Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกแตงกวา

Description: การปลูกแตงกวา

Search

Read the Text Version

ก า ร ป ลู ก แ ต ง ก ว า โดย เฉลมิ เกยี รติ โภคาวัฒนา ภสั รา ชวประดษิ ฐ กลุมพืชผัก กองสง เสรมิ พชื สวน กรมสง เสรมิ การเกษตร, 2539 กระทรวงเกษตรและสหกรณ จดั ทําโฮมเพจโดย : สํานกั บรกิ ารคอมพวิ เตอร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดทําเอกสารเผยแพรโ ดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สารบัญเนื้อหา บทนํา ………………….. (2) แมลงศตั รแู ตงกวา ……………………. (8) ถ่ินกําเนดิ ของแตงกวา ……………………. (2) โรคแตง ……………………. (10) ลักษณะทางพฤกษศาสตร …….……. (3) การเกบ็ เกย่ี ว ……………………. (12) การจาํ แนกแตงกวา ……………………. (4) บรรณานุกรม ……………………. (12) สภาพแวดลอ มในการปลกู แตงกวา (5)

การปลกู แตงกวา 2 บทนํา แตงกวา เปนพืชตระกูลเดียวกันกับแตงโม ฟกทอง บวบ มะระ น้าํ เตา ซง่ึ มกี ารปลกู กนั อยางแพรหลายทั่วทุกภาคของประเทศ มอี ายตุ ง้ั แตป ลกู จนถงึ เกบ็ เกย่ี วสน้ั โดยใชเวลาเพียง 30-45 วัน หลังจากปลกู เมอ่ื เปรียบเทียบรายไดจากการปลกู แตงกวากับพืชอื่นๆ หลายชนิดแลว แตงกวาเปน พชื หนึ่งที่สามารถทํารายไดดีทีเดียว สําหรบั ในแงข องผบู รโิ ภคแลว แตงกวาทส่ี ามารถนําไปปรงุ อาหารได มากมายหลายชนิด เชน การนําไปแกงจืด ผัด จม้ิ น้ําพริก หรอื อาจแปรรปู เปน แตงกวาดอง จะเห็นไดวา แตงกวาเปนพชื ทเ่ี ขา มามีบทบาทตอการคาทง้ั ในและตางประเทศ แตงกวามีถิ่นกาํ เนดิ ในประเทศอนิ เดยี มกี ารบนั ทกึ ประวตั กิ ารปลกู มากกวา 3,000 ป และมี การปลกู ในประเทศแถบทะเลเมดิเตอรเ รเนยี นเมอ่ื กอ น2,000 ป โดยนําผา นเอเซียกลางและตอนเหนอื ของทวีปแอฟริกาในศตวรรษที่ 6 ไดนําไปปลูกในประเทศจีนโดยสันนิษฐานวาไดนําเขาประเทศจีน สองทาง คอื เสนทางสายไหม โดยผา นประเทศในเอเซียตะวนั ออกไปภาคเหนอื ของประเทศจนี สว นอกี เสน ทางโดยผา นประเทศในเอเซียตะวนั ออกเฉยี งใตไ ดแ ก พมา ไทย ลาว ไปสทู างภาคใตข องประเทศจนี ในตวรรษที่ 9-14 ไดน ําไปปลูกในทวีปยุโรปและไดรับการพัฒนาพันธุตนศตวรรษที่ 19 ไดร บั การ พัฒนาพันธใุ หเ หมาะสมตอ การปลกู ไดใ นโรงเรอื น ศตวรรษที่ 15-16 ไดน ําไปปลกู ในทวปี อเมรกิ า กลางและอเมริกาเหนอื และไดร บั การพฒั นาพนั ธอุ ยา งมากในประเทศสหรฐั อเมรกิ าตง้ั แตต น ศตวรรษที่ 19 ปจจุบันแตงกวาเปนผักที่นิยมบริโภคทั่วโลก ทั้งในสภาพการบริโภคสดและแปรรูป

การปลกู แตงกวา 3 แตงกวามีจํานวนโครโมโซม 2n = 14 เปน พชื ผสมขา มตามธรรมชาตโิ ดยอาศยั ลม และ แมลง แตพบอัตราการผสมตวั เอง 1-47 เปอรเ ซน็ ต โดยธรรมชาตมิ ดี อกเพศผแู ละดอกเพศเมยี แยกดอกแต อยูภายในตน เดยี วกนั เปนพืชฤดูเดียว เถาเลอ้ื ยหรอื ขน้ึ คา ง ระบบรากเปน ระบบรากแกว (tap root system) รากแขนงเปน จํานวนมาก รากสามารถแผท าง ดานกวา งและหยง่ั ลงไดล กึ ถงึ 1 เมตร ลําตน เปน เถาเลอ้ื ยเปน เหลย่ี ม มขี นขน้ึ ปกคลมุ ทว่ั ไป มขี อ ยาว 10-20 ซม. มอื เกาะเกดิ ออกมา ตามขอโดยสวนปลายของมอื เกาะไมม กี ารแตกแขนงเปน หลายเสน ใบมกี า นใบยาว 5-15 ซม. ใบหยาบ มีขนใบมีมุมใบ 3-5 มมุ ปลายใบแหลม ใบใหญแบบ palmate มเี สน ใบ 5-7 เสน ดอกเพศเมยี เปน ดอกเด่ียวเกดิ จากบรเิ วณมมุ ใบหรอื ขอ มกี ลบี เลย้ี งสเี ขยี ว 5 กลบี กลบี ดอกสเี หลอื ง 5 กลบี รงั ไขม ี ลักษณะกลมยาว 2-5 ซม. มปี มุ นนู ของหนามและขนชดั เจนสว นของยอดเกสรตวั เมยี มี 2-5 แฉก สวนดอกเพศผูอาจเปนดอกเดี่ยวหรือเปนชอ มกี ลบี เลย้ี งและกลบี ดอกเหมอื นดอกเพศเมยี ละอองเกสร ตัวผู 3 อัน และมกี า นชเู กสรสน้ั ๆดอกเพศเมยี และดอกเพศผบู านในตอนเชา และพรอ มรับการผสมเกสร ดอกจะหบุ ตอนบา ยภายในวนั เดียวกัน เถาแตง ลกั ษณะใบ ลักษณะดอกตวั ผู ลักษณะดอกตวั เมยี การเกิดดอกตวั เมยี นน้ั ขน้ึ อยกู บั ชว งแสงและอณุ หภมู กิ ลา ว คอื จะเกดิ ดอกตวั เมยี มากกวา ดอกตัวผู ในสภาพชว งแสงสน้ั และมอี ณุ หภมู กิ ลางคนื ต่ํา ซง่ึ ตรงกบั ฤดหู นาวของเมอื งไทย

การปลกู แตงกวา 4 ผลของแตงกวามีลักษณะกลมยาวทรงกระบอก ความยาวผลระหวา ง 5-40 ซม. มีไสภายในผล และในปจจุบันพันธุการคาในตางประเทศมีการปรับปรุงพันธุที่สามารถตดิ ผลได โดยไมไดรับการผสม เกสร (parthenocarpic type) โดยภายในผลไมมไี ส เนอ้ื กรอบ และนํ้าหนักตอ ผลสูงนิยมทั้งบรโิ ภค ผลสดแปรรปู สผี ลมสี ขี าว เขยี วออ น เขยี ว และเขยี วเขมดํา สหี นามสขี าว แดง น้าํ ตาล และดํา ลักษณะการเกดิ ผล แตงกวาสามารถจําแนกไดต ามประโยชนก ารใชส อยดงั น้ี 1. พนั ธสุ ําหรบั รบั ประทานสด เปนพันธุที่มีเนื้อบางและไสใหญ สเี ปลอื กเปน สเี ขยี วออ น ผล มีน้ํามากเปนพนั ธทุ ่มี ีทงั้ ผลเล็กและผลใหญ เมอ่ื ผลยงั ออ นอยจู ะมหี นามเตม็ ไปหมด แตเ มอ่ื โตเตม็ ท่ี หนามจะหลดุ ออกเอง พันธุ รบั ประทานสดนไ้ี มเ หมาะกบั การนําไปดอง แตงกวารบั ประทานสดแบง ตามขนาดของผลนน้ั แบง ไดเปน 1.1 แตงผลยาว (long cucumber) ที่รูจักกันในช่ือของแตงรา น ซึ่งมีความยาวผลอยา ง นอย 15 ซม. และมคี วามกวา งผลมากกวา 2.5 ซม. สวนใหญ จะมเี นอ้ื หนาไสแ คบ กรณีทเ่ี ปน พนั ธุ ของไทยน้ัน จะมสี ผี ลสเี ขยี วแกต รงสว น ใกลข ว้ั ผลประมาณ 1/3 ของผลทเ่ี หลอื มจี ดุ ประสเี ขยี วออ นหรอื ขาวและ เสนสขี าวเปน แถบเลก็ ๆ ตลอดความยาวไปถงึ ปลายผล สว นพนั ธขุ องตา งประเทศนน้ั จะมสี ี เขยี วเขม สม่ําเสมอทง้ั ผล 1.2 แตงผลสน้ั (short cucumber) ที่รูจักกันในชอื่ ของแตงกวา ซง่ึ มคี วามยาวผล 8-12 ซม. และมีความกวา งผลมากกวา 2.5 ซม. สว นใหญจ ะมเี นอ้ื นอ ยไสก วา ง 2. พนั ธอุ ตุ สาหกรรม เปนพันธุที่มีเนื้อหนา ไสเ ลก็ บางพนั ธกุ ไ็ มม ไี สเ ลย เปลอื กสเี ขยี วเขม เมอ่ื นําไปดองจะคงรปู รา งไดด ี ไมคอยเหี่ยวยน แตงกวาพนั ธนุ ม้ี กั จะเปน ลกู ผสม ผลมกั มรี ปู รา งผอมยาว ซึ่ง แบงตามขนาดไดด งั น้ี

การปลกู แตงกวา 5 2.1 แตงผลยาว (long cucumber) เปนแตงชนิดที่ใชทําแตงดองของญป่ี นุ และจนี ซง่ึ จะตอ งมี ความยาวผล 20-30 ซม. และมคี วามกวา งผล 2-3 ซม. มเี นอ้ื หนาไสแ คบผวิ สเี ขยี วเขม ตลอดความยาว ของผล มกั ใชด องโดยมกี ารใชน ้ําปรงุ รสดว ยสว นผสมของซอี ว้ิ 2.2 แตงผลส้ัน (short cucumber) เปนแตงชนิดที่ใชทําแตงดองของสหรฐั อเมรกิ าและยโุ รป ซง่ึ มี ความยาว 8-12 ซม. และมคี วามกวา งผล 1.0-5.1 ซม. โดยทว่ั ไปจะมอี ตั ราสว นความยาวตอ ความ กวาง (L/D ratio) มคี า อยรู ะหวา ง 2.8-3.1 มเี นอ้ื หนาและแนน ไสแคบ ผวิ สเี ขยี วเขม ตลอดความยาว ของผล มักใชดองทง้ั ผล ผา ตามความยาวและหน่ั เปน ชน้ิ ๆ ตามความกวา งของผลมกั ดองโดยมกี ารใชน ้ํา ปรุงรสดว ยสว นผสมของซอี ว้ิ ลักษณะผลแตงกวาพนั ธตุ างๆ แตงกวาสําหรบั ดอง แตงกวาพนั ธผุ ลสน้ั แตงกวาพนั ธผุ ลยาว อุณหภูมิที่เหมาะสมตอ การงอกของเมลด็ ระหวา ง 25-30 องศาเซลเซยี ส สามารถเจรญิ เตบิ โต ไดผลดรี ะหวา งอณุ หภมู ิ 20-30 องศาเซลเซยี ส อณุ หภมู กิ ลางวนั 22-28 องศาเซลเซยี ส แตงกวา จะชะงักการเจริญเติบโต สําหรับอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมกับการผสมเกสรนั้นอยูระหวาง 17-25 องศา เซลเซียส

การปลกู แตงกวา 6 แตงกวาเปนพืชที่ไมตองการนํ้ามากแตขาดน้ําไมได โครงสรางของดินที่ปลูกแตงกวาควรมี ลักษณะเปน ดนิ รว นปนทราย มกี ารระบายน้ําดี ควรมคี วามเปน กรด ดา ง (pH) อยูระหวาง 5.5-6.5 ใน สภาพดินทเ่ี ปน ดนิ ทรายจดั หรือเหนียวจัด จําเปน ตอ งปรบั ปรงุ บํารงุ ดนิ กอ นการปลกู โดยใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก หรอื ปยุ หมกั ทส่ี ลายตวั แลว และสภาพความเปน กรดดา งนน้ั ควรจะวิเคราะหหาคาความ ตองการปูนกอ นทจ่ี ะใชป นู ขาวเพอ่ื ใหม กี ารใชใ นปรมิ าณทเ่ี หมาะสม การเตรยี มดนิ กอนการปลกู แตงกวา ทาํ การไถพรวนดนิ ตากไวป ระมาณ 7-10 วันเพื่อ ทําลายวัชพืช และศตั รพู ชื บางชนดิ ทอ่ี ยใู นดนิ จากนั้นจึงไถพรวนเก็บเอาเศษวัชพืชออกแลวเตรียม แปลงขนาดกวาง 1-1.2 เมตร โดยมคี วามยาวตามลกั ษณะของพน้ื ทแ่ี ลว จงึ ใสป ยุ อนิ ทรยี ล งไป ปรบั โครงสรางของดนิ ใหเ หมาะสมกบั การเจรญิ เตบิ โตของแตงกวา การเตรยี มหลมุ ปลกู นน้ั ควรกําหนด ระยะระหวางตน ประมาณ 60-80 เซนตเิ มตร ระหวา งแถวประมาณ 1 เมตร สาํ หรบั การใสป ยุ เคมรี อง พื้นนั้นอาจใชสูตร 15-15-15 ในอตั รา 30-50 กโิ ลกรมั ตอ ไร ในบางแหลง อาจใชพ ลาสตกิ คลมุ ดนิ เพ่ือรักษาความชน้ื ในดนิ ปอ งกนั ความงอกของวชั พชื และพลาสตกิ บางชนดิ สามารถทจ่ี ะไลแ มลง ไมใหเขามาทาํ ลายแตงกวาได การเตรยี มพนั ธุ ขั้นตอนการเตรียมพันธุ นบั วา เปน ขน้ั ตอนทส่ี ําคญั ในการปลกู แตงกวา ซึ่งพอ แบง ไดด งั น้ี 1. การคัดเลือกเมล็ดพันธุแตงกวา ควรคัดเลือกเมล็ดพันธุ ที่มีความสมบูรณ ซื้อจากรานคาใหเลือกซื้อจากรานท่ี เชื่อถือ มกี ารบรรจหุ บี หอ เมลด็ ทส่ี ามารถปอ งกนั ความชน้ื หรืออากาศ จากภายนอกเขาไปได ลกั ษณะเมลด็ แตง กวาควรมีการคลุกสารเคมี เพื่อปองกันศัตรูพืชที่อาจติด มากับเมล็ด และกอนใชเมล็ดทุกคร้ังควรทําการทดสอบ ความงอกกอ น

การปลกู แตงกวา 7 2. การเตรยี มดนิ เพาะกลา อัตราสว นดนิ : ปุย คอก 3:1 และใสป ยุ เคมสี ตู ร 12-24-12 อตั รา 0.5 กิโลกรัม ตอ ตน กลา 1 ไร คลกุ ใหเ ขา กนั แลว บรรจลุ งในถงุ พลาสตกิ ขนาด 6x10 เซนตเิ มตร เพื่อ เตรยี มสําหรบั หยอดเมลด็ แตงกวาตอ ไป 3. ทาํ การบม เมลด็ โดยนําเมลด็ บรรจถุ งุ พลาสตกิ ทเ่ี จาะรพู รนุ แชใ นสารละลายเคมปี อ งกนั และ กาํ จัดศัตรูพืช เชน แคปเทน ออโธไซดผ สมอตั รา 5 กรมั ตอ น้ํา 1 ลติ ร แชเ มลด็ นาน 30 นาที เพื่อ ทาํ ลายเชอ้ื ราทผ่ี วิ เมลด็ จากนน้ั นํามาแชน ้ํา 4 ชั่วโมง แลว จงึ บม ในผา ชบุ น้ําหมาดๆ ซง่ึ บรรจอุ ยใู นถงุ พลาสตกิ รดั ปากถงุ ใหแ นน บมในสภาพอุณหภูมิหองนาน 24 ชั่วโมง หลงั จากรากงอกยาว 0.5 เซนตเิ มตร จึงนําไปเพาะตอไป 4. การหยอดเมลด็ ลงถงุ นําเมลด็ ทไ่ี ดบ ม ไวห ยอดลงแตล ะถงุ จํานวนถงุ ละ 1 เมลด็ แลว ใชด ิน ผสมหยอดกลบบางประมาณ 1 เซนตเิ มตร การดแู ลรกั ษากลา หลังจากหยอดเมลด็ แลว ใหน ้ําทันที โดยวิธกี ารฉีดพน ใหเปนฝอยละเอียดท่ี สุดเทาที่จะทําไดป รมิ าณน้ําทใ่ี หน น้ั ไมค วรใหป รมิ าณทม่ี ากเกนิ ไป ในชว งฤดรู อ นควรจะใหว นั ละ 1 ครง้ั ท้ังน้ีใหตรวจดคู วามชน้ื กอ นการใหน ้ําทุกครั้ง ถงุ เพาะกลา นค้ี วรเกบ็ ไวใ นทแ่ี ดดไมจ ดั หรอื มกี ารใชว สั ดุ กันแสงไมใหมากระทบตนกลา มากเกนิ เกินไป เมอ่ื แตงกวาเรม่ิ งอกใหห มน่ั ตรวจดคู วามผดิ ปกตขิ อง ตนกลาเปนระยะๆ หากมกี ารระบาดของแมลงหรอื โรคพชื ตอ งรบี กําจัดโดยเร็ว และเมอ่ื ตน กลา มใี บจรงิ ประมาณ 3-4 ใบ จะอยูในระยะพรอมที่จะยายปลูก การปลกู วิธีการปลูกแตงกวานน้ั พบวา มกี ารปลกู ทง้ั วธิ กี ารหยอดเมลด็ โดยตรงและเพาะกลา กอนแลวยายปลูก การหยอดเมลด็ โดยตรงนน้ั อาจจะมคี วามสะดวกในการปลกู แตม ขี อ เสยี คอื สน้ิ เปลอื ง เมล็ด หากใชเมลด็ พนั ธลุ กู ผสมซง่ึ มรี าคาแพงแลว จะเกดิ ความสญู เสยี เปลา และเปน การเพม่ิ ตน ทนุ การ ผลิต รวมท้ังวิธกี ารหยอดเมลด็ นจ้ี ําเปน ทจ่ี ะตอ งดแู ลระยะเรม่ิ งอกในพน้ื ทก่ี วา ง ดงั นน้ั การใชว ธิ กี ารเพาะ กลากอน จงึ มขี อ ดหี ลายประการ อาทิเชน ประหยดั เมลด็ พนั ธุ ดแู ลรกั ษางา ย ตน กลา มคี วามสม่ําเสมอ ประหยดั คา แรงงานในระยะกลา เปน ตน สาํ หรบั การยา ยกลา ปลกู นน้ั ใหดําเนนิ การตามกระบวนการเพาะกลา ตามทก่ี ลา วแลว และเตรียม หลุมปลูกตามระยะท่กี ําหนด จากนน้ั นําตน กลา ยา ยปลกู ลงในหลมุ ตามระยะระหวา งตน และระหวา ง แถวตามที่ไดกําหนดไว โดยการฉกี ถงุ พลาสตกิ ทใ่ี ชเ พาะกลา ออกแลว ยา ยลงในหลมุ ปลกู ชวงเวลาที่จะ ยายกลาน้ันควรยายชวงประมาณเวลา 17.00 น. จะทําใหป ฏบิ ตั งิ านในไรน าไดส ะดวกและตน กลา สามารถปรบั ตวั เขา กบั สภาพแวดลอ มไดด ยี ง่ิ ขน้ึ หลังใสป ยุ พรวนดนิ กลบ

การปลกู แตงกวา 8 การใหน้ํา หลังจากยา ยกลา ปลกู แลว ตอ งใหน ้ําทันที ระบบการใหน ้ํานน้ั อาจจะแตกตา งกนั ขน้ึ อยูกับสภาพพื้นที่ แตระบบที่เหมาะสมกับแตงกวา คอื การใหน ้ําตามรอ ง เพราะวาจะไมทําใหล ําตน และ ใบไมชื้น ลดการลกุ ลามของโรคพชื ทางใบ ชว งเวลาการใหน ้ําในระยะแรกควรให 2-3 วนั ตอ ครง้ั และ เม่ือตน แตงกวา เรม่ิ เจรญิ เตบิ โตแลว จงึ ปรบั ชว งเวลาการใหน ้ําใหนานขน้ึ ขอ ควรคํานงึ สําหรบั การใหน ํ้า น้ันคือ ตองกระจายในพื้นที่สมํ่าเสมอตลอดแปลง และตรวจดคู วามชน้ื ในดนิ ไมใ หส งู เกนิ ไปจนกลายเปน แฉะ เพราะจะทําใหร ากเนา ได การใสป ยุ การใสป ยุ ในแตงกวานน้ั อาจแบง เปน ระยะตา ง ๆ ดงั น้ี 1. ระยะเตรยี มดนิ ใสปุยอินทรีย เชน ปยุ คอก หรือปุยหมัก อตั รา 1-2 ตนั ตอ ไร และใสป ยุ สูตร 15-15-15 หรือ 12-24-12 อตั ราประมาณ 20-30 กโิ ลกรมั ตอ ไร 2. หลงั ยา ยปลกู ประมาณ 7 วัน ใสปุยที่มีไนโตรเจน เชน ยูเรีย หรือ แอมโมเนยี ซัลเฟต ในอตั รา ประมาณ 20 กโิ ลกรมั ตอ ไร 3. ระยะแตงกวาออกดอก ซง่ึ จะใชร ะยะเวลาประมาณ 25 วัน หลังจากยายกลา ใสปยุ สูตร 15- 15-15 หรือ 12-24-12 อตั รา ประมาณ 20-30 กโิ ลกรมั ตอ ไร การปลกู โดยไมใ ชค า ง การปลกู โดยใชค า ง ในแตงกวานน้ั มศี ตั รทู ท่ี ําลายแตงกวาแบง ได คอื แมลงศตั รแู ตง แตงกวานน้ั เปน พืชผกั ชนดิ หนึง่ ท่มี ี แมลงศตั รเู ขา ทําลายมาก และที่พบบอยและ ทาํ ความเสียหายกับแตงกวามากไดแก 1. เพลย้ี ไฟ (Thrips : Haplothrips floricola) ลกั ษณะ เปนแมลงขนาดเล็ก ตวั สนี ้ําตาลออ นถงึ น้ําตาลแก พบตามยอดใบออ น ดอกและผลออ น การทําลาย ดูดน้ําเลย้ี งทใ่ี บ ดอกออ น และยอดออ น ทําใหใบมว นหงิกงอ รปู รา งผดิ ปกตเิ ปน กระจุก มีสีสลบั เขยี วเปน ทาง ระบาดมากในชว งทม่ี อี ากาศแหง แลง ฝนทง้ิ ชว ง นบั เปน แมลงทเ่ี ปน ปญ หา สาํ คญั ทส่ี ดุ ในการปลกู แตงกวา

การปลกู แตงกวา 9 ลักษณะการทําลายของเพลย้ี ไฟ การปอ งกนั กําจดั ใหน้ําเพม่ิ ความชน้ื ในแปลงปลกู โดยใหนํ้าเปน ฝอยตอนเชา และตอนเยน็ จะ ชวยลดปญหาของเพลี้ยไฟได ใชสารฆาแมลง คอื สารคารโ บฟรู าน ไดแก ฟรู าดาน 3 จี หรือ คูราแทร 3 จี 1 ชอ นชาตอ หลมุ ใสพรอมกบั การหยอดเมลด็ จะปอ งกนั ไดป ระมาณ 2 สัปดาห กรณที เ่ี รม่ิ มกี ารระบาดใหใ ชส ารฆา แมลง ไดแก พอสซเมซูโรล แลนเนท ไดคารโซล ออลคอล อะ โซดริน โตกุไทออน หรือทามารอน เปน ตน 2. เพลย้ี ออ น (Alphids: Aphids gossypii) ลกั ษณะ เปน แมลงขนาดเลก็ ลําตวั คลา ยผลฝรง่ั มที อ เลก็ ๆ ยน่ื ยาวออกไปทางสว นทา ยของลําตวั 2 ทอน เปน แมลงปากดดู ตวั ออ นสเี ขยี ว ตัวแกสีดําและมปี ก การทําลาย ดูดน้ําเลย้ี งทใ่ี บและยอดออ น ทาํ ใหใ บมว น ตนแคระแกร็น และยงั เปน พาหนะนําไว รัสดวย มักระบาดมากในชว งอากาศรอ นและแหง ซง่ึ เปน ตอนทพ่ี ชื ขาดน้ํา โดยมมี ดเปน ตวั นําหรอื การ บินยายที่ของตัวแก การปอ งกนั กําจดั ใชสารเคมปี อ งกนั กําจดั แมลงเชน เดยี วกบั การปอ งกนั กําจัดเพลี้ยไฟ 3. ไรแดง (Red spider mites: Tetranychus spp.) ลกั ษณะ ไมไดเปน แมลงแตเ ปน สตั วท ม่ี ขี า 8 ขา มขี นาดเลก็ มาก มองเหน็ เปน จดุ สแี ดง การทําลาย ดูดน้ําเลยี้ งทีใ่ บและหยอดออนทําใหใ บเปน จดุ ดา งมสี ซี ดี โดยจะอยูใตใบเขาทําลาย รวมกับเพลี้ยไฟ และเพลย้ี ออ น มกั ระบาดมากในชว งอากาศรอ นและแหง ซง่ึ เปน ตอนทพ่ี ชื ขาดน้ํา การปอ งกนั กําจดั ใชส ารเคมกี ําจัดไร ไดแก เคลเทน ไตรไทออน หรือ โอไมท เปน ตน 4. เตา แตงแดง (Red cucurbit beetle: Aulacophora simills) และเตา แตงดํา (Black cucurbit beetle: A. frontalis)

การปลกู แตงกวา 10 ลกั ษณะ เปนแมลงปก แข็ง ปก มสี สี ม แดงและสดี ําเขม ตวั มขี นาดเลก็ ยาวประมาณ 0.5-0.8 ซม. อาศัยอยูต ามกอขา วทเ่ี กย่ี วแลว ในนาหรอื ตามกอหญา การทําลาย กัดกินใบตง้ั แตร ะยะใบเลย้ี งจนกระทง่ั ตน โต ทําใหเปน แผลและเปน พาหะของโรค เหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียดวย ตวั เมยี วางไขบ รเิ วณโคนตน ตวั หนอนกดั กนิ ราก การปอ งกนั กําจดั ควรทําลายแหลง ทอ่ี ยอู าศยั ของแมลง รวมทั้งเศษซากแตงหลังการเก็บเกี่ยว ใชส ารเคมฉี ดี พน ไดแก เซฟวิน คารโบนอกซี-85 หรือ ไบดริน หรอื ใชส ารเคมชี นดิ เมด็ เชน ฟู ราดาน 3 จี หรอื ครู าแทร 3 จี ใสห ลมุ ปลกู พรอ มกบั การหยอดเมลด็ จะปอ งกนั เตา แตงไดป ระมาณ 2 สัปดาห 5. หนอนกินใบแตง (Leaf eating caterpilla: Palpita indica) และหนอนไถเปลอื กหรอื หนอน เจาะผล (Fruit boring caterpillar:Helicoverpa armigera) ลกั ษณะ หนอนกัดกินใบแตง มรี ปู รา งเรยี วยาวประมาณ 2 ซม. สเี ขยี วออ น ตรงกลางสนั หลงั มี เสนแถบสีขาวตามยาว 2 เสน หนอนตวั โตเตม็ วยั เปน ผเี สอ้ื ทม่ี ปี ก โปรง ใสตรงกลาง สว นหนอนเจาะผลมี ขนาดใหญกวา ลําตวั ยาวสเี ขยี วออ นถงึ สนี ้ําตาลดํา มรี อยตอ ปลอ งชดั เจน การทําลาย กัดกินใบ ไถเปลอื กเปน แผลและเจาะผลเปน สาเหตใุ หโ รคอน่ื ๆ เขาทาํ ลายตอ ได เชน โรคผลเนา การปอ งกนั กําจดั ใชส ารเคมี เชน อโซดรนิ แลนเนท ทามารอน โตกไุ ทออน บุก หรือ อะโกรนา เปน ตน แตงกวามโี รคทเ่ี ปน ศตั รสู ําคญั ไดแก 1. โรครานํ้าคา ง (Downy mildew) หรือทเ่ี กษตรกรนยิ มเรยี กวา โรคใบลาย เกิดจากเชื้อ Psudoperonospora ลกั ษณะอาการ เร่ิมเปนจดุ สเี หลอื งบนใบ แผลนน้ั จะขยายออกเปน เหลย่ี มในระหวา งเสน ใบ ถาเปน มากๆ แผลลามไปทง้ั ใบทําใหใ บ

การปลกู แตงกวา 11 แหงตาย ในตอนเชา ทม่ี หี มอกน้ําคา งจดั ชว งหลงั ฝนตกตดิ ตอ กนั ทําใหม คี วามชน้ื สงู ในบรเิ วณปลกู จะ พบวาใตใ บตรงตําแหนง ของแผลจะมเี สน ใยสขี าวเกาะเปน กลมุ และมสี ปอรเ ปน ผงสดี ํา การปอ งกนั กําจัด คลุกเมลด็ แตงดว ยสารเคมเี อพรอน หรือ รโิ ดมลิ เอม็ แซดกอ นปลกู หรอื จะนํา เมล็ดมาแชสารเคมที ล่ี ะลายน้ําเจอื จางเปน เวลา 3 ชว่ั โมงกไ็ ด เมอ่ื มโี รคระบาดในแปลงและในชว งนน้ั มี หมอกและน้ําคา งมาก ซง่ึ ควรฉดี Curzate M8, Antrachor สลบั กนั เพอ่ื ปอ งกนั การดอ้ื สารเคมขี องเชอ้ื โรครานํ้าคา โรคใบดา ง 2. โรคใบดา ง (Mosaic) เชอ้ื สาเหตุ Cucumber mosaic virus ลกั ษณะอาการ ใบดางสีเขียวเขม สลบั สเี ขยี วออ นหรอื ดา งเขยี วสลบั เหลอื งเนอ้ื ใบตะปมุ ตะปา มี ลักษณะนนู เปน ระยะๆ ใบหงกิ เสยี รูปราง การปอ งกนั กําจัด ในปจจุบันยงั ไมม กี ารใชส ารเคมหี รอื วธิ กี ารใดๆ ทจ่ี ะลดความเสยี หายเมอ่ื โรคน้ี ระบาด ดังนน้ั วธิ ที ด่ี ที ส่ี ดุ ขณะน้ี คอื การปอ งกนั ไมใ หเ กดิ โรค เชน เลอื กแหลง ปลกู ทป่ี ลอดจากเชอ้ื ไวรัส อาจทําไดโ ดยเลอื กแหลง ปลกู ทไ่ี มเ คยปลกู ผกั ตระกลู แตงมากอ นและทําความสะอาดแปลงปลกู พรอมท้ังบรเิ วณใกลเ คยี งใหส ะอาดไมใ หเ ปน ทอ่ี าศยั ของเชอ้ื และแมลงพาหะ 3. โรคผลเนา (Fruit rot) เชอ้ื สาเหตุ Pythium spp., Rhizoctonia solani, Botrytis cinerea ลกั ษณะอาการ มักเกดิ กบั ผลทส่ี มั ผสั ดนิ และผลที่แมลงกัดหรือเจาะทําใหเกิดแผลกอ นจะพบมาก ในสภาพที่เย็นและชื้น กรณีที่เกิดจากเชื้อพิเที่ยมจะเปนแผลฉํ่าน้าํ เรม่ิ จากสว นปลายผล ถา มคี วามชน้ื สงู จะมีเสนใยฟสู ขี าวขน้ึ คลมุ กรณีที่เกิดจากเชื้อไรซอกโทเนียจะเปนแผลเนาฉํ่าน้าํ บรเิ วณผวิ ของผลทส่ี มั ผสั ดิน แผลจะเปลย่ี นจากสนี ้ําตาลแกแ ละมรี อยฉกี ของแผลดว ย สว นกรณีที่เกิดจากเชื้อโบทรทิ ส่ิ นนั้ บรเิ วณ สวนปลายของผลที่เนา จะมเี ชอ้ื ราขน้ึ คลมุ อยู การปอ งกนั กําจัด ทําลายผลทเ่ี ปน โรค อยา ใหผ ลสมั ผสั ดนิ ปอ งกนั ไมใ หผ ลเกดิ บาดแผล

การปลกู แตงกวา 12 4. โรคราแปง (Powdery mildew) เชอ้ื สาเหตุ Oidium sp. ลกั ษณะอาการ มักเกิดใบลางกอนในระยะที่ผลโตแลว บนใบจะพบราสขี าวคลา ยผงแปง คลมุ อยู เปนหยอ มๆ กระจายทั่วไป เมอ่ื รนุ แรงจะคลมุ เตม็ ผวิ ใบทําใหใ บเปลย่ี นเปน สเี หลอื งแลว แหง ตาย การปอ งกนั กําจัด ใชส ารเคมี เชน เบนเลท เดอโรซาล Diametan หรือ Sumilex ฉีดพนเมื่อพบ การระบาด อายุการเกบ็ เกย่ี วของแตงกวานบั จากวนั ปลกู ประมาณ 30-40 วัน แลวแตพันธุแตงกวาสําหรับ บริโภคสด ควรเลอื กเกบ็ ขณะทผ่ี ลยงั ออ นอยเู นอ้ื แนน กรอบ และสงั เกตไดจ ากมนี วลสขี าวเกาะและยงั มี หนามอยูบาง ถา ผลแกนวลจะจางหาย สผี ลเรม่ิ เปน สเี หลอื ง และไมม หี นาม การเก็บแตงกวาควรทยอย เก็บวันเวนวัน ไมป ลอ ยใหแ กค าตน เพราะจะทําใหผ ลผลติ ทง้ั หมดลดลง โดยปกติจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได ประมาณ 1 เดอื น ลักษณะผลพรอ มเกบ็ เกย่ี ว กรมการคา ภายใน. 2531. รายงานการศกึ ษาเรอ่ื งแตงกวา. กองเศรษฐกิจการเกษตร. กรมการคา ภายใน หนา 1-65. กมล เลศิ รตั น. 2536. การผลติ เมลด็ พนั ธผุ กั . กองขยายพันธุพืช. กรมสง เสรมิ การเกษตร หนา 189-213. จานลุ กั ษณ ขนบดี. 2535. การผลติ เมลด็ พนั ธผุ กั . กรุงเทพ: สาํ นกั พมิ พโ อเยนสโตร หนา 102-125. จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร