Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พันธุ์กล้วยเมืองไทย

Description: พันธุ์กล้วยเมืองไทย

Search

Read the Text Version

พันธุกลวยเมืองไทย รศ. เบญจมาศ ศลิ ายอ ย ภาควชิ าพชื สวน คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร กลวย เปน ผลไมท ค่ี นไทยรจู กั กนั มานานควบคมู ากบั ประเทศไทย โดย ไมร แู นช ดั วา มมี าตง้ั แตเ มอ่ื ไร ทง้ั นอ้ี าจเนอ่ื งจากกลว ยมถี น่ิ กาํ เนดิ ในแถบเอเซยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ซึ่งมีประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งในภูมิประเทศ ดงั กลา ว และจากการศึกษาทางวิวัฒนาการ พบวา กลว ยมวี วิ ฒั นาการมาถงึ 50 ลา นป แลว ดงั นน้ั จงึ เปนไมผลท่ีมนษุ ยร ูจกั บรโิ ภคเปนอาหารกนั อยางแพรห ลาย โดยท่ัวไปกลวยไดเร่ิมมีการแพรจากเอเซียตะวันออกเฉียงใตไปยังหมูเกาะ ตา งๆ ในมหาสมทุ รแปซฟิ ค พรอมๆกับการอพยพของประชากร ตง้ั แตต น ครสิ ตศ กั ราช เปน ตน มา และไดมีการแพรกระจายไปยังกลุมประเทศแถบ อาหรบั ยุโรปจนกระทั่งสูทวีปอเมริกา และมกี ารขยายการปลกู จนถงึ กบั เปน การคา อนั ดบั 1 ของโลก โดยปลกู มากท่ีคอสตาริกา และฮอนดรู สั ประเทศไทยมกี ารปลกู กลว ยกนั มานานดงั ไดก ลา วแลว ขา งตน กลว ยทป่ี ลกู มมี ากมายหลาย ชนิด พันธุกลวยที่ใชปลูกในประเทศไทยมาแตโบราณนั้น มที ง้ั เปน พนั ธพุ น้ื เมอื งดง้ั เดมิ และทม่ี กี ารนาํ เขา พนั ธมุ าจากประเทศขา งเคยี งมาตง้ั แตโ บราณ จนกระทง่ั พวกเราเองกค็ ดิ วา เปน พนั ธพุ น้ื เมอื ง กลวยที่ รจู ักกันในสมยั สโุ ขทยั คอื กลว ยตานี และปจจบุ นั ในจงั หวดั สโุ ขทยั มกี ารปลกู กลวยตานมี ากทส่ี ุด แตเ รา ไมพ บกลว ยตานใี นปา ทั้งๆ ทก่ี ลว ยตานเี ปน กลว ยปา ชนดิ หนง่ึ มถี น่ิ กาํ เนดิ อยแู ถบประเทศอนิ เดยี ตอน ใต จีน และพมา ดงั นน้ั จงึ เขา ใจวา กลว ยตานนี า จะมกี ารนาํ เขา มาปลกู ในประเทศไทยตง้ั แตส มยั สโุ ขทยั ตอนตน หรอื ชว งการอพยพของคนไทยมาตง้ั ถน่ิ ฐานทส่ี โุ ขทยั ในสมยั อยธุ ยา De La Louber (1693) ไดเขียนหนังสือบันทึกการทองเที่ยวมาที่ประเทศไทย โดยบนั ทกึ ถงึ บา นเมอื งพธิ กี ารและสง่ิ ทเ่ี ขาไดพ บเหน็ เขาไดบ นั ทึกวา เขาเห็นกลวยงวงชางที่ประเทศไทย เมอ่ื ป 2220 กลว ยงวงชา งกค็ อื กลว ยรอ ยหวใี นสมยั นน้ี น่ั เอง ซง่ึ สว นใหญเ ราปลกู เพอ่ื ประดบั เทา นน้ั และมตี าํ นานเลา กนั มาวา มกี ารคา ขายกลว ยตบี อกี ดว ย แสดงใหเ หน็ วา มกี ารปลกู เพอ่ื ความสวยงามและ บรโิ ภคกนั มานานแลว ตอ มาในกรงุ เทพฯ ตอนตน เจาคุณศรีสุนทรโวหาร (นอ ย อาจารยางกรู ) 2427 ไดเขียน กลอนเกย่ี วกบั กลว ย ดงั น้ี

“กลวยกลายมีหลายกระบวน กลว ยกรนั จนั นวล อกี นา้ํ ละวาไทย กลว ยนา้ํ กาบดาํ กา นใบ คลา ยกบั น้าํ ไทย ผลใหญและยาวกวากัน กลวยกุเรียกกลวยสั้นผัน เพย้ี นนามจาํ นันจะหนีที่คาํ หยาบคาย ตนี เตา ตนี ตานกี ลาย กลว ยนา้ํ เชยี งราย กลว ยสม หากมกุ มลู มี กลว ยนา้ํ นมราชสีห อีกกลวยรอยหวีบายสี กเ็ รยี กนามสองหอมเขยี วกลว ยคอ มหอมทอง หอมจนั นวลลออง อีกกลวยที่เรียกเปลือกบาง นค่ี อื กลว ยไข คาํ กลางทา นจดั แบบวาง กลวยกระกลวยพระก็มี กลว ยครง่ั ดจุ ครง่ั ยอ มสี แดงจัดรูจี ทั้งหวีทั้งเครือเจือ แดง กลว ยนากเพยี งนากเปลง แสง กลว ยกรามแรดแดง หนง่ึ นามวา กรามคชสาร กลวยสีสะโตโวหาร เรียกแตโบราณ อีกกลวยประจาํ พาน หนง่ึ เลบ็ มอื นางนามกร ตบี หอมขจร บา งเรียกวา กลวยกรบูร นาง เงยสงี ามจาํ รญู กนิ ดมี มี ลู ภมิ เสรแลสมนมสวรรค หอมวา ตานอี ารญั อบุ ลปนกนั กบั ตาละปต รฤาษี กลวยแขหนึ่งเรียกกัทลี กาบกม็ กั มขี า งแดนละวา ปา ไกล มลอิ อ งผวิ ออ งอาํ ไพ นางนวลยวลใจ กลวยไร กระเหรี่ยงเรียกนาม พรรณกลว ยมหี ลากมากตามประเทศเขตคาม นคิ มและเขตดงดอน เหลอื จะราํ่ นามกร ลดั บทลดทอน แตที่รูแจงแหงนาม” (คดั ตวั สะกดตรงตามตน ฉบบั ) จากกลอนดงั กลา วทาํ ใหเ ราไดท ราบชนดิ ของกลว ยมากขน้ึ แสดงใหเ หน็ ถงึ ความนยิ มการปลกู กลว ยในสมยั ดงั กลา ว ซงึ่ ตรงกับสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว หรือพระปยะมหาราช ซง่ึ ในสมยั นน้ั พระองคท า นไดเ สดจ็ ประพาสประเทศตา งๆ จงึ ไดม กี ารนําเขา กลว ยบางชนดิ ในรชั สมยั ของ ทาน ตง้ั แตป  พ.ศ. 2498 (คศ. 1955) ไดเ รม่ิ มกี ารจําแนกชนดิ ของกลว ยตามหลกั วชิ าการสมยั ใหมข น้ึ คอื มกี ารแยกชนดิ ตามกรรมพนั ธุ โดยใชยีโนมของกลวยเปนตัวกาํ หนดในการแยกชนดิ กลา วคอื กลว ยทร่ี บั ประทานกนั อยใู นปจ จบุ นั น้ี มีบรรพบุรุษอยูเพียง 2 species เทา นน้ั คอื Musa acuminata และ Musa balbisiana กลวยที่มีกาํ เนิดจาก Musa acuminata ซง่ึ มี genome ทางพนั ธกุ รรมเปน AA สว นจาก M. balbisiana มี genome เปน BB สว นทไ่ี ดจ ากลกู ผสมของทง้ั สองชนดิ ใหม ี genome เปน AB ABB AAB ABBB Simmonds (1966) ไดจาํ แนกชนดิ ของกลว ยในประเทศไทยวา มอี ยู 15 ชนิด ตาม วธิ กี ารแบง ดงั กลา วตอ มา วฒั นา เสถียรสวสั ด์ิ และปวิณ ปณุ ศรี (2510) ไดทําการรวบรวมพันธกุ ลว ยท่ี พบในประเทศได 125 สายพันธุ และจากการจาํ แนกจดั กลมุ แลว พบวา มี 20 พันธุ ป 2523-2526 เบญจมาศ ศลิ ายอ ย และ ฉลองชยั แบบประเสริฐ แหงภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ไดทําการสาํ รวจและรวบรวมพันธุที่สถานีวิจัยปากชอง โดยรวบ รมไดท ง้ั หมด 323 สายพันธุ และเม่อื จาํ แนกชนดิ แลว พบวามีอยูเพียง 59 สายพันธุ ตามตารางตอ ไปน้ี

ตารางท่ี 1 รายชอ่ื กลว ยในประเทศไทย ลาํ ดบั ชื่อทั่วไป ลาํ ดับ ชื่อทั่วไป I กลว ยปา (Wild acuminata) 26 กลว ยหอมเขยี วคอ ม กลวยหอมพจมาน 1 กลวยปามูเซอร 27 กลว ยหอมทอง 2 กลว ยปา ระยอง 28 กลว ยคลองจงั 3 กลว ยแข 29 กลว ยไขบ อง 4 กลวยปาสงขลา 30 กลว ยหอมแมว 5 กลว ยทอง 31 กลว ยกนิ ไดล ูกผสม acuminata X balbisiana II กลว ยตานี (Wild balbisiana) VII ก. AAB group กลว ยน้ําฝาด 6 กลวยตานี กลวยนมสวรรค กลวยรอยหวี III กลว ยปา (Wild itinerans) กลว ยเงนิ กลวยหวาน 7 กลว ยหก 32 กลวยไขโบราณ กลว ยทองเดช IV Wild Rhodochlamys 33 กลวยนางนวล กลวยนํ้า 8 กลวยบัว สีขมพู 34 กลว ยกลา ย กลวยงาชาง 9 กลวยบัว สีสม 35 กลวยนิ้วจรเข กลว ยขม V Wild Ensete 36 กลว ยนมสาว ข. ABB group 10 กลว ยผา 37 กลว ยเปลอื กหนา 11 กลว ยนวล 38 กลว ยนมหมี VI กลว ยกนิ ได 39 กลว ยพญา 40 กลว ยหกั มกุ (acuminata cultivars) 41 กลวยสม 42 กลว ยตบี ก. AA group 43 กลวยนํ้าวา 12 กลว ยไข 44 กลว ยน้ําวาขาว 13 กลวยเล็บมือนาง 45 กลวยน้ําวา แดง 14 กลว ยหอมจนั ทร กลว ยนํ้าวาคอ ม 15 กลว ยนํ้าไท 16 กลวยทองรอง 46 17 กลว ยน้ํานม 47 18 กลว ยไล 48 19 กลวยสา 49 20 กลว ยหอม 50 21 กลว ยทองกาบดาํ 51 52 ข. AAA group 53 22 กลว ยนาก 54 23 กลวยครั่ง 55 24 กลว ยกงุ เขยี ว 25 กลว ยหอมเขยี ว

ลาํ ดบั ชื่อทั่วไป ลาํ ดับ ชื่อทั่วไป 56 กลว ยนํ้าวานวล VII กลว ยกนิ ได balbisiana 57 กลว ยหนิ (BBB group) ค. ABBB group 59 กลวยเล็บชางกุด 58 กลว ยเทพรส บรรณานกุ รม บเุ รศ บาํ รงุ การ, หลวง 2516 การทําไรก ลว ย สมาคมพฤกษชาติแหงประเทศไทย กรุงเทพฯ : แพรวิทยา 151 หนา เบญจมาศ กาญจนสุต และวฒั นา เสถียรสวสั ดิ์ 2513 การศกึ ษาทางอนกุ รมวธิ านของกลว ยโดยวธิ ี ทางไซโตและสัณฐานวิทยา ในรายงานการวจิ ยั พชื สว ภาควิชาพืชศาสตร (พืชสวน) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร เลม ท่ี 3 ปที่ 2513 เบญจมาศ ศลิ ายอ ย 253 กลว ย บริษัท ประชาชน จาํ กดั 290 หนา โชติ สวุ ตั ติ 2505 กลว ยปา และกลว ยปลกู ในเมอื งไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 48 หนา De La Lovbere 1693 A new historical relation of the Kingdom of Siam, St Pauis Church-yard. London. Simmonds, N.W. 1966 Bananas 2 nd ed. Longman. London.