Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ร.1-10

ร.1-10

Published by guy98776, 2023-03-24 15:25:17

Description: ร.1-10

Search

Read the Text Version

1.พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬา โลกมหาราช มีพระนามเดิมว่า ทองด้วง เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 (นับแบบปัจจุบัน พ.ศ. 2280) (วันที่ 20 เดือน 4 ตามปี จันทรคติ) ในแผ่นดินสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศแห่งอาณาจักร อยุธยา ต่อมาเข้ารับราชการเป็ นมหาดเล็กหลวง ในสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรดังเดิม เมื่อ พระชนมายุได้ 25 พรรษา พระองค์ เสด็จออกไปรับราชการที่เมืองราชบุรีใน ตำแหน่ง \"หลวงยกกระบัตร\"

พระราชกรณียกิจ 1.)การสถาปนากรุ งรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรง สถาปนากรุ งเทพมหานคร (หรือกรุ งรัตนโกสินทร์) เป็ น ราชธานี 2.) การป้ องกันราชอาณาจักร พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถในการรบ ทรงเป็ นผู้นำทัพในการทำสงครามกับพม่าทั้งหมด 7 ครั้ง ในรัชสมัยของพระองค์ 3.)การสร้างราชธานีใหม่นั้นใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ปี โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ทรง ประกอบพิธียกเสาหลักเมือง เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 6 ปี ขาล จ.ศ. 1144 ตรงกับวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น ช่วยเหลือคนแก่หรือคนพิการข้ามถนน 2.ความมีน้ำใจ เช่น ให้เพื่อนยืมเงิน 3.ความกตัญญู เช่ย ช่วยแม่กวาดบ้าน

2.พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนาม เดิมว่า ฉิม เป็ นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช (ขณะทรงมี บรรดาศักดิ์เป็ นหลวงยกรบัตรเมืองราชบุรี) ประสูติแต่ ท่านผู้หญิงนาค (ภายหลังเฉลิมพระนามเป็ นสมเด็จ พระอมรินทราบรมราชิ นี) ต่อมาพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจัดขึ้นในวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2352 โดยย้ายมาทำพิธีที่หมู่พระที่นั่ง จักรพรรดิพิมาน เนื่องจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ซึ่ งสร้างขึ้นแทนพระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหา ปราสาทอันเป็ นสถานที่ทำพิธีปราบดาภิเษกของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชนั้น ใช้เป็ นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราชอยู่

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านกฎหมาย ทรงปรับปรุ งกฎหมายพระ ราชกำหนดสักเลกเมื่อ พ.ศ. 2353 เพื่อเรียก เกณฑ์ไพร่พลเข้ารับราชการ 2.) ด้านศาสนา โปรดเกล้า ฯ ให้มีการบูรณ ปฏิสังขรณ์ วัดแจ้งด้วยการสถาปนาโบสถ์และ วิหารใหม่ เสริมพระปรางค์องค์เดิมให้ใหญ่ ขึ้น 3.)ด้านศิลปวัฒนธรร มทรงปรับปรุ งท่ารำต่าง ๆ ทั้งโขนและละคร ซึ่ งกลายเป็ นต้นแบบมา ถึงปัจจุบัน ทรงประพันธ์เพลง “บุหลันลอย เลื่อน” หรือ “บุหลันลอยฟ้ า”

แบบอย่างดีความดี 1. ความเป็ นคนดี เช่น ช่วยเหลือสังคม 2.ความมีน้ำใจ เช่น การบริจาคทาน 3.ความกตัญญู เช่น ช่วยพ่อตัดหญ้าหน้าบ้าน

3.พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็ นพระ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัยประสูติแต่สมเด็จพระศรีสุลาลัย เสด็จ พระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 (นับแบบปัจจุบัน พ.ศ. 2331) ณ พระราชวังเดิม ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ในขณะที่ พระองค์ ประสูตินั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยดำรงพระอิสริยยศที่สมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุนทร พระองค์ จึงมีสกุลยศชั้ นหม่อมเจ้าพระนามว่า หม่อมเจ้าชายทับ จนกระทั่ง สมเด็จพระบรม ชนกนาถได้รับอุปราชาภิเษกขึ้นเป็ นกรม พระราชวังบวรสถานมงคล ในปี พ.ศ. 2349

พระราชกรณียกิจ 1.)ด้านความมั่นคง พระองค์ได้ทรงป้ องกันราชอาณาจักร ด้วยการส่งกองทัพไปสกัดทัพของเจ้าอนุวงศ์แห่ง เวียงจันทน์ ไม่ให้ยกทัพเข้ามาถึงชานพระนครและขัด ขวางไม่ให้เวียงจันทน์ เข้าครอบครองหัวเมืองอีสานของ สยาม 2.)ด้านการคมนาคม ในรัชสมัยของพระองค์ใช้ทางน้ำเป็ น สำคัญ ทั้งในการสงครามและการค้าขาย 3.) ด้านศิลปกรรม สำหรับวรรณกรรม พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้นักปราชญ์ราชบัณฑิตจารึกวรรณคดีที่สำคัญ ๆ และวิชา แพทย์แผนโบราณลงบนแผ่นศิลา

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น พูดให้กำลังใจเพื่อนที่กำลังเหนื่อยกับชีวิต 2.ความมีน้ำใจ เช่น สละที่นั่งโดยสารให้คนแก่หรือคนพิการนั่ง 3.ความกตัญญู เช่น ช่วยแม่ถูบ้าน

4.พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โลโก้

พระราชประวัติ พระราชโอรสองค์ที่ 43 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรม ราชินี ทรงพระราชสมภพเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปี ชวด ฉศก จ.ศ. 1166 ซึ่ งตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ณ พระราชวังเดิม ซึ่ งเป็ นที่ประทับของสมเด็จ พระราชบิดา เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็ นสมเด็จ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรมหลวงอิศรสุนทร โดยพระนาม ก่อนการมีพระราชพิธีลงสรงเฉลิมพระนามว่า \"ทูล กระหม่อมฟ้ าใหญ่\" พระองค์ มีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระราชมารดา รวมทั้งสิ้น 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้ าชาย (สิ้นพระชนม์เมื่อประสูติ) สมเด็จฯ เจ้าฟ้ ามงกุฎ และสม เด็จฯ เจ้าฟ้ าจุฑามณี (ภายหลังได้รับการสถาปนาขึ้นเป็ น พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้าเจ้าอยู่หัว) พระองค์จึงเป็ น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ าพระองค์แรกที่มีพระชนม์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านกฎหมาย ในรัชสมัยของพระองค์ มีการลดภาษี อากร ลดหย่อนค่านา ยกเลิกการเก็บอากรตลาด เปลี่ยน เป็ นเก็บภาษีโรงร้านเรือนแพจากผู้ค้าขายรายใหม่ ประกาศมิให้ตกข้าวแก่ชาวนา 2.)ด้านพระพุทธศาสนา พระองค์ทรงฟื้นฟูพระพุทธ ศาสนาให้รุ่งเรือง โดยทรงตั้งธรรมยุตติกาวงศ์ขึ้น 3.)ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ด้วยเหตุที่ทรงสน พระทัยในวิทยาการตะวันตกมาตั้งแต่ก่อนขึ้นครอง ราชย์ จึงทรงคุ้นเคยกับชาวตะวันตกโดยเฉพาะอังกฤษ เป็ นอย่างมาก

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น มีความซื่อสัตย์สุจริตกับคนรอบข้าง 2.ความมีน้ำใจ เช่น แบ่งปากให้เพื่อน 3.ความกตัญญู เช่น ช่วยเก็บขยะในพื้นที่ในบ้าน

5.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โลโก้

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระ ราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปี ฉลู เบญจศก จ.ศ. 1215 (ตรงกับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396) เพลาก่อนทุ่มหนึ่งบาตรหนึ่ง เป็ นพระ ราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่พระนางเธอ พระองค์เจ้ารำเพยภมรา ภิรมย์ (ในรัชกาลที่ 6 ได้มีการสถาปนาพระบรมอัฐิ เป็ นสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี) ครั้งนั้น พระบรมวงศานุวงศ์เสนาบดีเข้าชื่อกันกราบบังคม ทูลว่า ทุกวันนี้เจ้าฟ้ าก็ไม่มีเหมือนแต่ก่อน ขอให้ยก ขึ้นเป็ นเจ้าฟ้ าอย่างสมัยก่อน จึงพระราชทาน พระนามว่า เจ้าฟ้ าจุฬาลงกรณ์ ถึงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2404 จึงได้รับพระราชทานสุพรรณบัฏจารึก พระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ า จุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามกุฎ

พระราชกรณียกิจ 1.ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการเลิกทาส และไพร่ในประเทศไทย การป้ องกันการเป็ น อาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสและ จักรวรรดิอังกฤษ 2.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงเป็ นพระมหากษัตริย์ไทย พระองค์ แรกที่ทรงเดินทางไปถึงทวีปยุโรป 3.การเสด็จประพาสต้นและประพาสหัวเมือง เส้นทางเสด็จประพาสต้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2447 ระหว่างวันที่ 14 กรกฎาคม ถึงวันที่ 7 สิงหาคม เป็ นเวลา 25 วัน

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น ช่วยเพื่อนถือของ 2.ความมีน้ำใจ เช่น ช่วยคุณครูทิ้งขยะ 3.ความกตัญญู เช่น ช่วยพ่อยกของเข้าบ้าน

6.พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว SCAN

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ ทรงศึกษาวิชาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษหลาย แขนง ทางทหารทรงสำเร็จการศึกษาจากแซน เฮิสต์ แล้วเข้ารับราชการในกรมทหารราบเบา เดอรัม ทางด้านพลเรือนทรงศึกษาวิชา ประวัติศาสตร์และกฎหมาย ที่วิทยาลัยไค รสต์เชิร์ช มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ระหว่างปี พ.ศ. 2442 - พ.ศ. 2444 แต่เนื่องด้วยทรง พระประชวรด้วยพระโรคอันตะ (ไส้ติ่ง) อักเสบ มีพระอาการมากต้องเข้ารับการผ่าตัดทันที ทำให้ทรงพลาดโอกาสที่ได้รับปริญญา ระหว่าง การศึกษาในต่างประเทศ

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านการศึกษา เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวยังดำรงพระอิสริยยศสยามมกุฎราชกุมารได้ เสด็จพระราชทานนาม โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2448 2.) ด้านการเศรษฐกิจ ได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตราพระราชบัญญัติคลังออมสิน พ.ศ. 2456 ขึ้น เพื่อให้ ประชาชนรู้จักออมทรัพย์ 3.) ด้านสังคม เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงจัด ตั้งกองเสือป่ าและทรงจัดตั้งกองลูกเสือกองแรกขึ้นที่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น เก็บโทรศัพท์คืนเจ้าของ 2.ความมีน้ำใจ เช่น ช่วยเหลือคนที่เดือดร้อนจริงๆ 3.ความกตัญญู เช่น ช่วยพ่อกวาดบ้าน

7.พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว SCAN

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็ นพระ ราชโอรสพระองค์ เล็กในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปี มะเส็ง ตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 ณ พระที่นั่งสุทธาศรีภิรมย์ พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน พระนามเมื่อการสมโภชเดือนว่า สมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ าประชาธิปกศักดิเดชน์ ชเนศร มหาราชาธิราช จุฬาลงกรณนารถวโรรส

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านการทำนุบำรุ งบ้านเมือง เศรษฐกิจ สืบเนื่องจากผลของ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประเทศทั่วโลกประสบปัญหาภาวะ เศรษฐกิจ ตกต่ำ ซึ่ งมีผลกระทบกระเทือนมาสู่ประเทศไทย พระองค์ได้ทรงพยายามแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจด้วยวิธีต่าง ๆ 2.) ด้านการปกครอง พบหลักฐานว่าพระองค์ทรงรับรู้ทั้ง สนับสนุน \"คณะกู้บ้านกู้เมือง\" และมีพระราชดำรัส \"ระเทศนี้ พร้อมแล้วหรือยังที่จะมีการปกครองแบบมีผู้แทน… ตามความ เห็นส่วนตัวของข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าขอย้ำว่าไม่ 3.) ด้านการศาสนา การศึกษา ประเพณี และวัฒนธรรม ทรงส่ง เสริมการศึกษาของชาติทั้งส่วนรวมและส่วนพระองค์ โปรดให้ สร้างหอพระสมุดสำหรับพระนคร เพื่อเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนเข้าศึกษาได้อย่างเสรี

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น ช่วยเหลือครอบครัว 2.ความมีน้ำใจ เช่น ช่วยเก็บของให้คนที่ทำตก 3.มีความกตัญญู เ้ ช่น ช่วยพ่อกรอกน้ำ

8.พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระ อัฐมรามาธิบดินทร เป็ นพระโอรสในสมเด็จพระมหิ ตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระราช สมภพเมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 11 ปี ฉลู ตรงกับ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 ณ เมืองไฮเดิลแบร์ค สาธารณรัฐไวมาร์ (ปัจจุบันคือประเทศเยอรมนี) ต่อมาพระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็ นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2478 ขณะที่มีพระชนมพรรษาเพียง 9 พรรษา และ ประทับที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ดังนั้น จึงมีการแต่ง ตั้งคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เพื่อทำหน้ าที่ บริหารราชการแผ่นดินจนกว่าพระองค์ จะทรงบรรลุ นิติภาวะ

พระราชกรณียกิจ 1.) การปกครอง พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินไปในพระราช พิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 และเปิ ดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2489 2.) การศาสนา ในการเสด็จนิวัตพระนครครั้งแรกนั้น พระองค์ ได้ประกอบพิธีทรงปฏิญาณตนเป็ นพุทธมามกะ ท่ามกลาง มณฑลสงฆ์ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 3.) การศึกษา เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรกิจการของ หอสมุดแห่งชาติ รวมทั้ง เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมสถาน ศึกษาหลายแห่ง

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น มีรับผิดชอบต่อหน้าที่ 2.ความมีน้ำใจ เช่น ช่วยทิ้งขยะที่ตกบนพื้น 3.ความกตัญญู เช่น หุงข้าวให้พ่อแม่กิน

9.พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

พระราชประวัติ พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ที่โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ เป็ นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลย เดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี และเป็ นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระองค์เป็ นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ และได้ทรง หยุดยั้งการกบฏ เช่น กบฏเมษาฮาวายใน พ.ศ. 2524 และ กบฏทหารนอกราชการใน พ.ศ. 2528 กระนั้น ในสมัยของ พระองค์ได้มีการทำรัฐประหารโดยทหารหลายคณะ เช่น จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ใน พ.ศ. 2500 กับพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน ใน พ.ศ. 2549 ตลอดระยะเวลา 70 ปี ที่ทรง ครองราชย์ มีนายกรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง 30 คน โดยเริ่ม ต้นที่ปรีดี พนมยงค์ และสิ้นสุดลงที่ประยุทธ์ จันทร์โอชา

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านการพัฒนาชนบท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดชทรงใช้ เวลาส่วนใหญ่ตลอดรัชสมัยไปกับ การเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นต่าง ๆ ทุกภูมิภาคของ ประเทศ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2497 2.)ในด้านชลประทาน พระองค์ทรงให้ความสำคัญเป็ น อย่างมาก โดยทรงคิดค้นโครงการตามพระราชดำริของ พระองค์ มีทั้งการแก้ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาอุทกภัย รวมไป ถึงการบำบัดน้ำเสีย 3.) ด้านการพัฒนาชนบท พระองค์ทรงพระกรุ ณาโปรด เกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งมู ลนิธิอานันทมหิดลขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2502

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น อยู่อย่างพอเพียง 2.ความเป็ นคนมีน้ำใจ เช่น ช่วยคนรถน้ำมันหมดกลางทาง 3.ความกตัญญู เช่น ไปซื้อของให้พ่อแม่

10.พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชประวัติ พระองค์เป็ นพระราชโอรสพระองค์เดียวของพระบาท สมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร (รัชกาลที่ 9) กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง ทรงได้รับการสถาปนาเป็ นสยามมกุฎราชกุมารใน พ.ศ. 2515 เวลานั้นมีพระชนมายุ 20 พรรษา ครั้น รัชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคตในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 มีการคาดการณ์ ว่า พระองค์จะทรงขึ้นครอง ราชย์สืบต่อทันที แต่ทรงผัดผ่อนไปก่อน เพื่อให้เวลา ผู้คนไว้อาลัยพระราชบิดา กระทั่งวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จึงทรงรับการอัญเชิญขึ้นครองราชย์ และ ทรงจัดการพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระราชบิดาในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2560 พระ ราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระองค์ จัดขึ้นในวันที่ 4–6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

พระราชกรณียกิจ 1.) ด้านการศึกษา พระองค์พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ใช้อาคารของกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์เป็ นที่ ตั้งของโรงเรียนชื่อว่า โรงเรียนอนุบาลทหารมหาดเล็กราชวัลลภ 2.) ด้านการแพทย์และสาธารณสุข พระองค์โดยเสด็จพระราช บิดาและพระราชมารดาไปทรงเยี่ยมราษฎรในชนบทเสมอ จึงมี พระราชประสงค์ ให้ราษฎรได้รับการรักษาพยาบาลอันทั่วถึงและ มีมาตรฐาน 3.) ด้านการเกษตร พระองค์พระราชทานที่ดินส่วนพระองค์ใน พื้นที่สวนบ้านกองแห หมู่ที่ 4 ตำบลโป่ งแยง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1,350 ไร่ ให้กระทรวงเกษตร

แบบอย่างความดี 1.ความเป็ นคนดี เช่น ช่วยคนประสบอุบัติเหตุ 2.ความมีน้ำใจ เช่น ช่วยเหลือสังคม 3.ความกตัญญู เช่น ล้างห้องน้ำในบ้าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook