หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอมายอ จังหวัดปัตตานี พระราชประวตั ิ ในหลวงรัชกาลท่ี 10 สมเดจ็ พระ เจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณฯ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอมายอ สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั ปตั ตานี
พระราชประวตั ิ ในหลวงรชั กาลที่ 10 สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณฯ พระราชประวัติ ในหลวงรัชกาลท่ี 10 – สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิรา ลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เป็นพระราชโอรสพระองค์เดียวใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) และสมเด็จ พระนางเจา้ สิริกติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเปน็ สยามมกุฎราชกุมารพระองค์ท่ี 3 ของไทย และเมื่อเวลาประมาณ 10.20 น. วันที่ 29 พฤศจิกายน 2559 คณะรัฐมนตรี (ครม.) และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้จัดประชุม รว่ มกันในวาระพิเศษเรือ่ ง การมีพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ และมีมติแจ้งไป ยังประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ให้อัญเชิญองค์พระรัชทายาท (สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร) ข้ึนครองราชสมบัติ สืบเป็น รัชกาลที่ 10 พระราชประวตั ิ ในหลวงรชั กาลท่ี 10
พระราชประวัติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระนาม เมื่อแรกประสูติว่า “สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิ ศรสันตติวงศ เทเวศรธารงสุบริบาล อภิคุณูประการมหิตลาดุลเดช ภูมิพลนเรศ วรางกูร กิตติสิริสมบูรณ์สวางควัฒน์ บรมขัตติยราชกุมาร” เป็นพระราชโอรส พระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เม่ือวันจันทร์ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เวลา 17:45 น. ซึ่งพระนาม “วชิราลงกรณ” น้ัน สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิ รญาณวงศ์ทรงตั้งถวาย มาจาก “วชิรญาณ” พระนามฉายาขณะผนวชใน พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ผนวกกับ ”อลงกรณ์”Ž จากพระนามในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จฬุ าลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั (รชั กาลท่ี 5)
พี่นอ้ ง มีพระเชษฐภคินี 1 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัต นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และพระขนิษฐภคินี 2 พระองค์ คือ สมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรม ราชกุมารี และสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อคั รราชกุมารี การศกึ ษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ทรงสาเร็จ การศึกษาข้ันต้นในระดับอนุบาล รุ่นที่ 2 จากโรงเรียนจิตรลดา แล้วจึงเสด็จฯ ไปทรงศึกษาต่อในระดับประถมศึกษาท่ีโรงเรียนคิงส์มีด แคว้นซัสเซกส์ และ ศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาทโ่ี รงเรียนมลิ ฟิลด์ แคว้นซอมเมอรเ์ ซทประเทศองั กฤษ หลังจากน้ัน ทรงศึกษาต่อวิชาทหารท่ีโรงเรียนคิงส์สกูล ซิดนีย์ ประเทศ ออสเตรเลีย เสร็จแล้ว ทรงการศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีสาขาอักษรศาสตร์
(ด้านการทหาร) จากมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย เม่ือ พ.ศ. 2519 โรงเรยี นเสนาธิการทหารบก รุ่นท่ี 46 นอกจากน้ี ยงั ทรงศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก รนุ่ ที่ 46 เม่ือปี พ . ศ . 2520 ท ร ง เ ข้ า ศึ ก ษ า ใ น ส า ข า วิ ช า นิ ติ ศ า ส ต ร์ รุ่ น ท่ี 2 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เม่ือ พ.ศ.2525 ทรงสาเร็จการศึกษานิติ ศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอนั ดับ 2) และปี พ.ศ. 2533 ทรงได้รบั การศึกษา ณ วิทยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั รแห่งสหราชอาณาจกั ร
พระราชพิธีสถาปนาเฉลมิ พระนามาภิไธย สมเด็จพระยุพราช เมอ่ื วนั ที่ 28 ธนั วาคม พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ตั้ง การพระราชพิธีสถาปนาเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าว ชิราลงกรณ ให้ดารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ตามโบราณขัตตยิ ราชประเพณี เพ่ือรับราชสมบัติปกครอง ราชอาณาจักรสืบสนองพระองค์ โดยมีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟ้ามหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวราง กูร สิริกิติยสมบูรณสวางควัฒน์ วรขัตติยราชสันตติวงศ์ มหิตลพงศอดุลยเดช จกั รนี เรศยุพราชวสิ ทุ ธ สยามมกฎุ ราชกุมาร”
พระราชกรณยี กจิ 1. ดา้ นการบิน เมอ่ื วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 ทรงปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ครกู ารบนิ เครื่องบิน ขับไล่แบบเอฟ-5 อี/เอฟ และพ.ศ. 2552 ทรงปฏิบัติหน้าที่นักบินท่ี 1 เครอ่ื งบินโบอง้ิ 737 – 400 ในเที่ยวบินสายใยรกั แห่งครอบครัว ช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภัย และจัดหาอุปกรณ์ด้านการแพทย์ สาหรับโรงพยาบาลใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (เที่ยวบินที่ ทีจี 8870 กรุงเทพมหานครถึงจังหวัด เชยี งใหม่ และเทยี่ วบนิ ท่ี ทีจี 8871 จังหวดั เชยี งใหม่ถึงกรงุ เทพมหานคร) 2. ดา้ นการทหาร สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสดจ็ พระ ราชดาเนนิ ไปเยยี่ มท่ตี ้งั กองทหารหนว่ ยตา่ งๆ อย่เู สมอ จากการทีไ่ ด้ทรงศึกษา
ดา้ นวิชาทหารมานาน ทรงมคี วามรเู้ ช่ียวชาญอยา่ งมาก และไดพ้ ระราชทาน ความร้เู หลา่ นนั้ ให้แก่ทหาร 3 เหลา่ ทัพ ทรงปฏบิ ตั พิ ระองค์เปน็ แบบอยา่ งแก่ นายทหาร เอาพระทัยใสใ่ นความเป็นอย่ทู ุกขส์ ขุ ของทหารผู้อยู่ใตบ้ งั คับบัญชา อย่างทวั่ ถึง รวมทัง้ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เปน็ ทุนการศกึ ษา แกบ่ ตุ รของทหาร สิง่ เหล่านล้ี ว้ นก่อใหเ้ กดิ ความเทิดทนู และความจงรักภกั ดแี ก่ เหล่าทหารเปน็ อย่างยงิ่ ซ่ึงในปัจจุบันทรงดารงพระยศทางทหารของ 3 เหล่าทัพ ได้แก่ พลเอก พลเรอื เอก และพลอากาศเอก ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจด้านการทหาร และ ทรงเข้าร่วมปฏิบัติการรบในการต่อต้านการก่อการร้ายในภาคเหนือและภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของประเทศไทย รวมท้ังการคุ้มกันพ้ืนท่ีในบรเิ วณรอบค่าย ผู้อพยพชาวกมั พูชา ท่ีเขาลา้ น จงั หวัดตราด อกี ดว้ ย 3. ด้านการศึกษา พระองค์พระราชทานพระราชานุญาตให้ใช้อาคารของกรมทหารมหาดเล็ก ราชวลั ลภรักษาพระองค์ เปน็ ทต่ี งั้ ของโรงเรยี นอนบุ าลชอื่ ว่า โรงเรยี นอนบุ าล ทหารมหาดเลก็ ราชวลั ลภ โดยในระยะแรกได้จัดการเรยี นการสอนเฉพาะช้นั อนบุ าล ตอ่ มาโรงเรยี นได้ยา้ ยไปท่ีจังหวดั นนทบุรี และได้รับพระราชทานชื่อใหม่ ว่า “โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์” นอกจากนี้ ยังพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สมทบเป็นค่า ก่อสร้างโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีตั้งอยู่ในชนบทห่างไกลคมนาคมไม่สะดวก กระทรวงศึกษาธิการได้สนองพระราชประสงค์ด้วยการน้อมเกล้าฯ ถวาย โรงเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษาจานวน 6 โรงเรยี น เป็นโรงเรียนในพระราชูปถัมภ์ ได้แก่
โรงเรียนมธั ยมพัชรกิตยิ าภา อ.ปลาปาก จ.นครพนม (ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็น โรงเรียนมธั ยมพชั รกิติยาภา 1) โรงเรียนมัธยมจุฑาวัชร อ.ลานกระลือ จ.กาแพงเพชร (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อ เปน็ โรงเรียนมธั ยมพชั รกติ ยิ าภา 2) โรงเรียนมัธยมวัชเรศร อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี (ปัจจุบันเปล่ียนชื่อเป็น โรงเรยี นมธั ยมพัชรกติ ยิ าภา 3) โรงเรียนมัธยมจักรีวัชร อ.รัตนภูมิ จ.สงขลา (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรยี นมัธยมสริ วิ ณั วรี 2) โรงเรียนมัธยมวัชรวีร์ อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา (ปัจจุบันเปลี่ยนช่ือเป็น โรงเรียนมัธยมสิรวิ ณั วรี 3) โรงเรียนมัธยมบุษย์น้าเพชร อ.เมือง จ.อุดรธานี (ปัจจุบันเปล่ียนช่ือเป็น โรงเรียนมธั ยมสริ ิวัณวรี 1) สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระ ราชดาเนินไปทรงเยีย่ มเยาวชนในตาบลต่างๆ ทรงสนบั สนนุ การจดั ตงั้ ศูนย์ เยาวชนตาบล รวมทงั้ ไดท้ รงเปน็ ประธานงานวันเยาวชนแห่งชาติ วนั ที่ 20 กนั ยายน ของทุกปี และทรงเปน็ ประธานในพธิ ปี ฏิญาณตนและสวนสนามของ ลูกเสอื และเนตรนารี และสมาชกิ ผทู้ าประโยชน์ ทั้งนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ได้ อุปการะเด็กกาพร้า คือ จักรกฤษณ์ และอนุเดช ชูศรี ที่ครอบครัวเสียชีวิตจาก ภูเขาถล่มเม่ือปี พ.ศ. 2554 รวมท้ังครอบครวั ของบูรฮาน และบุศรนิ ทร์ หร่า ยมณี ซ่ึงบิดาถูกลอบสังหารจากเหตุความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
โดยจะทรงอปุ การะจนกว่าจะสาเรจ็ การศึกษาปริญญาตรีหรือจนกว่าจะมีอาชีพ สามารถเลย้ี งครอบครัวได้ เปน็ ต้น 4. ด้านการแพทย์และสาธารณสขุ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระ กรุณาโปรดฯ ให้สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชขึ้น เพื่อให้การ รกั ษาพยาบาลผู้เจ็บป่วยในถิ่นทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็นองค์นายกกิตติมศักดิ์ ของมลู นธิ ิโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราช พระองค์มีพระราชปณิธานใหเ้ อาใจใส่ รักษาพยาบาลพสกนิกรของพระองค์ให้ปลอดภัยจากความเจ็บไข้โดยทั่วหน้า เสมอกนั 5. ดา้ นศาสนา สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงปฏิบัติ พระราชกรณยี กิจแทนพระองค์ ทรงประเคนผ้าไตร ประกาศนียบัตร และพัดยศ ในการตั้งภิกษุ และ สามเณรเปรียญ เนื่องในการพระราชพิธีทรงบาเพ็ญพระ
ราชกุศล วิสาขบูชา ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรม มหาราชวัง พ.ศ. 2551 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงแสดง พระองคเ์ ป็นพุทธมามกะท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เม่ือวันท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2509 กอ่ นเสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงศกึ ษาตอ่ ทีป่ ระเทศองั กฤษ นอกจากนี้ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชศรัทธาทรงผนวชในพระพุทธศาสนา โดยพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโปรดฯ ให้จัดการพระราชพิธีผนวช ณ พัทธสีมา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2521 โดยมีสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ สมเด็จพระ ธีรญาณมนุ ี (ธรี ์ ปณุ ณฺ โก) ถวายอนุศาสน์ ได้รบั ถวายพระสมณนามว่า “วชิราลงฺ กรโณ” และได้ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ตลอดจนทรงลาสิกขาในวันท่ี 20 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2521 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระ ราชดาเนินแทนพระองค์ ไปปฏิบัติพระราชกิจทางพระพุทธศาสนาอย่าง สม่าเสมอ เช่น เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ไปทรงเปลี่ยนเครือ่ งทรงพระ พุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตามฤดูกาล เสด็จพระ ร า ช ด า เ นิ น แ ท น พ ร ะ อ ง ค์ ไ ป ท ร ง บ า เ พ็ ญ พ ร ะ ร า ช กุ ศ ล ใ น วั น ส า คั ญ ท า ง พระพุทธศาสนา อาทิ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และการ ถวายผา้ พระกฐนิ หลวงตามวดั ตา่ งๆ เปน็ ต้น
6. ด้านการเกษตร สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราช ดาเนินไปทรงทาปุ๋ยหมักจากผักตบชวาและวัชพืชอื่นๆ เป็นปฐมฤกษ์ เพ่ือ พระราชทานแก่เกษตรกร สาหรบั นาไปใช้ในการเพาะปลูกเป็นการเพิ่มผลผลิต ที่บ้านแหลมสะแก ต.เดิมบาง อ.เดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี เม่ือวันที่ 23 มนี าคม พ.ศ. 2528 7. ด้านการตา่ งประเทศ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2554 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู และพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าศรรี ัศม์ิ พระวรชายาฯ โปรดให้ พล.อ.ท.ภักดี แสงชูโต นาผ้าห่มกันหนาว 20,000 ผืน ไปช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคล่ืนสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ที่ ประเทศญป่ี ุ่น โดยมีนายกษติ ภิรมย์ เป็นผรู้ บั มอบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: