามารถแสดงให้เห็นอวัยวะภายในร่างกายได้” และพบว่าเท้าจะมีความไวต่อการตอบสนองต่อการนวด กดจดุ สะท้อนไดด้ ีกว่ามือ (Lockett, 1992: 14; Dougans, 1996: 53; Mantle and Mackereth, 2001: 43) กองการแพทย์ทางเลอื ก 9 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพ่อื สขุ ภาพผ้สู ูงอายุ งานวทจิ ่เี กัยี่ยวขอ้ ง กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 10 กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ ือ กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสุขภาพผู้สงู อายุ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ ลดอาการปวด เชน่ ผลการศกึ ษาวจิ ยั 5 เรอ่ื ง ดังน้ี 1. วันเพญ็ ปานยมิ้ (2543) ได้ศึกษาผลของการนวด จุดฝ่าเท้าต่อความปวดและความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยหลัง ผ่าตัดมดลูกทางหน้าท้อง โดยศึกษาผู้ป่วยหลังผ่าตัดมดลูก ทางหนา้ ท้อง จํานวน 60 คน โดยเลือกตามเกณฑ์ แบง่ เปน็ กลมุ่ ควบคมุ และกลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ละ 30 คน เพอ่ื เปรยี บเทยี บ ผลการนวดกดจุดสะท้อนที่เท้าต่อความปวดและความทุกข์ ทรมานจากการผา่ ตดั สญั ญาณชพี รวมทงั้ จาํ นวนครง้ั ของการ ไดร้ บั ยาแกป้ วดในชว่ ง3 วนั แรกของการผา่ ตดั มดลกู ทางหนา้ ทอ้ ง ระหวา่ งกลุม่ ควบคมุ ซึ่งไดร้ บั การพยาบาลตามปกติ และกลุม่ ทดลอง ซึ่งกลุ่มทดลองจะได้รับการนวดจุดฝ่าเท้า วันละ 1 คร้ัง ๆ ละ 30 นาที ช่วง 13.30-16.30 ในวันที่ 1 วนั ท่ี 2 และ วนั ที่ 3 หลงั ผา่ ตดั พบวา่ การนวดจดุ ฝา่ เทา้ ชว่ ยลดอาการปวด และความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยได้อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ รวมทงั้ ส่งเสรมิ การผอ่ นคลาย กองการแพทย์ทางเลือก 11 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู อื กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผ้สู งู อายุ 2. บังอรรัตน์ พูนสอาด (2543) ไดศ้ กึ ษาผลของการ นวดกดจุดสะท้อนท่ีฝ่าเท้าต่อความปวดและการผ่อนคลาย ในผู้ป่วยมะเร็ง โดยศึกษาในผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิดท่ีมี ความปวดจากมะเร็ง จาํ นวน 30 คน โดยคัดเลอื กตามเกณฑ์ ซ่ึงผู้ป่วยทุกรายจะเป็นท้ังกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เพ่ือเปรียบเทียบระดับของความปวดและผลของความปวด ทร่ี บกวนการทํากิจวตั รประจาํ วนั เชน่ การนอนหลบั การมี สมั พนั ธภ์ าพกบั บคุ คลอนื่ การผอ่ นคลาย ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลง ของการหายใจ การเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต หลงั การไดร้ บั การกดจดุ สะทอ้ นฝา่ เทา้ จรงิ (True foot zone therapy, TFZT) และหลังการได้รับกดจุดสะท้อนฝ่าเท้า หลอก (Mimic foot zone therapy, MFZT) พบวา่ กล่มุ ที่ ไดร้ บั TFZT มรี ะดบั ความปวด และผลรบกวนกจิ วตั รประจาํ วนั จากความปวดลดลง รวมท้ังรู้สึกผ่อนคลายมากขึ้นกว่า ทไ่ี ดร้ บั MFZT รวมทง้ั คา่ เฉลย่ี ของอตั ราการหายใจ อตั ราการ เต้นของหวั ใจ และความดนั โลหติ กลุม่ ทไี่ ดร้ บั TFZT จะลด ลงหลงั การนวดมากกวา่ ทไี่ ดร้ บั MFZT อยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 12 กระทรวงสาธารณสุข
คูม่ ือ กดจุดสะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพ่อื สุขภาพผู้สงู อายุ 3. ศรนั ยา หวงสวุ รรณากร (2546) ไดศ้ กึ ษาผลของการ นวดกดจดุ สะทอ้ นท่ีเท้าต่อระดบั ความเจบ็ ปวด สัญญาณชีพ และความพงึ พอใจในผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั ชอ่ งทอ้ งของระบบทางเดนิ อาหาร โดยศกึ ษาในผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั ใหญร่ ะบบทางเดนิ อาหาร ศลั ยกรรมลําไส้ใหญ่ และทวารหนัก จํานวน 30 คน พบวา่ กลุ่มทดลองท่ีได้รับการนวดกดจุดสะท้อนท่ีเท้า มีระดับ คะแนนความเจ็บปวด น้อยกวา่ กลมุ่ ควบคุมทีไ่ ด้รบั การดูแล แบบสนับสนนุ และใหค้ วามรู้ อย่างมีนัยสําคญั ทางสถิติ 4. สุธาทิพ เกษตรลักษมี (2548) ได้ศึกษาผลของ โปรแกรมการใหข้ อ้ มลู กอ่ นผา่ ตดั รว่ มกบั การนวดกดจดุ สะทอ้ น ท่ีเท้าด้วยมันหอมระเหย ต่อกลุ่มอาการไม่สบาย ในผู้ป่วย หลังผ่าตดั หวั ใจแบบเปด็ จำ� นวน 45 คน พบวา่ คะแนนเฉล่ยี กล่มุ อาการไม่สบายในผปู้ ่วยหลงั ผา่ ตดั หวั ใจแบบเป็ด วันที่ 2 วันท่ี 3 และ วันท่ี 4 ระหว่างกลุ่ม มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ ง มนี ัยสําคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 กองการแพทย์ทางเลอื ก 13 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ อื กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผ้สู งู อายุ 5. ศริ าวลั ย์ เหรา (2546) ไดศ้ กึ ษาผลของการนวดและ กดจดุ สะทอ้ นทีเ่ ท้า ในผปู้ ว่ ยโรคข้อเข่าเสอ่ื ม จํานวน 30 คน พบว่าระยะทดลองท่ีได้รับการนวดและกดจุดสะท้อนที่เท้า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนอาการปวดข้อน้อยกว่าระยะควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ นอกจากนี้ผู้ป่วยส่วนใหญ่รู้สึก ผอ่ นคลายและสขุ สบายเม่ือไดร้ บั การนวด กดจุดสะทอ้ นเทา้ ลดอาการชาเท้าในผูป้ ว่ ยเบาหวาน 1. ผลการศกึ ษาวจิ ยั ของเสมยี น ขนั มน่ั (2544) ศกึ ษา ผลของการพยาบาลโดยการใช้วิธีการนวดเท้าในการร่วมกับ การรักษาอาการชา ในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน โดยศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พ่ึงอินซูลินท่ีมีอาการ ชาเท้า 15 คน พบวา่ ผปู้ ่วย 10 คน มีอาการชาลดลงอย่าง ตอ่ เนอื่ งตลอด 3 วนั ภายหลงั การนวดเทา้ สว่ นผปู้ ว่ ยอกี 5 คน มอี าการชาลดลงไดไ้ มน่ านและอาการชากลบั เปน็ ซำ�้ อกี ภายหลงั นวดเท้าในวันน้ัน อย่างไรก็ตามพบว่าผู้ป่วยทุกรายมีความ พงึ พอใจ กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 14 กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ กดจุดสะท้อนเท้าลดอาการไม่พึงประสงค์หลังการผ่าตัด เชน่ ผลการศกึ ษาวจิ ยั 3 เรอื่ ง ดังนี้ 1. นงลักษณ์ พรหมติงการ (2545) ได้ศึกษาผลของ การนวดเท้าต่อความวิตกกังวลในผู้ป่วยผ่าตัดช่องท้องในหอ ผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการ ผ่าตดั ชอ่ งท้อง จํานวน 30 คน พบวา่ กล่มุ ตวั อย่างมคี ะแนน ความวิตกกังวลลดลงจากก่อนนวดเท้า และคะแนนความ แตกตา่ งของความวติ กกงั วลระหวา่ งกอ่ นและหลงั การนวดเทา้ มากกวา่ กลมุ่ ทไี่ มไ่ ดร้ บั การนวดเทา้ อยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิ 2. นิยม มาชมภู (2558) ศึกษาโปรแกรมการจดั การ อาการไม่พึงประสงค์ต่อผู้ป่วยหลังผ่าตัด จ�ำนวน 44 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 22 คน พบวา่ ผปู้ ว่ ยกลมุ่ ทไี่ ดร้ บั การนวดกดจดุ สะทอ้ นเทา้ ลดอาการปวด อาการนอนไม่หลับ อาการหายใจล�ำบาก อาการเหนื่อยล้า และความวติ กกังวล อยา่ งมีนยั สำ� คัญทางสถติ ิ ทีร่ ะดับ 0.05 สอดคล้องกับการศกึ ษาของ Bagheri-Nesamiet al. พบว่า ผปู้ ว่ ยกลมุ่ ทไ่ี ดร้ บั การนวดกดจดุ สะทอ้ งทเี่ ทา้ เปน็ เวลา 20 นาที มีระดับการความปวดและความเหนื่อยล้าลดลงอย่างมีนัย ส�ำคญั ทางสถิติ ทร่ี ะดับ 0.0001 กองการแพทยท์ างเลอื ก 15 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจุดสะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพอื่ สุขภาพผู้สูงอายุ 3. จําเรียง ภัทรธรรมาภรณ์ (2548) ศึกษาผลของ การนวดจดุ ฝา่ เทา้ ตอ่ อาการทอ้ งอดื ในผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั มดลกู ออกทางหนา้ ท้อง โดยศกึ ษาในผปู้ ่วยทไ่ี ดร้ ับการผา่ ตัดมดลกู ออกทางหน้าท้องและได้รับยาระงับความรู้สึกท่ัวร่างกาย จํานวน 60 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลมุ่ ละ 30 คน พบวา่ กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ของอาการ ท้องอืดและความทุกข์ทรมานหลังการนวดฝ่าเท้าน้อยกว่า กลุ่มควบคุม และจ�ำนวนครั้งเฉลี่ยของการเคลื่อนไหวแบบ บบี รดู ของลำ� ไสม้ ากกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ เทคนิคการแบง่ โซนเท้า (ไกรสิงห์ (สมบูรณ์) ร่งุ โรจนส์ กุลพร, 2541) ขน้ั ตอนการแบง่ โซนเทา้ ดังน้ี 1.หาจุดใจกลางฝา่ เท้า โดยการลากเส้นลงมาจาก ระหว่างน้ิวช้ีและนิ้วกลาง มาอยู่บริเวณสิ้นสุดรอยนูน ของฝา่ เท้า กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 16 กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ ือ กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผ้สู งู อายุ 2. หาเส้นส้นเทา้ โดยการจบั รอยบุม๋ ของ เอ็นร้อยหวายแล้วลาก ขน้ึ มาดา้ นบนสน้ เท้า 3. หาเส้นกลางฝา่ เทา้ ลากเส้นจากจุดใจกลาง ฝา่ เทา้ แบง่ ครงึ่ เสน้ สน้ เทา้ 4. หาเสน้ สนั กอ้ ย ลากเสน้ จากชอ่ งระหวา่ ง น้ิวก้อยและน้ิวนาง ตามรูปแนวเท้ามาจรด เส้นส้นเทา้ 5. หาเสน้ โปง้ ช ้ี ลากเสน้ จากชอ่ งระหวา่ ง นิ้วหัวแม่เท้าและน้ิวช้ี ตามแนวรูปเท้ามาจรด เส้นส้นเท้า 6. เสน้ ตดั ขวางกลางฝา่ เท้า ลากเสน้ จากเสน้ ส้นเทา้ มาบรรจบกับแนวเส้น กง่ึ กลางของเสน้ โปง้ ช้ี กองการแพทยท์ างเลอื ก 17 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพ่อื สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ภาพแสดงวธิ กี ารแบ่งโซนเทา้ กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 18 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจุดสะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผ้สู ูงอายุ การแบง่ โซนเทา้ เปน็ วธิ กี ารหนง่ึ ทท่ี ำ� ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจได้ ง่ายข้นึ และรถู้ งึ ตำ� แหน่งท่ีแสดงถงึ อวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกาย เปรยี บเสมอื นกระจกเงาทแ่ี สดงใหเ้ หน็ อวยั วะภายในรา่ งกาย ซึ่งเท้าจะมีความไวต่อการตอบสนองต่อการกดได้ดีกว่าท่ีมือ ซ่ึงการกดจุดนวดไปตามต�ำแหน่งเท้าท่ีถูกต้องตามอวัยวะท่ี ปรากฏที่ฝ่าเท้าก็จะไปสะท้อนอวัยวะในร่างกายของเราด้วย เช่นกนั 62 39 40 52 49 44 57 50 40 42 43 41 38 48 54 45 45 51 13 53 6 46 55 47 56 24 37 61 39 36 38 44 43 5 59 58 35 60 42 10 กองการแพทย์ทางเลอื ก 19 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คูม่ ือ กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผู้สูงอายุ ตำ�แหนง่ อวยั วะทีส่ ะทอ้ นบนฝา่ เท้า 1. สมองใหญ่ 2. หนา้ ผาก 3. สมองน้อย 4. ต่อมใตส้ มอง 5. ขมับ 6. จมูก 7. คอ 8. ตา 9. หู 11. กล้ามเนอื้ บ่า 12. ตอ่ มไทรอยด์ 13. ตอ่ มพาราไธรอยด์ 14. ปอด 15. กระเพาะอาหาร 16. ล�ำไสเ้ ลก็ ตอนบน 17. ตับอ่อน 18. ตบั ฝา่ เทา้ ขวา กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 20 กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพือ่ สขุ ภาพผ้สู งู อายุ ฝ่าเทา้ ซ้าย 19. ถุงน�้ำดี 20. ประสาทชอ่ งท้อง 21. ต่อมหมวกไต 22. ไต 23. ท่อไต 24. กระเพาะปสั สาวะ 25. ลำ� ไส้เล็ก 26. ไสต้ ่ิง 27. ลำ� ไส้ใหญส่ ่วนต้น 28. ลำ� ไส้ใหญข่ าข้ึน 29. ล�ำไสใ้ หญ่ส่วนขวาง 30. ลำ� ไสใ้ หญ่ขาลง 31. ลำ� ไสใ้ หญส่ ่วนตรง 32. ทวารหนัก 33. หวั ใจ 34. ม้าม 36. อวยั วะสืบพันธ์ุ รังไข่ อัณฑะ 53. กระดกู สนั หลังช่วงคอ กองการแพทย์ทางเลอื ก 21 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
ค่มู ือ กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผู้สูงอายุ เท้าด้านนอก 37 61 39 36 38 44 5 43 59 42 58 35 60 10 10. หวั ไหล่ 43. ทรวงอก 35. หัวเข่า 44. กระบงั ลม 36. อวยั วะสบื พันธุ์ 58. กระดูกก้นกบ รงั ไข่ อัณฑะ ดา้ นนอก 37. ทอ้ งนอ้ ย 59. กระดูกสะบัก 38. กระดกู สะโพก 60. ข้อศอก 39. ตอ่ มน้�ำเหลอื ง 61. กระดูกซีโ่ ครง ส่วนบนของร่างกาย ทอ่ นท่ี 11, 12 42. อวัยวะการทรงตวั หชู น้ั ใน กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 22 กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ อื กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 62 เท้าด้านใน 52 49 57 50 40 38 54 51 13 53 6 55 53. กระดกู สนั หลงั ช่วงคอ 56 24 54. กระดกู สันหลังชว่ งอก 55. กระดกู สนั หลงั ช่วงเอว 13. ตอ่ มพาราไทรอยด์ 56. กระดูกกระเบนเหน็บ 38. กระดูกสะโพก 57. กระดกู ก้นกบด้านใน 40. ตอ่ มนำ�้ เหลอื ง 62. เสน้ ประสาทขา ส่วนลา่ งของร่างกาย 49. ต่อมนำ้� เหลอื งขาหนบี 50. ตอ่ มลูกหมาก,มดลกู 51. องคชาต,ชอ่ งคลอด 52. ชอ่ งทวารหนกั กองการแพทย์ทางเลอื ก 23 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คูม่ อื หลงั เท้า กดจุดสะท้อนเทา้ 39 40 (Foot Reflexology) 44 เพือ่ สุขภาพผู้สูงอายุ 42 43 41 39. ตอ่ มนำ�้ เหลอื งสว่ นบน 48 ของร่างกาย 45 45 40. ตอ่ มนำ�้ เหลอื งสว่ นลา่ ง 46 ของร่างกาย 47 41. ตอ่ มน้�ำเหลอื ง ทรวงอก 42. อวยั วะการทรงตวั หูชั้นใน 43. ทรวงอก 44. กระบงั ลม 45. ต่อมทอนซลิ 46. ขากรรไกรลา่ ง 47. ขากรรไกรบน 48. หลอดลมใหญ่ และกลอ่ งเสียง กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 24 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสุขภาพผู้สงู อายุ การกดจุดสะทอ้ นเท้า มกี ารกดนวดกดจุด 7 ระบบ ไดผ้ ลดี 1. ระบบการขับถา่ ยอุจจาระ และปสั สาวะ 2. ระบบสมอง เครียด ความดนั สูง นอนไม่หลับ จำ� ดี 3. ระบบฮอร์โมน เชน่ วยั ทอง ปวดประจ�ำเดอื น 4. ระบบการฟัง การดม เช่น มีปัญหาตา หู จมูก สายตาสน้ั นวดจะไดผ้ ล 5. ระบบประสาทไขสันหลัง เช่น เมื่อย ปวดหลัง อมั พฤกษ์ อัมพาต 6. ระบบตอ่ มน�ำ้ เหลือง เชน่ ยงุ กดั หายช้า 7. ระบบภมู ติ า้ นทานถา้ ภมู ติ า้ นทานตำ่� นวดกดจดุ สะทอ้ น ภมู ติ ้านทานจะสูง วิธีการและเทคนิคการกดจดุ สะท้อนเท้า การกดจุดสะท้อนเท้าสามารถน�ำมาใช้เพื่อส่งเสริมให้ อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมีการปรับการท�ำงานท่ีสอดคล้อง และอยใู่ นสภาวะทส่ี มดลุ โดยผลทไี่ ดจ้ ากการกดจดุ สะทอ้ นเทา้ จะเปน็ การปรับสมดุลของการทำ� งานของอวัยวะตา่ ง ๆ ของ รา่ งกายท้ัง 7 ระบบ 62 จุด ดงั ทกี่ ลา่ วไว้ข้างตน้ การกดจดุ กองการแพทยท์ างเลือก 25 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ ือ กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพ่ือสขุ ภาพผสู้ งู อายุ สะทอ้ นเทา้ มคี วามแตกตา่ งจากการนวดเทา้ คอื ตอ้ งใชแ้ รงกด ในระดับท่ีลึกกว่าการนวด ซ่ึงในที่น้ีจะกล่าวถึงวิธีการและ เทคนิคในการกดจุดสะท้อนเท้าที่ต่างกันไปตามอาการที่พบ บ่อยในผู้สงู อายดุ งั ต่อไปนี้ เทคนิคและวิธีการกดจุดสะทอ้ นเทา้ เพื่อสร้างเสรมิ สขุ ภาพ 1. ระบบขับถา่ ยของเสีย 1.1 ปสั สาวะกะปริบกะปรอย กล้ันปัสสาวะไมอ่ ยู่ ต�ำแหน่งจุดสะทอ้ น จุดท่ี 1 ไต(22) จุดที่ 2 ทอ่ ไต(23) จดุ ท่ี 3 กระเพาะปสั สาวะ(24) จุดที ่ 4 ท่อปสั สาวะ(51) จุดท่ี 5 ต่อมหมวกไต(21) จดุ ที ่ 6 ประสาทชอ่ งทอ้ ง(20) เทคนคิ และวธิ กี าร เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ นจากจดุ ท่ี 1-6 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 ครงั้ กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 26 กระทรวงสาธารณสุข
ผลทไ่ี ดร้ บั ค่มู ือ กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ปรับสมดุลการท�ำงานของอวัยวะใน ต�ำแหน่งจุดสะท้อนของไต กระเพาะ ปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ ต่อมหมวกไต และประสาทชอ่ งทอ้ ง เพอ่ื ใหร้ ะบบการ ขับถ่ายของเสยี ในรา่ งกายดีขึน้ 6 56 4 5 3 1 12 2 3 3 62 เทา้ ดา้ นใน 52 49 57 50 40 38 54 51 13 53 6 55 56 24 ฝ่าเทา้ ขวา ฝ่าเท้าซ้าย กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 27 กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ ือ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพ่ือสุขภาพผู้สงู อายุ 1.2 จุกเสียด อาหารไม่ยอ่ ย ทอ้ งอืด ทอ้ งเฟ้อ ต�ำแหนง่ จดุ สะท้อน จดุ ที่ 1 กระเพาะอาหาร(15) จุดท่ี 2 ล�ำไส้เล็กตอนบน(16) จดุ ที่ 3 ตบั ออ่ น(17) จุดที่ 4 ล�ำไสเ้ ลก็ (25) เทคนคิ และวิธกี าร เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ นจากจดุ ท่ี 1-4 โดยใช้ นว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 ครั้ง ผลที่ไดร้ บั ปรับสมดุลการท�ำงานของอวัยวะใน ตำ� แหนง่ จดุ สะทอ้ นของกระเพาะอาหาร ล�ำไส้เล็กและตับอ่อน เพื่อให้ระบบ การย่อยในร่างกายดขี น้ึ 321 213 4 4 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 28 กระทรวงสาธารณสขุ
คูม่ อื กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอื่ สขุ ภาพผู้สงู อายุ 1.3 ทอ้ งผูก ทอ้ งเสยี ต�ำแหนง่ จดุ สะท้อน เท้าซา้ ย จุดที่ 1 ลำ� ไสเ้ ล็ก(25) จดุ ท่ี 2 ล�ำไสใ้ หญ่สว่ นขวาง(29) จุดที่ 3 ลำ� ไส้ใหญ่ขาลง (30) จุดที่ 4 สำ� ไส้ตรง(31) จดุ ที่ 5 ชอ่ งทวารหนกั (52) จดุ ที่ 6 ทวารหนกั (32) เทา้ ขวา จดุ ท่ี 1 ลำ� ไส้เล็ก(25) จดุ ท่ี 2 ไสต้ ิง่ (26) จดุ ท่ี 3 ลำ� ไสใ้ หญส่ ว่ นตน้ (27) จุดที่ 4 ล�ำไส้ใหญ่ขาข้ึน(28) จดุ ท่ี 5 ล�ำไส้ใหญ่ส่วนขวาง(29) จุดท่ี 6 ช่องทวารหนัก(52) เทคนิคและวธิ กี าร เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น เทา้ ซา้ ย จากจดุ ท่ี 1-6 โดยใชน้ ว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพเทา้ ขวา จากจุดท่ี 1-6 โดยใช้น้ิวกดลากตาม ลูกศรดงั ภาพ จุดละ10 ครั้ง กองการแพทยท์ างเลือก 29 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู ือ ปรับสมดุลการท�ำงานของอวัยวะใน ตำ� แหนง่ จดุ สะทอ้ นของระบบทางเดนิ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ อาหารต้งั แต่ล�ำไส้เล็ก ลำ� ไสใ้ หญแ่ ละ ทวารหนัก (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ผลที่ไดร้ บั 5 11 32 432 6 4 66 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 30 กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ ือ กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพ่อื สขุ ภาพผู้สงู อายุ 2. ระบบประสาทสมอง 2.1 อาการนอนไม่หลับ ต�ำแหนง่ จดุ สะทอ้ น จุดท่ี 1 สมองใหญ(่ 1) จดุ ท่ี 2 สมองนอ้ ย(3) จุดท่ี 3 ตอ่ มใตส้ มอง(4) จดุ ท่ี 4 ขมบั (5) จดุ ที่ 5 คอ(7) เทคนิคและวิธีการ เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ท่ี 1-5 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 คร้ัง ผลท่ีไดร้ บั ปรับสมดุลของระบบสมองให้ท�ำงาน ดขี น้ึ และคลายกลา้ มเนอื้ ตน้ คอ บา่ ไหล่ สง่ ผลตอ่ การไหลเวยี นของเลอื ดไปเลย้ี ง สมองไดม้ ากขึ้น 11 44 22 5 33 5 กองการแพทยท์ างเลอื ก 31 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ ือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 2.2 อาการปวดศีรษะ ไมเกรน มึนศรี ษะ ต�ำแหน่งจุดสะทอ้ น จุดที่ 1 สมองใหญ่(1) จุดท่ี 2 สมองน้อย(3) จดุ ที่ 3 หน้าผาก(2) จดุ ที่ 4 ขมบั (5) จุดท่ี 5 คอ(7) เทคนคิ และวิธีการ เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ท่ี 1-5 โดยใช้ นว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 คร้ัง ผลท่ีไดร้ ับ ปรับสมดุลของระบบสมองให้ท�ำงาน ดขี ึน้ และคลายกล้ามเนือ้ ขมับ ต้นคอ บ่า ไหล่ ส่งผลต่อการไหลเวียนของ เลอื ดไปเลยี้ งสมองไดม้ ากข้ึน บรรเทา อาการปวดศรี ษะและไมเกรน 3 3 3 33 3 4 4 3 3 3 3 12 5 5 12 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 32 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจดุ สะท้อนเทา้ (Foot Reflexology) เพอื่ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 3. ระบบประสาทสัมผัส 3.1 อาการหูอื้อ มเี สียงในหู น�ำ้ ในหูไมเ่ ท่ากนั ต�ำแหนง่ จุดสะทอ้ น จุดที่ 1 ต่อมใต้สมอง(4) จดุ ที่ 2 ห(ู 9) จุดที่ 3 ประสาทหูชั้นใน (42) เทคนคิ และวธิ กี าร เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-3 โดยใช้ นว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 คร้งั ผลท่ีไดร้ บั ปรับสมดุลของต่อมใต้สมอง ระบบ ประสาทสัมผัสและประสาทหูช้ันใน ให้ท�ำงานดีขึ้น บรรเทาอาการหูอ้ือ มเี สยี งในหู นำ้� ในหไู มเ่ ท่ากัน 22 3 22 22 กองการแพทย์ทางเลอื ก 33 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มอื กดจดุ สะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผู้สูงอายุ 3.2 อาการตาลาย ตาพร่ามวั ต�ำแหนง่ จุดสะทอ้ น จุดท่ี 1 ตอ่ มใตส้ มอง(4) จุดที่ 2 ตา(8) เทคนิคและวธิ ีการ เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ท่ี 1-2 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 ครงั้ ผลท่ไี ดร้ บั ปรบั สมดลุ ระบบการมองเหน็ โดยการ กระตนุ้ ตอ่ มใตส้ มองและระบบประสาท ตา บรรเทาอาการตาลาย ตาพรา่ มวั 11 22 22 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 34 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มอื กดจุดสะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพอื่ สขุ ภาพผสู้ งู อายุ 4. ระบบประสาทฮอร์โมน 4.1 วัยทอง ต�ำแหนง่ จดุ สะท้อน จดุ ท่ี 1 ต่อมใต้สมอง(4) จุดที่ 2 ต่อมไทรอยด์(12) จดุ ท่ี 3 ต่อมพาราไทรอยด(์ 13) จุดที่ 4 อัณฑะ, รังไข่(36) สน้ จุดท่ี 5 อณั ฑะ,รังไข(่ 36) นอก จดุ ที่ 6 มดลกู ,ต่อมลูกหมาก(50) จดุ ท่ี 7 ท้องนอ้ ย(37) จดุ ท่ี8ตอ่ มนำ้� เหลอื งบรเิ วณขาหนบี (49) เทคนคิ และวิธกี าร เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-8 โดยใช้ นว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 ครั้ง กองการแพทยท์ างเลือก 35 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มอื ปรับสมดุลระบบฮอร์โมน โดยการ กระตุ้นระบบต่อมใต้สมอง ระบบ กดจุดสะทอ้ นเท้า ตอ่ มไรท้ อ่ และน้�ำเหลอื ง (Foot Reflexology) 1 เพอื่ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 2 ผลทไี่ ด้รับ 1 2 44 6 7 83 5 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 36 กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู ือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผ้สู งู อายุ 4.2 ลดความอ้วน ต�ำแหน่งจุดสะท้อน จุดที่ 1 ตอ่ มใตส้ มอง(4) จดุ ที่ 2 ตอ่ มไทรอยด(์ 12) จดุ ที่ 3 ตอ่ มพาราไทรอยด(์ 13) เทคนคิ และวิธกี าร เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-3 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 25 ครง้ั (กอ่ นอาหารมอ้ื เย็น30 นาที) ผลทไ่ี ด้รับ ป รั บ ส ม ดุ ล ร ะ บ บ ก า ร เ ผ า ผ ล า ญ ภายในรา่ งกาย โดยการกระต้นุ ระบบ ต่อมใตส้ มองระบบตอ่ มไร้ท่อ ลดการ อยากอาหาร 11 22 3 กองการแพทยท์ างเลือก 37 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มอื กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผ้สู ูงอายุ 5. ระบบโครงสรา้ งกระดกู และไขสนั หลงั 5.1 ปวดคอ ต�ำแหนง่ จุดสะทอ้ น จุดที่ 1 คอ(7) จุดที่ 2 กระดูกสนั หลังช่วงคอ(53) เทคนิคและวธิ ีการ เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-2 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 20 ครั้ง ผลท่ีไดร้ บั ปรับสมดุลระบบประสาทโครงสร้าง กระดกู สนั หลงั บรรเทาอาการปวดคอ 11 2 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 38 กระทรวงสาธารณสุข
ค่มู อื กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผสู้ งู อายุ 5.2 ปวดหลงั ปวดเอว ปวดกน้ กบ ต�ำแหน่งจดุ สะท้อน จุดที่ 1 กระดูกสันหลงั ช่วงอก(54) จุดท่ี 2 กระดูกสันหลังชว่ งเอว(55) จดุ ท่ี 3 กระดกู กน้ กบ(56)กระเบนเหนบ็ เทคนคิ และวิธีการ เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-3 โดยใช้ นิ้วกดลากตามลูกศรดังภาพกดจุดละ 10 คร้งั ผลที่ได้รบั ปรับสมดุลระบบประสาทโครงสร้าง กระดกู สนั หลงั บรรเทาอาการปวดหลงั ปวดเอว ปวดกน้ กบ 321 กองการแพทย์ทางเลอื ก 39 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ อื กดจดุ สะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผสู้ งู อายุ 6. ระบบประสาทการเคล่อื นไหว ปวดบ่า 6.1 ไหล่ สะบกั ต�ำแหน่งจุดสะทอ้ น จุดท่ี 1 หัวไหล่(10) จุดที่ 2 กล้ามเนอ้ื บ่า(11) จดุ ท่ี 3 กระดูกสะบัก(59) จดุ ที่ 4 ขอ้ ศอก(60) เทคนิคและวธิ กี าร เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ท่ี 1-4 โดยใช้ นิ้วกดลากตามลูกศรดังภาพกดจุดละ 20 คร้ัง ผลทไี่ ด้รับ ปรับสมดุลระบบประสาทการเคลอ่ื น ไหว ชว่ ยใหก้ ลา้ มเนอ้ื บริเวณบ่า ไหล่ สะบกั คลายตวั บรรเทาอาการปวดตงึ ไหล่ตดิ ยกแขนไม่ขนึ้ 22 3 11 4 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก 40 กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มอื กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพื่อสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ 6.2 ปวดสะโพก ปวดเขา่ ต�ำแหน่งจุดสะท้อน จุดที่ 1 กระดูกสะโพก, สลกั เพชร(38) จดุ ที่ 2 หวั เขา่ (35) เทคนิคและวิธีการ เรมิ่ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-2 โดยใช้ นว้ิ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 20 คร้ัง ผลท่ไี ดร้ ับ ปรบั สมดลุ ระบบประสาทการเคลอื่ นไหว ของสะโพกและเขา่ ชว่ ยบรรเทาอาการ ปวดสะโพกและเข่า 1 1 2 กองการแพทยท์ างเลอื ก 41 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คูม่ อื กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอื่ สขุ ภาพผูส้ งู อายุ 7. ระบบประสาทภมู แิ พแ้ ละน�ำ้ เหลือง 7.1 ภมู ิแพ้ทว่ั ไป หวดั ต�ำแหน่งจดุ สะท้อน จดุ ที่ 1 ตอ่ มน�ำ้ เหลืองทรวงอก(41) จดุ ท่ี 2 หลอดลมใหญ่ กลอ่ งเสยี ง(48) จดุ ที่ 3 ทรวงอก(43) จุดที่ 4 กระบงั ลม(44) จุดที่ 5 ตอ่ มนำ้� เหลอื งส่วนบน(39) จดุ ที่ 6 ตอ่ มนำ�้ เหลอื งส่วนลา่ ง(40) เทคนคิ และวิธกี าร เรม่ิ กดจดุ สะทอ้ น จากจดุ ที่ 1-6 โดยใช้ นวิ้ กดลากตามลกู ศรดงั ภาพ กดจดุ ละ 10 คร้ัง ผลทไ่ี ดร้ ับ ปรับสมดุลระบบภูมิแพ้และต่อม น�้ำเหลอื ง 5 65 6 4 4 3 3 21 12 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก 42 กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู อื กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอื่ สขุ ภาพผสู้ ูงอายุ กลไกการบำ�บดั อาการท่พี บบอ่ ย 7 ระบบ 1. ระบบการขบั ถา่ ยของเสยี อาการทพี่ บบอ่ ย ไดแ้ ก่ ปสั สาวะ กะปรบิ กะปรอย กลน้ั ปสั สาวะไมอ่ ยู่ จกุ เสยี ด อาหารไม่ยอ่ ย ท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ ท้องผกู ทอ้ งเสยี กลไก : ระบบขบั ถา่ ยของเสยี รา่ งกายมนษุ ยม์ กี ลไกตา่ ง ๆ ในการใช้พลังงานการเผาผลาญพลังงาน ท�ำให้เกิดของเสีย หรอื สารพษิ ตกคา้ ง ถา้ ระบบการขบั ถา่ ยของเสยี บกพรอ่ ง ยอ่ ม สง่ ผลตอ่ การเจบ็ ปว่ ย การกระตนุ้ ระบบขบั ถา่ ยจงึ เปน็ การชว่ ย ให้มีการน�ำของเสียออกจากร่างกายได้ดีขึ้น หรือกลับคืนสู่ ภาวะปกติ เกิดภาวะสมดุลภายในร่างกาย 2. ระบบประสาทสมอง อาการท่พี บบอ่ ย ได้แก่ อาการนอน ไมห่ ลบั อาการปวดศีรษะ ไมเกรน มึนศรี ษะ กลไก : ระบบประสาทสมองเปน็ ศนู ยก์ ลางการควบคมุ การท�ำงานของร่างกายและจิตใจซ่ึงจะท�ำงานพร้อมกันท้ัง ด้านกลไกและเคมีภายใต้อ�ำนาจจิตใจเป็นศูนย์กลางการ ควบคุมการท�ำงานอวัยวะร่างกายทั้งหมดการกระตุ้นระบบ ประสาทสมองจงึ เปน็ การปรบั ใหเ้ กดิ ภาวะสมดลุ ตา่ ง ๆ ภายใน รา่ งกายและจติ ใจ กองการแพทย์ทางเลือก 43 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข
Search