Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Education 4 in avtive Learning

Education 4 in avtive Learning

Published by lungling-1, 2017-10-13 23:37:23

Description: Education 4 in avtive Learning

Search

Read the Text Version

นางสาวณฐั ธิดา งามตา รหสั นิสิต 59207654 นางสาวจตุพร ไชยราช รหัสนิสติ 59206656 นางสาวรุง่ ทิวา ควรคิด รหสั นิสิต 59207014 นางสาวยุพา สิรอิ านวยศกั ด์ิ รหสั นิสิต 59207003เสนอ ดร.วิลาวลั ย์ สมยาโรนวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษาสาขาวชิ า บรหิ ารการศึกษา วิทยาลยั การศึกษา มหาวิทยาลยั พะเยา

สารบญั กเรื่อง หน้าคานา กสารบัญ ขความเป็นมาของยุค Thailand 4.0 1การศึกษาในยคุ Thailand 4.0 4เทคนิคการจดั การเรียนการสอนในยคุ 9Thailand 4.0 9 - Active Learning 9 - ความหมายของ Active Learning 11 - ลกั ษณะของการจดั การเรียนการ 12 สอนแบบ Active Learning - บทบาทของอาจารย์ผู้สอน ในการจัด 12 กิจกรรมการเรียนรตู้ ามแนวทางของ ค Active Learning - ตวั อย่างเทคนิคการจดั การเรียนรู้ แบบ Active Learningเอกสารอ้างองิ

ข คานา คณะผู้จดั ทาได้จัดทารายงานเรือ่ ง Education 4.0 in Active Learning ทาให้เราทราบถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนในยคุ Thailand 4.0 เพ่อื พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดทกั ษะการเรียนรเู้ พอ่ื เตรียมพร้อมเขา้ สู่ยคุ แรงงาน 4.0 ดังนั้นในส่วนเน้ือหารายงานอาจจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีศึกษารายงานเล่มน้ีและเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ทีศ่ ึกษานาไปปฏิบัติ คณะผู้จดั ทา

1 Education 4.0 in Active Learning1. ความเปน็ มาของยุค Thailand 4.0 รปู ภาพ : ประเทศไทยยุค 4.0 ท่มี า : https://www.learningstudio.info/thailand-4-0/ Thailand 4.0 เป็นวสิ ยั ทัศนเ์ ชงิ นโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดมิ ไปสเู่ ศรษฐกิจท่ีขบั เคล่ือนดว้ ยนวัตกรรม….ซึง่ กว่าจะมาเปน็ Thailand 4.0 ก็ตอ้ งผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 กันมาก่อน ● Thailand 1.0 กค็ อื ยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เล้ียงหมู เปด็ ไก่ นาผลผลิตไปขาย สรา้ งรายได้และยังชีพ

2 ● Thailand 2.0 ซึ่งกค็ ือยคุ อตุ สาหกรรมเบา ในยุคนเี้ รามีเคร่อื งมือเข้ามาช่วย เรา ผลิตเสอื้ ผ้า กระเป๋า เคร่ืองดืม่ เคร่อื งเขียน เครอ่ื งประดับเป็นต้น ประเทศเร่มิ มี ศักยภาพมากข้นึ ● Thailand 3.0 (ยุคปัจจุบัน ) เป็นยุคอตุ สาหกรรมหนัก เราผลติ และขายสง่ ออก เหลก็ กลา้ รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจาก ตา่ งประเทศ เพอ่ื เน้นการสง่ ออก ในช่วงแรก Thailand 3.0 เติบโตอย่างตอ่ เนอ่ื ง แตป่ จั จุบนั กลบั เติบโตเพียงแค่ 3-4%ตอ่ ปเี ท่านั้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปานกลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแลว้ ในขณะท่ีทว่ั โลกมีการแข่งขนั ที่สูงข้นึ เราจงึ ต้องเปล่ยี นสู่ยุค Thailand 4.0 เพอ่ื ให้ประเทศไทยให้กลายเปน็ กลุ่มประเทศท่ีมีรายได้สงู ในปัจจุบนั ประเทศไทยยงั ติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้นอ้ ย” จึงตอ้ งการปรบั เปลีย่ นเป็น “ทานอ้ ย ได้มาก” กจ็ ะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า“โภคภัณฑ”์ไปสสู่ นิ ค้าเชิง“นวตั กรรม” และเปลย่ี นจากการขบั เคลือ่ นประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรมไปสกู่ ารขับเคลอ่ื นด้วยเทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3

รปู ภาพ : การขับเคล่อื นประเทศไทยเข้าสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 ทม่ี า : https://www.uih.co.th/th/knowledge/thailand-4.0 ● อย่างการเกษตรก็ต้องเปลีย่ นจากการเกษตรแบบดง้ั เดมิ ไปสกู่ ารเกษตร สมยั ใหม่ ทเ่ี น้นการบริหารจดั การและใชเ้ ทคโนโลยีหรือ Smart Farming โดย เกษตรกรต้องร่ารวยขึน้ และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ ● เปล่ยี นจาก SMEs แบบเดมิ ไปสกู่ ารเปน็ Smart Enterprises และ Startups ทม่ี ี ศกั ยภาพสงู ● เปล่ยี นจากรปู แบบบรกิ ารแบบเดมิ ซึง่ มีการสร้างมูลค่าคอ่ นขา้ งต่า ไปสบู่ ริการท่ี มีมลู ค่าสงู ● เปล่ยี นจากแรงงานทกั ษะตา่ ไปสแู่ รงงานทีม่ ีความรู้และทักษะสูงโมเดลของ Thailand 4.0 นั่นคอื มั่นคง ม่งั คงั่ และยัง่ ยืน

4 2. การศึกษาในยคุ Thailand 4.0 การเขา้ สไู่ ทยแลนด์ 4.0 เป็นการเข้าสู่ยคุ ท่ปี ระเทศไทยต้องมนี วัตกรรมเป็นของตนเอง ไม่ต้องพึ่งจากตา่ งชาติ ซึ่งเปน็ โจทย์ท่ีทา้ ยทายสงู มากๆ ทาอย่างไรเราจะพัฒนานวตั กรรมเป็นของตนเองได้ท้ังๆ ท่เี รามีทรัพยากรท่มี ีอยู่ในประเทศมากมาย เชน่ ขา้ วยางพารา แร่ ผลผลติ ทางการเกษตรอ่ืนๆ เราทาอย่างไรท่จี ะมีผลิตภัณฑ์เกย่ี วกับเรอ่ื งขา้ วที่มากกว่าอาหารประจาวัน เราทาอย่างไรทจ่ี ะมีผลติ ภัณฑย์ างพารา นอกเหนอื จากนา้ยางพารา หรืออน่ื ๆ ทเ่ี ป็นนวตั กรรมของเรา เราเคยมีวทิ ยุ โทรทัศนย์ ีห่ ้อธานนิ ท์ ซึ่งเป็นของคนไทยผลติ โดยคนไทย แต่เสยี ดายไม่ได้ตอ่ ยอดและต้องปิดตวั เองไป ถึงเวลาทีท่ ุกภาคส่วนตอ้ งเข้ามาช่วยระดมความคิดในการพัฒนาประเทศให้เข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ภาคส่วนหนง่ึ ที่เข้ามาสว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศให้เข้าสยู่ ุคไทยแลนด์ 4.0 ภายใตก้ รอบยทุ ธศาสตร์ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) โรงเรยี นและหน่วยงานต้องวางแผนงานให้รองรับกรอบยุทธศาสตร์ชาตทิ งั้ 6 ดา้ น คือ 1. ความมัน่ คง 2. การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 3. การลงทนุ ในทรพั ยากรมนุษย์ 4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคและการลดความเลือ่ มล้าทางสังคม 5. การสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทเ่ี ปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม 6. การปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ

5 รปู ภาพ : ความสอดคล้องของยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี แผนพัฒนาฯฉบบั ท่ี 12 กบั ยุทธศาสตร์การศึกษา ระยะ 20 ปี ทม่ี า : https://www.slideshare.net/ssuser23b32c/2560-2579 ดังนนั้ กระทรวงศึกษาธิการได้นายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นามาเช่อื โยงกับยทุ ธศาสตร์การศึกษา 20 ปี และแผนพฒั นาฉบบั ที่ 12 เพ่อื กาหนดแผนพฒั นาการศึกษาของชาติ ดังน้ี

6 รูปภาพ : กรอบแนวคดิ การศึกษาแห่งชาติท่มี า : https://www.slideshare.net/ssuser23b32c/2560-2579

7จากกรอบการศึกษาแห่งชาติ ผลลัพธส์ ุดท้ายผู้เรยี นจะต้องมีทกั ษะดังน้ีรปู ภาพ : ทักษะจาเป็นในยุคไทยแลนด์ 4.0 ดา้ นที่ 1 ทักษะการเรียนรู้และนวตั กรรม ทม่ี า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/รปู ภาพ : ทักษะจาเปน็ ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ดา้ นที่ 2 ทักษะสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี ทม่ี า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/

8รปู ภาพ : ทกั ษะจาเปน็ ในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ดา้ นที่ 3 ทกั ษะชีวติ และอาชพี ท่มี า : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/

93. เทคนิคการจัดการเรียนการสอนในยคุ Thailand 4.0 3.1 Active Learningความหมายของ Active Learningกระบวนการจัดการเรียนรู้ทีผ่ ู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคดิ เกีย่ วกับส่งิ ทีเ่ ขาได้กระทาลงไป (Bonwell, 1991) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใตส้ มมตฐิ านพนื้ ฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรเู้ ปน็ ความพยายามโดยธรรมชาติของมนษุ ย์, และ 2) แต่ละบคุ คลมีแนวทางในการเรียนรทู้ ่แี ตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) โดยผู้เรียนจะถกูเปล่ยี นบทบาทจากผู้รับความรู้(receive) ไปสกู่ ารมีสว่ นร่วมในการสรา้ งความรู้(co-creators)( Fedler and Brent, 1996) Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหนง่ึ แปลตามตัวก็คอื เปน็ การเรียนรผู้ ่านการปฏิบัติ หรือ การลงมือทาซึง่ ” ความรู้ “ทเ่ี กดิ ขึ้นกเ็ ป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ผี ู้เรยี นตอ้ งได้มีโอกาสลงมือกระทามากกว่าการฟงั เพียงอย่างเดยี ว ตอ้ งจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรโู้ ดยการอา่ น,การเขยี น, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อกี ทั้งให้ผู้เรียนไดใ้ ช้กระบวนการคดิ ข้ันสูงได้แกก่ ารวเิ คราะห,์ การสังเคราะห์,และการประเมินคา่ กระบวนการเรียนรู้ Active Learning ทาใหผ้ เู้ รียนสามารถรกั ษาผลการเรียนรู้ให้อยู่คงทนได้มากและนานกว่ากระบวนการเรียนรู้ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้ Active Learning สอดคลอ้ งกบั การทางานของสมองทเ่ี ก่ยี วข้องกับความจา โดยสามารถเก็บและจาสง่ิ ที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพนั ธ์ กบั เพือ่ นผู้สอน สง่ิ แวดลอ้ ม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัตจิ ริง จะสามารถเกบ็ จาในระบบความจาระยะยาว (Long Term Memory) ทาให้ผลการเรียนรู้ ยงั คงอยู่ไดใ้ นปริมาณทม่ี ากกว่า ระยะยาวกว่า ซึ่งอธิบายไว้ ดังรปู

10 รูปภาพ : The cone of Learning ทม่ี า : https://parnward8info.wordpress.com/2014/01/29/active-learning จากรปู จะเห็นไดว้ ่า กรวยแห่งการเรียนรนู้ ้ีไดแ้ บ่งเป็น 2 กระบวนการ คือ กระบวนการเรียนรู้ Passive Learning● กระบวนการเรียนรโู้ ดยการอา่ นท่องจาผู้เรยี นจะจาได้ในสง่ิ ที่เรียนไดเ้ พยี ง 10%● การเรียนรโู้ ดยการฟงั บรรยายเพียงอย่างเดยี วโดยท่ผี ู้เรยี นไม่มีโอกาสไดม้ สี ว่ นร่วมใน การเรียนรดู้ ว้ ยกิจกรรมอ่นื ในขณะที่อาจารย์สอนเมื่อเวลาผ่านไปผู้เรยี นจะจาได้ เพยี ง 20%● หากในการเรียนการสอนผู้เรียนมีโอกาสไดเ้ ห็นภาพประกอบด้วยกจ็ ะทาให้ผลการ เรียนรคู้ งอยู่ไดเ้ พม่ิ ขนึ้ เป็น 30%● กระบวนการเรียนรทู้ ่ผี ู้สอนจัดประสบการณ์ให้กบั ผู้เรียนเพิม่ ข้นึ เชน่ การให้ดู ภาพยนตร์ การสาธิต จัดนิทรรศการให้ผู้เรียนได้ดู รวมทั้งการนาผู้เรียนไปทัศน ศึกษา หรอื ดูงาน กท็ าให้ผลการเรียนรเู้ พ่มิ ขึน้ เป็น 50% การบวนการเรียนรู้ Active Learning

11 ● การให้ผู้เรียนมีบทบาทในการแสวงหาความรู้และเรียนรอู้ ย่างมีปฏิสมั พันธจ์ นเกิด ความรู้ ความเข้าใจนาไปประยกุ ตใ์ ช้สามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมินคา่ หรอื สรา้ งสรรคส์ ่งิ ต่างๆ และพัฒนาตนเองเต็มความสามารถ รวมถึงการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เขาได้มีโอกาสรว่ มอภิปรายให้มีโอกาสฝึกทักษะการสื่อสาร ทาให้ผลการเรียนรเู้ พ่มิ ขึ้น 70% ● การนาเสนองานทางวิชาการ เรยี นรู้ในสถานการณ์จาลอง ทั้งมีการฝึกปฏิบตั ิ ใน สภาพจรงิ มีการเชื่อมโยงกับสถานการณ์ ตา่ งๆ ซึง่ จะทาให้ผลการเรียนรู้เกิดข้นึ ถึง 90%ลักษณะของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นดงั น้ี (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2553) 1. เป็นการเรียนการสอนที่พฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคดิ การ แก้ปัญหา และการนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ 2. เปน็ การเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรู้ สงู สุด 3. ผู้เรยี นสรา้ งองคค์ วามรู้และจัดกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 4. ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนท้ังในดา้ นการสรา้ งองคค์ วามรู้ การ สรา้ งปฏิสมั พนั ธร์ ่วมกัน รว่ มมือกันมากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรยี นเรยี นรู้ความรบั ผิดชอบรว่ มกนั การมีวินัยในการทางาน และการแบ่ง หน้าท่คี วามรับผิดชอบ 6. เปน็ กระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนอ่าน พูด ฟงั คดิ อย่างลุ่มลึก ผู้เรยี นจะเป็นผู้จดั ระบบการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 7. เป็นกจิ กรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้นทกั ษะการคิดขน้ั สงู 8. เปน็ กจิ กรรมทีเ่ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลกั การความคิดรวบยอด

12 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อานวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ เพ่อื ให้ผู้เรียนเป็นผู้ ปฏิบตั ิด้วยตนเอง 10. ความรู้เกดิ จากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรปุ ทบทวนของ ผู้เรยี นบทบาทของอาจารย์ผู้สอน ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามแนวทางของ ActiveLearning ดงั น้ีจัดให้ผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมตอ้ งสะทอ้ นความตอ้ งการในการพัฒนาผู้เรยี นและเน้นการนาไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตจริงของผู้เรียน1. สรา้ งบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่สี ง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธท์ ด่ี กี บั ผู้สอนและเพ่อื นในช้ันเรียน2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต สง่ เสริมให้ผู้เรียนมี สว่ นร่วมในทุกกิจกรรม รวมทั้งกระตุ้นให้ผู้เรยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นรู้3. จดั สภาพการเรียนรแู้ บบร่วมมือ สง่ เสรมิ ให้เกดิ การรว่ มมือในกลมุ่ ผู้เรียน4. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนท่ี หลากหลาย5. วางแผนเกีย่ วกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน ท้ังในส่วนของเน้ือหา และ กิจกรรม6. ครผู ู้สอนตอ้ งใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของที่ ผู้เรยี นตัวอย่างเทคนิคการจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learningการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning สามารถสรา้ งให้เกดิ ขึน้ ได้ทง้ั ในห้องเรยี นและนอกห้องเรยี น รวมทั้งสามารถใช้ได้กบั นักเรยี นทุกระดบั ท้ังการเรียนรู้เป็นรายบคุ คล การเรียนรู้แบบกลมุ่ เลก็ และการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ McKinney (2008) ได้เสนอตัวอย่างรปู แบบ

หรือเทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่จี ะชว่ ยให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรแู้ บบ ActiveLearning ได้ดี ได้แก่ 131. การเรียนรู้แบบแลกเปลย่ี นความคดิ (Think-Pair-Share) คอื การจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นคดิ เกี่ยวกับประเด็นทีก่ าหนดแต่ละคน ประมาณ 2-3 นาที (Think) จากนั้นให้แลกเปลี่ยนความคิดกบั เพื่อนอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนาเสนอความคิดเห็น ตอ่ ผู้เรียนทั้งหมด (Share) รูปภาพ : การเรียนรแู้ บบแลกเปลี่ยนความคิด ทีม่ า : https://www.slideshare.net/seksan082/ss-354985582. การเรียนรแู้ บบร่วมมือ (Collaborative learning group) คอื การจัดกิจกรรม การเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นได้ทางานร่วมกับผู้อ่นื โดยจดั เปน็ กลุ่มๆ ละ 3-6 คน

14 รูปภาพ : การเรียนแบบร่วมมอื ทีม่ า : http://wanida171.blogspot.com/2013/12/collaborative-learning.html3. การเรียนรแู้ บบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ เ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ทบทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสัย ตา่ ง ๆ ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรียนรู้ โดยครจู ะคอยช่วยเหลอื กรณีทม่ี ีปญั หา4. การเรียนร้แู บบใชเ้ กม (Games) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ผ่ี ู้สอนนาเกมเข้า บูรณาการในการเรียนการสอน ซึง่ ใช้ได้ท้ังในขั้นการนาเข้าสู่บทเรียน การสอน การ มอบหมายงาน และหรือขนั้ การประเมินผล รปู ภาพ : การเรียนรแู้ บบใช้เกม ที่มา : https://www.kroobannok.com/78457

155. การเรียนร้แู บบวเิ คราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัด กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ใี ห้ผู้เรยี นได้ดวู ีดีโอ 5-20 นาที แลว้ ให้ผู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ หรือสะทอ้ นความคิดเกี่ยวกบั ส่งิ ที่ไดด้ ู อาจโดยวิธีการพดู โต้ตอบกัน การเขียน หรือ การรว่ มกันสรุปเป็นรายกลุ่ม6. การเรียนรแู้ บบโต้วาที (Student debates) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีจดั ให้ ผู้เรยี นได้นาเสนอข้อมูลท่ไี ด้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพอ่ื ยืนยันแนวคดิ ของ ตนเองหรอื กลมุ่ รปู ภาพ : การเรียนรู้แบบโต้วาที ทีม่ า : http://www.camillianhomelatkrabang.org/debate-2/7. การเรียนร้แู บบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ(Student generated exam questions) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นสรา้ งแบบทดสอบจากสิ่งทไ่ี ด้ เรียนรมู้ าแล้ว

168. การเรียนรแู้ บบกระบวนการวจิ ยั (Mini-research proposals or project) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทีอ่ ิงกระบวนการวิจยั โดยให้ผู้เรียนกาหนดหวั ข้อท่ี ตอ้ งการเรียนรู้ วางแผนการเรียน เรียนรู้ตามแผน สรุปความรู้หรือสร้างผลงาน และ สะทอ้ นความคิดในสง่ิ ทีไ่ ดเ้ รียนรู้ หรืออาจเรียกว่าการสอนแบบโครงงาน(project- based learning) หรือ การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน(problem-based learning)9. การเรียนรู้แบบกรณีศกึ ษา (Analyze case studies) คอื การจัดกิจกรรมการ เรียนรทู้ ่ใี ห้ผู้เรยี นได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนน้ั ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ และแลกเปลย่ี นความคิดเห็นหรือแนวทางแก้ปัญหาภายในกลมุ่ แล้วนาเสนอความ คดิ เห็นต่อผู้เรยี นทง้ั หมด10. การเรียนรแู้ บบการเขียนบันทกึ (Keeping journals or logs) คอื การจัดกิจกรรมการ เรียนรทู้ ผ่ี ู้เรยี นจดบันทึกเรื่องราวตา่ งๆ ทไ่ี ด้พบเห็น หรือเหตุการณ์ทีเ่ กิดข้ึนในแต่ละ วนั รวมท้ังเสนอความคิดเพม่ิ เตมิ เกีย่ วกับบนั ทึกท่เี ขียน11. การเรียนรู้แบบการเขยี นจดหมายขา่ ว (Write and produce a newsletter) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นร่วมกนั ผลิตจดหมายขา่ ว อนั ประกอบดว้ ย บทความ ขอ้ มลู สารสนเทศ ขา่ วสาร และเหตกุ ารณ์ท่เี กดิ ขนึ้ แลว้ แจกจ่ายไปยงั บุคคลอ่นื ๆ

1712. การเรียนรแู้ บบแผนผังความคิด (Concept mapping) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี ให้ผู้เรยี นออกแบบแผนผงั ความคดิ เพ่อื นาเสนอความคดิ รวบยอด และความ เช่อื มโยงกันของกรอบความคิด โดยการใช้เสน้ เป็นตวั เช่อื มโยง รปู ภาพ : การเรียนรแู้ บบแผนผังความคิด ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/asryhero/2007/05/03/entry-1

ค เอกสารอ้างอิงทม่ี าภาพ :1. http://www.si-merd.com/images/com_hikashop/active-learning.png2. http://www.si-merd.com/images/banner-active-learning-960×300-si-merd-1.jpg3. http://www.krusmart.com/active-learning-approach/Tags: การสอนแบบ active learning, การเรียนรู้แบบ Active Learning, กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning, วิธีสอนท่เี นน้ การเรยี นรู้เชิงรกุ , หนังสือ การเรียนรู้แบบActiveLearningจากผูใ้ หญล่ ี ถึงการศกึ ษาไทย 4.0ตน้ ฉบับโดย ดร.โพยม จนั ทรน์ อ้ ยhttp://www.birdkm.com/outside-classroom/outsideclass/thai-education-40https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2+4.0&dcr=0&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ved=0ahUKEwiK2KzauurWAhVDgI8KHfhFD7MQsAQIOA&biw=1366&bih=673#imgrc=_&spf=1507789803070


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook