Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปผลการดำเนินโครงการผู้สูงอายุ

สรุปผลการดำเนินโครงการผู้สูงอายุ

Published by sopeejindaa, 2020-05-13 03:36:08

Description: สรุปผลการดำเนินโครงการผู้สูงอายุ

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 บทนำ เหตผุ ลและควำมจำเปน็ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทาให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประกอบกับ การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปล่ียนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเดย่ี ว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จานวนผู้ท่ีจะทา หน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึง ถูกทอดทิง้ ให้อยูโ่ ดดเดย่ี ว ดาเนนิ ชีวติ เพยี งลาพัง จากสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ทาให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพ่ือให้สอดคล้องกับ สังคมในปัจจุบัน ท้ังในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่าง ๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบ่ือ หน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยท่ีต้องเผชิญกับรูปแบบการดาเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มี รายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเส่ือมลง มีโรคทางกายเพ่ิมมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย ส่ิง สาคัญของชีวิต เชน่ การสูญเสยี คู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครวั การสูญเสียตาแห่ง หน้าท่ีการงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นท่ีพ่ึงของครอบครัว ส่ิง เหล่าน้ีล้วนเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จาก บคุ คลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะย่ิงสง่ เสรมิ ให้ผสู้ งู อายวุ า้ เหว่ มีภาวะซมึ เศร้าและความรู้สกึ มีคุณคา่ ในตนเองลดลงจนเกิด ความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจท่ีรุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อ ชวี ติ ได้ กศน.ตาบลบ้านแป้ง ได้เห็นความสาคัญของผู้สูงอายุจงึ ได้จัดทาอบรมเตรยี มความพรอ้ มเข้าสวู่ ัยผู้สูงอายุ ขนึ้ เพอ่ื ส่งเสรมิ สขุ ภาพรา่ งกาย จิตใจ และสงั คม ให้แกผ่ สู้ ูงอายใุ นตาบลตอ่ ไป วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สง่ เสริมให้ผู้สงู อายุมีความรู้สึกมีคุณคา่ ในตนเองและมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมของชุมชน 2. เพ่ือส่งเสรมิ ให้ผู้สงู อายุมคี วามรแู้ ละสามารถดแู ลสขุ ภาพของตนเองเบ้ืองตน้ ได้ ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะไดร้ บั ผ้สู งู อายุไดร้ ับองค์ความรูท้ ต่ี รงกบั สภาพปัญหาและความต้องการ มีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ขี น้ึ และดารงชวี ิตอยู่ ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ 1

2 บทท่ี 2 เอกสำรท่เี ก่ยี วขอ้ ง การดาเนินงานการจัดกิจกรรมอบรมเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุได้เสนอแนวคิดหลักการและ เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง ตามลาดับดงั ต่อไปน้ี 1. ความสาคญั ของการจดั กจิ กรรมอบรมเตรยี มความพร้อมเขา้ สู่วัยผู้สงู อายุ 2. ที่มาและความสาคญั ของกจิ กรรม 1.ควำมสำคัญของกำรจดั กจิ กรรมอบรมเตรียมควำมพร้อมเขำ้ สู่วัยผู้สงู อำยุ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทาให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มข้ึนประกอบกับ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปล่ียนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเด่ยี ว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัวลดลง จานวนผู้ที่จะทา หน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึง ถูกทอดทิง้ ให้อยูโ่ ดดเดย่ี ว ดาเนินชวี ิตเพยี งลาพัง จากสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ทาให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพ่ือให้สอดคล้องกับ สังคมในปัจจุบัน ท้ังในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่าง ๆ ซ่ึงก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบ่ือ หน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดาเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มี รายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพ่ิมมากข้ึน มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย ส่ิง สาคญั ของชีวิต เชน่ การสูญเสียคูช่ ีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตาแห่ง หน้าท่ีการงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พ่ึงของครอบครัว สิ่ง เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จาก บุคคลใกลช้ ิดด้วยแลว้ จะยิ่งสง่ เสรมิ ให้ผสู้ งู อายุวา้ เหว่ มภี าวะซมึ เศรา้ และความรู้สกึ มีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิด ความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อ ชีวิตได้ 2. ที่มำและควำมสำคญั ของกำรจัดกิจกรรมอบรมเตรียมควำมพรอ้ มเขำ้ สวู่ ัยผสู้ ูงอำยุ ผู้สงู อายุเป็นวัยซึ่งมคี วามแตกต่างจากวัยอ่นื เปน็ วัยบ้ันปลายของชวี ติ ดังน้ันปัญหาของผสู้ ูงอายุในทุกดา้ น โดยเฉพาะด้านสังคม และสาธารณสุข จึงแตก ตา่ งจากคนในวยั อื่น ปัจจุบนั จานวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองท้ัง ในประเทศไทยและท่วั โลก ซ่ึงรฐั บาลไทย และทว่ั โลกไดต้ ระหนักถึงความสาคญั ในเร่ืองน้ี จึงมีความพยายาม และมี การรณรงค์อย่างต่อเน่ือง ให้ทุกคนตระหนัก เข้าใจ และพร้อมดูแลผู้สูงอายุให้ทัดเทียมเช่นเดียวกับการดูแล ประชากรในกล่มุ อายุอนื่ ผู้สูงอายุเป็นประชากรซ่ึงมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว กล่าวคือ เป็นแหล่งความรู้ ความชานาญท่ีมีคุณค่า เป็นผู้ทรงไว้ซ่ึงประเพณี วัฒนธรรม และเป็นสายใยแห่งครอบครัว เชื่อมต่อระหว่างบุคคลในช่วงวัยต่างๆ แต่ ขณะเดยี วกัน มีปัญหาในด้านสขุ ภาพ อนามัย ปญั หาด้านสงั คม และด้านเศรษฐกจิ เพ่ิมมากข้ึนกว่าวัยอน่ื ๆ ปัญหาด้านสุขภาพ เกิดจากเป็นวัยชราเซลล์เนื้อเย่ืออวัยวะต่างๆเสื่อมลงตามธรรมชาติ ทาให้เกิดโรคการ เสื่อมของอวัยวะต่างๆ เกิดภาวะสมรรถภาพทดถอย ไร้แรงงาน หรือไร้สมรรถภาพ (Disability) เช่นโรคกระดู 2

3 กเส่ือมโรคข้อเสื่อมหรือความจา สติปัญญาเส่ือมถอยสับสนง่าย เกิดการทรงตัวไม่ดี เช่ืองช้า ล้มได้ง่ายกระดูกหัก งา่ ย เกิดโรคขาดอาหารได้ง่ายจากการเสื่อมสภาพของเหงอื กและฟัน รวมทั้งภูมิต้านทานคุ้มกนั โรคลดลง มีการติด เชื้อได้ง่าย และมักเป็นการติดเชื้อรุนแรง มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งสูงกว่าวัยอ่ืน ต้องได้รับการดูแลช่วย เหลือจาก บคุ คลอ่นื รวมทั้งในด้านการรกั ษาพยาบาล มีภาระด้านคา่ รกั ษาพยาบาลสูงกวา่ ในวยั อ่ืน เป็นปัญหาสาธารณสุขใน ระดับชาติ ในด้านสังคมผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีรายได้ ต้องพ่ึงพา เป็นภาระทั้งต่อตนเอง ครอบ ครัว สังคม และ ประเทศชาติ ท้ังด้านสุขภาพ การเงิน ความเส่ือมจากเซลล์สมองการขาดแคลนคนดูแล คนเข้าใจ และแรงทรัพย์ เป็นเหตุให้ผู้สูงอายุมักมีอาการซึมเศร้าได้ง่าย ดังน้ัน ถ้าไม่ตระหนักถึงข้อดี ถึงปัญหาของผู้สูงอายุและให้การดูแล อย่างถูกต้องผสู้ ูงอายุจะกลาย เป็นปัญหาใหญ่หลวงของประเทศชาติในทกุ ดา้ น ผู้สูงอายุที่ต้องดูแล ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยจะรู้ว่าไม่ใช่เร่ืองง่าย ย่ิงวิกฤตเศรษฐกิจปีน้ีรุนแรงกว่าคร้ังใดๆ ก ารป้ อ งกั น ดู จ ะ เป็ น ย าข น าน เอ ก ท่ี ได้ ผ ล เกิ น ค าด วั น นี้ เรามี วิ ธีดู แ ล สุ ข ภ าพ ผู้ สู งอ ายุ ม าฝ าก 1. เลือกอำหำร โดยวัยนี้ร่างกายมกี ารใช้พลังงานน้อยลงจากกิจกรรมท่ีลดลง จึงควรลดอาหารประเภท แป้ง น้าตาล และไขมันให้เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะปลาและเพ่ิมแร่ธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด ได้แก่ แคลเซียม สงั กะสี และเหล็ก ซ่ึงมีอย่ใู นนม ถั่วเหลือง ผกั ผลไม้ ธัญพืชตา่ งๆ และควรกินอาหารประเภทตม้ น่ึง ย่าง อบ แทนประเภทผัด ทอด จะช่วยลดปริมาณไขมันในอาหารได้นอกจากน้ีควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวาน จดั เคม็ จดั และดื่มนา้ สะอาดอย่างน้อย6 – 8 แก้วต่อวัน 2. ออกกำลังกำย หากไม่มีโรคประจาตวั แนะนาให้ออกกาลังกายแบบแอโรบิคสัก 30 นาทีต่อคร้ัง ทา ให้ได้สัปดาห์ละ 3 - 4 คร้ัง จะเกิดประโยชน์ต่อหัวใจและหลอดเลือดอย่างมาก โดยขั้นตอนการออกกาลังกาย จะต้องค่อยๆ เร่ิม มีการยืดเส้นยืดสายก่อน แล้วค่อยๆ เพ่ิมความหนักข้ึน จนถึงระดับที่ต้องการ ทาอย่างต่อเน่ือง จนถึงระยะเวลาท่ีตอ้ งการ จากนั้นคอ่ ย ๆ ลดลงชา้ ๆ และคอ่ ย ๆ หยดุ เพ่อื ให้รา่ งกายและหวั ใจได้ปรบั ตวั 3. สัมผัสอำกำศท่ีบริสุทธ์ิ จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรคได้ อาจเป็นสวนสาธารณะใกล้ๆสถานท่ี ท่องเทยี่ ว หรอื การปรับภูมิทศั น์ภายในบา้ นใหป้ ลอดโปรง่ สะอาด อากาศถา่ ยเทสะดวก มีการปลกู ต้นไม้ จัดเก็บส่ิง ปฏิกูลให้เหมาะสม เพ่ือลดการแพร่กระจายของเช้ือโรค และสามารถช่วยป้องกันโรคภูมิแพ้ หรือหอบหืดได้ 4. หลีกเลี่ยงอบำยมุข ได้แก่ บุหร่ีและสุรา จะช่วยลดโอกาสการเกิดโรค หรือลดความรุนแรงของโรค ได้ ทั้งลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และยังช่วยป้องกันปัญหาอุบัติเหตุ อาชญากรรมต่างๆ อันเป็นปัญหาใหญ่ของ สังคมในขณะน้ี 5. ป้องกันกำรเกิดอุบัติเหตุ โดยเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลและโรคท่ีเป็นอยู่ ส่งเสริม สุขภาพใหก้ ล้ามเน้อื มคี วามแข็งแรง ปรับสภาพแวดลอ้ มในบ้านใหล้ ดความเสี่ยงตอ่ การเกิดอุบัติเหตุหรือการหกล้ม 6. ควบคุมนำหนักตัวหรือลดควำมอ้วน โดยควบคุมอาหารและออกกาลังกายจะช่วยทาให้เกิดความ คล่องตัว ลดปัญหาการหกล้ม และความเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคข้อเข่าเส่ือมโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น 7. หลีกเล่ียงกำรใช้ยำท่ีไม่เหมำะสม เช่น การซื้อยากินเอง การใช้ยาเดิมท่ีเก็บไว้มาใช้รักษาอาการที่ เกิดใหม่ หรือรบั ยาจากผ้อู ่นื มาใช้ เนือ่ งจากวยั นป้ี ระสทิ ธิภาพการทางานของตบั และไตในการกาจัดยาลดลง ทาให้ เส่ียงต่อการเกิดพิษจากยาหรือผลข้างเคียง อาจมีแนวโน้มรุนแรง และเกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ฉะน้นั จึงควรปรกึ ษาแพทย์ก่อนใชย้ าจะดที ่ีสุด 8. หมั่นสังเกตอำกำรผิดปกติต่ำงๆ ของร่ำงกำย เช่น คลาได้ก้อน โดยเฉพาะก้อนโตเร็ว แผล เร้ือรัง มีปัญหาการกลืนอาหาร กลืนติด กลืนลาบาก ท้องอืดเร้ือรัง เบ่ืออาหาร น้าหนักลด ไอเร้ือรัง ไข้ เรื้อรัง เหน่ือยง่าย แน่นหน้าอกหรือถ่ายอุจจาระผิดปกติ มีอาการท้องเสียเร้ือรัง ท้องผกู สลับท้องเสยี ถ้าอย่าง นี้ละ่ ก็พามาพบแพทย์ดที ่ีสุด 3

4 9. ตรวจสขุ ภำพประจำปี แนะนาให้ตรวจสม่าเสมอเปน็ ประจาทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์ จะทาการซักประวตั ิ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อหาปัจจัยเส่ียงต่อโรคหลอดเลือด แข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งท่ีพบบ่อย ได้แก่ มะเร็ง ลาไส้ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และยงั มีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมินความเสี่ยงต่อการ เกิดอบุ ัตเิ หตุด้วย นอกจากการดูแลสุขภาพกายแล้ว สุขภาพใจก็เป็นสิ่งสาคัญ การทาจิตใจให้แจ่มใส มองโลกในแง่ดี ไม่ เครยี ดหรือวิตกกังวลกบั เร่ืองต่างๆ มากจนเกินไป รวมถึงการเข้าใจและยอมรับตนเองของท่านและผู้อืน่ จะช่วยให้ เปน็ ผสู้ งู อายทุ ีส่ ุขภาพดีอยา่ งแท้จริง 4

5 บทท่ี 3 วิธกี ำรดำเนินงำน ดว้ ย กศน.ตาบลบ้านแป้ง ได้การมีการจัดกิจกรรมโครงการผู้สูงวัยกายใจแข็งแรงโดยยึดผู้สูงอายุในตาบล เป็นสาคัญ ทาให้เกิดเนื้อหาสาระ ระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานท่ี และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของผู้สูงอายุซ่ึงเป็นการตอบสนองนโยบายของสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซ่งึ ได้ดาเนินการ ดงั นี้ อบรมเตรียมควำมพรอ้ มเขำ้ ส่วู ยั ผสู้ ูงอำยุ (วนั ที่ 13 มิถนุ ำยน 2562) สำระสำคัญ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทาให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพ่ิมขึ้นประกอบกับ การเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย (Extend Family) ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัวลดลง จานวนผู้ที่จะทา หน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึง ถูกทอดทิ้งใหอ้ ยูโ่ ดดเด่ียว ดาเนินชีวติ เพยี งลาพงั จากสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป ทาให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับ สังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่าง ๆ ซ่ึงก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบ่ือ หน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดาเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มี รายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพ่ิมมากข้ึน มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย ส่ิง สาคัญของชีวิต เชน่ การสูญเสียคู่ชีวติ เพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครวั การสูญเสียตาแห่ง หน้าท่ีการงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว ส่ิง เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จาก บคุ คลใกลช้ ิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสรมิ ให้ผู้สงู อายวุ า้ เหว่ มภี าวะซมึ เศรา้ และความรู้สกึ มีคุณคา่ ในตนเองลดลงจนเกิด ความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อ ชวี ติ ได้ กศน.ตาบลบ้านแป้ง ได้เห็นความสาคัญของผู้สูงอายุจึงได้จัดทาอบรมเตรียมความพร้อมเข้าสู่วยั ผู้สงู อายุ ข้ึน เพอ่ื ส่งเสริมสขุ ภาพร่างกาย จิตใจ และสงั คม ใหแ้ ก่ผู้สงู อายุในตาบลต่อไป วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ ส่งเสริมให้ผ้สู งู อายุมีความรสู้ กึ มคี ณุ คา่ ในตนเองและมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมของชุมชน 2. เพื่อส่งเสรมิ ให้ผูส้ ูงอายุมคี วามร้แู ละสามารถดูแลสขุ ภาพของตนเองเบื้องตน้ ได้ กิจกรรมท่ดี ำเนินกำร จดั กจิ กรรมให้กับผ้สู งู อายุในตาบล ได้แก่ 5

6 วิทยำกรบรรยำยควำมรูเ้ กีย่ วกบั กำรดแู ลสุขภำพผสู้ งู อำยุ -เลอื กอาหาร -ออกกาลังกาย -สัมผัสอากาศท่บี รสิ ุทธิ์ -หลกี เลีย่ งอบายมุข - ป้องกนั การเกิดอุบตั ิเหตุ - ควบคมุ น้าหนักตวั หรอื ลดความอว้ น - หลกี เลีย่ งการใชย้ าที่ไมเ่ หมาะสม - หมัน่ สงั เกตอาการผดิ ปกตติ ่างๆ ของร่างกาย - ตรวจสุขภาพประจาปี ผลที่ได้รับจำกกำรดำเนินกจิ กรรม ผู้สูงอายุได้รับองค์ความรู้ท่ีตรงกับสภาพปัญหาและความต้องการ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน และ ดารงชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข 6

7 บทท่ี 4 ผลกำรดำเนนิ งำน จากการสารวจความพึงพอใจการจัดกิจกรรมโครงการผู้สูงวัยกายใจแข็งแรง ของผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 25 ฉบับ และไดร้ ับกลับคืนมา จานวน 25 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้โปรแกรม Excel ตามขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1. วเิ คราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถแ่ี ละค่าร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดงั น้ี 4.51–5.00 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับปรบั ปรุง 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ข้อมูลท่ีเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดย หาค่าเฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบและหาค่าความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการจัดกิจกรรมโครงการผู้สูงวัยกายใจแข็งแรง ท่ีเข้าร่วม โครงการดังน้ี 7

8 ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถำม ตารางที่1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ขอ้ มูลท่ัวไป จำนวน ร้อยละ เพศ ชาย 6 23.08 หญิง 20 76.92 อายุ ตา่ กวา่ 15 ปี 0 0.00 15-39 ปี 0 0.00 40-59 ปี 0 0.00 60 ปีขึน้ ไป 30 100.00 การศกึ ษา ประถมศึกษา 20 76.92 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 6 23.08 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 0 0.00 ปรญิ ญาตรี 0 0.00 อนื่ ๆ 0 0.00 อาชพี รบั จ้าง 0 0.00 ค้าขาย 0 0.00 เกษตรกรรม 5 16.67 รับราชการ 0 0.00 อ่นื ๆ(ไม่ระบุ) 25 83.33 8

9 จากตารางท่ี 1 แสดงจานวนผูต้ อบแบบสอบถามทั้งหมด 26 คน เป็นเพศหญงิ จานวน 20 คน (คิดเป็นร้อยละ 76.92) เป็นเพศชาย จานวน 6 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.08) - ด้านอายุ พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถาม อายุ 60 ปีขึน้ ไปมากท่สี ุดจานวน 26 คน (คดิ เป็นร้อยละ 100) - ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับประถมศึกษามากท่ีสุดจานวน 20 คน (คิดเป็นร้อยละ 76.92) รองลงมาคือการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 23.08) ตามลาดบั - ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมอี าชีพอ่นื ๆ มากท่สี ุด จานวน26คน (คิดเป็นร้อยละ 100.00) รองลงมามอี าชพี เกษตรกรรม จานวน - คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ -) ตามลาดับ สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจอบรมเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผูส้ ูงอายุ ไดด้ ังนี้ ตอนท่ี 2 ควำมพึงพอใจของผูเ้ รยี น/ผู้รับบรกิ ำร โดยรวมและแยกเปน็ รำยดำ้ น ตารางท่ี 2 ความพึงพอใจท่ีมีตอ่ โครงการโดยรวมและแยกเป็นรายดา้ น รำยกำรประเมิน ผลกำรประเมนิ 1. ด้านหลักสตู ร ความหมาย X 4.59 ดมี าก 2. ด้านวิทยากร 4..85 ดมี าก 3. ด้านสถานท/ี่ ระยะเวลา/ความพึงพอใจ 4.63 ดีมาก รวม 4.69 ดีมำก จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ใน ระดับ ดีมาก ทกุ รายการ เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อนั ดบั หนง่ึ คือ ดา้ นวิทยากร รองลงมา ดา้ นหลักสตู ร และดา้ นสถานท่/ี ระยะเวลา/ความพึงพอใจ ตามลาดบั 9

10 ผลกำรประเมิน ความหมาย ตารางท่ี 3 ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ โครงการ ดา้ นหลักสตู ร รำยกำรประเมนิ X 1. กจิ กรรมท่ีจดั สอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร 4.71 ดมี าก 2. เนื้อหาของหลกั สูตรตรงกับความต้องการของผ้เู รียน/ผูร้ ับบริการ 4.10 ดี 3. การจดั กิจกรรมทาใหผ้ เู้ รยี น/ผูร้ ับบรกิ ารสามารถคิดเปน็ ทาเป็น แก้ปัญหา เป็น ดีมาก 4. ผู้เรียน/ผูร้ ับบรกิ ารมีสว่ นรว่ มแสดงความคิดเหน็ ต่อการจัดทาหลกั สูตร 4.67 5. ผู้เรียน/ผรู้ ับบรกิ ารสามารถนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั 4.90 ดีมาก 6. สอื่ /เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 4.86 ดีมาก 4.33 ดี รวม 4.59 ดมี ำก จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านหลักสูตร โดยรวมและราย ดา้ นอยู่ในระดับ ดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อันดับหน่ึงคือ ผู้เรียน/ผู้รับบรกิ ารมีส่วนร่วมแสดงความ คดิ เห็นตอ่ การจัดทาหลักสูตร รองมาอันดบั สองคือผู้เรียน/ผรู้ ับบริการสามารถนาความรูไ้ ปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน อันดับที่สามคือกิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร อันดับท่ีสี่คือ ด้านการจัดกิจกรรมทาให้ ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น อันดับท่ีห้าคือ สื่อ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมี ความเหมาะสม อนั ดบั สดุ ทา้ ยคอื เน้ือหาของหลกั สูตรตรงกับความตอ้ งการของผูเ้ รียน/ผู้รบั บริการตามลาดบั 10

11 ตารางที่ 4 ความพงึ พอใจด้านวทิ ยากร ผลกำรประเมิน ควำมหมำย รำยกำรประเมนิ X 1.วทิ ยากร มีความรู้ความสามารถในการจดั กิจกรรม 2.วทิ ยากรมเี ทคนคิ กระบวนการจดั กิจกรรม 4.86 ดมี าก 3.วิทยากรมกี ารใชส้ ื่อทส่ี อดคลอ้ งและเหมาะสมกับกจิ กรรม 4.90 ดีมาก 4.วิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรม 4.81 ดีมาก 5.บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร 4.95 ดีมาก 4.76 ดมี าก รวม 4.85 ดีมำก จากตารางท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือวิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรมอันดับสอง คือ วิทยากรมีเทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรม อันดับสาม คือ วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม อันดับสี่ คือวิทยากรมีการใช้สื่อท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม และอันดับสุดท้าย คือบุคลิกภาพของ วิทยากร ตามลาดบั 11

12 ตารางท่ี 5 ความพึงพอใจด้านสถานท/ี่ ระยะเวลา/ความพงึ พอใจ ผลกำรประเมนิ ควำมหมำย รำยกำรประเมนิ X 1. สถานท่ใี นการจดั กจิ กรรม 2. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.67 ดีมาก 3. ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู้ บั บรกิ ารต่อการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 4.43 ดี 4.81 ดีมาก รวม 4.63 ดีมำก จากตารางท่ี 5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ โครงการด้านสถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึง พอใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือ ความพึงพอใจใน ภาพรวมของผู้รับบริการต่อการเข้าร่วมกิจกรรมอันดับสองคือสถานท่ีในการจัดกิจกรรม และอันดับสุดท้าย คือ ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมเหมาะสม ตามลาดับ 12

13 บทที่ 5 สรปุ อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม โครงการอบรมเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วม โครงการครงั้ นี้มวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผ้รู ับบริการที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยก เป็นรายด้าน โดยใช้แบบสอบถามจานวน 26 ฉบับ เคร่ืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ค่าเฉล่ีย ( )แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความ คิดเห็น แลXะข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาค่าความถ่ี สรุปผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจของผูเ้ รียน/ผู้รับบริกำร จากแบบประเมินความพึงพอใจสรปุ ผลได้ ดังนี้ 1. ด้านหลักสตู รพบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านหลักสูตร โดยรวมและราย ดา้ นอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อันดับหน่ึงคือ ผู้เรียน/ผู้รับบรกิ ารมสี ่วนร่วมแสดงความ คิดเห็นต่อการจัดทาหลักสูตร รองมาอันดับสองคือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจาวัน อันดบั ที่สามคือ กิจกรรมท่ีจัดสอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร อันดับท่ีสี่คือ ด้านการจัด กจิ กรรมทาให้ผู้เรียน/ผู้รบั บรกิ ารสามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปญั หาเปน็ อนั ดับท่ีห้าคือ ส่ือ/เอกสารประกอบการ จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม อันดับสุดท้ายคือ เนื้อหาของหลักสูตรตรงกับความต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบริการ ตามลาดับ 2. ด้านวิทยากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและราย ดา้ นอยู่ในระดับ ดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคอื วิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรม อันดบั สอง คือ วิทยากรมีเทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรม อันดับสาม คือ วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม อันดับสี่ คือวิทยากรมีการใช้ส่ือท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม และอันดับสุดท้าย คือบุคลิกภาพของ วิทยากร ตามลาดบั 3. ด้านสถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ พบว่าพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อ โครงการด้านวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ วทิ ยากรมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม อันดับสองคอื วทิ ยากรมีเทคนิค กระบวนการจัดกจิ กรรม อันดบั สาม คอื วิทยากรมี ความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมอันดับสี่ คือวิทยากรมีการใช้ส่ือท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับกิจกรรม และ อนั ดับสดุ ท้าย คือบุคลกิ ภาพของวิทยากร ตามลาดับ ผลกำรดำเนนิ งำน ผูส้ ูงอายุได้รับองค์ความรู้ทตี่ รงกบั สภาพปัญหาและความต้องการ มีคุณภาพชวี ิตทด่ี ขี น้ึ และดารงชวี ิตอยู่ ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 13

14 ปัญหำและอุปสรรคในกำรปฏบิ ัตงิ ำน - ขอ้ เสนอแนะ - 14

15 ภาคผนวก 15

16 ภาพการจดั กิจกรรม โครงการ อบรมเตรียมความพร้อมเขา้ สู่วยั ผสู้ ูงอายุ วนั ที่ 13 มิถุนายน 2562 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลบา้ นแป้ง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 16

17 สรุปผลกำรดำเนนิ งำน กำรจดั กำรศึกษำต่อเนือ่ งรปู แบบช่นั เรียนวิชำชพี โครงกำรอบรมเตรยี มควำมพร้อมเข้ำส่วู ัยผ้สู ูงอำยุ ในวนั ท่ี 13 มิถุนำยน 2562 ณ. กศน.ตำบลบ้ำนแปง้ หมู่ที่ 3 ตำบลบ้ำนแปง้ อำเภอบำงไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยำ กศน.ตำบลบำ้ นแป้ง ศนู ย์กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอธั ยำศัยอำเภอบำงไทร สำนักงำน กศน.จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยำ สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร 17

18 18

19 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook