Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้รวม ม.ต้น 2-2564

ใบความรู้รวม ม.ต้น 2-2564

Published by Cool Jeab, 2022-05-24 10:18:40

Description: ใบความรู้รวม ม.ต้น 2-2564

Search

Read the Text Version

ค. หน้าทีต่ ่อประมหากษัตรยิ ์ ผู้กำกับลูกเสือพึงหาวิธีการต่าง ๆ ท่ีจะทำให้ลูกเสือสนใจในพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์โดย เน้นถึงเวลาที่พระองค์ทรงอุทิศให้แก่บ้านเมือง และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักรพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชาติ เป็นท่ีรวมแห่งความเคารพสักการะและความสามัคคีของ คนไทยทั้งชาติ นอกจากนั้น พระองคท์ รงเป็นพระประมขุ ของคณะลกู เสือแหง่ ชาตดิ ว้ ย ง. การบำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ืน่ การบำเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อ่ืนเป็นหลักการสำคัญประการหน่ึงของลูกเสือและเป็นส่ิงหน่ึงท่ี ทำให้การ ลูกเสือมีช่ือเสียง ได้รับการยกย่องจากประชาชนโดยท่ัวไปแหล่งหรือโอกาสที่ลูกเสือจะบำเพ็ญประโยชน์นั้นควรเร่ิม จากสงิ่ ท่ใี กล้ตวั เดก็ กอ่ นแล้วขยายออกไปตามวัยและความสามารถของเด็ก กล่าวคือ 1. บ้านของลูกเสือ ควรส่งเสริมให้เด็กทำงานในบ้านหรือบำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว เพื่อเป็นการ เพาะนสิ ยั ทดี่ ีให้แกเ่ ดก็ 2. โรงเรียนหรอื ท่ีตั้งกองลูกเสือ ผู้บงั คับบัญชาลกู เสือควรส่งเสริมให้เด็กได้ทำงานเป็นประโยชน์ตอ่ เพ่ือน ต่อห้องเรียน ต่อโรงเรียนให้มากที่สุด โดยสอนให้ลูกเสือตระหนักว่างานเป็นสิ่งท่ีมีเกียรติ งานเท่าน้ันเป็นเครื่องวัด คณุ ค่าของคน กฎของลกู เสอื ข้อ 1 ลูกเสอื มีเกยี รตเิ ช่ือถอื ได้ ขอ้ 2 ลกู เสือมีความจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และซื่อตรงตอ่ ผู้มีพระคุณ ขอ้ 3 ลกู เสอื มีหนา้ ท่ีกระทำตนใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ละช่วยเหลือผอู้ ืน่ ขอ้ 4 ลูกเสือเป็นมิตรของคนทกุ คน และเป็นพีน่ ้องกบั ลูกเสืออน่ื ทั่วโลก ขอ้ 5 ลกู เสอื เป็นผสู้ ภุ าพเรยี บรอ้ ย ข้อ 6 ลูกเสือมีความเมตตากรุณาตอ่ สัตว์ ขอ้ 7 ลกู เสือเช่อื ฟังคำสัง่ ของบดิ ามารดา และผู้บังคับบัญชาด้วยความเคารพ ขอ้ 8 ลกู เสอื มีใจรา่ เริง และไมย่ อ่ ท้อต่อความยากลำบาก ข้อ 9 ลูกเสอื เปน็ ผมู้ ธั ยัสถ์ ขอ้ 10 ลกู เสอื ประพฤตชิ อบดว้ ยกาย วาจา ใจ ในฐานะที่ท่านเป็นลูกเสือ ท่านต้องมีใจสะอาด คิดแตเ่ ร่ืองที่เป็นมงคล สามารถควบคุมสติและจิตใจของ ตนเองไม่ให้ฟุ้งซ่านใน รูป-รส-กล่ิน-เสียง-สัมผัส และของมนั เมาจนเกินกวา่ เหตุ ท่านต้องเป็นตัวของท่านเอง และเป็น ตัวอย่างที่ดีแก่ผู้อื่น ในทุกส่ิงทุกอย่างท่ีท่านคิด-พูด และกระทำโดยเฉพาะท่านควรมีสัมมาอาชีวะ คือ ต้องมีอาชีพท่ี สจุ รติ เพ่ือความสุขของตนเองและสังคม

ใบความรู้ท่ี 2 วิชาลูกเสือ กศน. รหัสวิชา สค22021 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ เร่ือง การเขยี นโครงการเพื่อพฒั นาชุมชน สังคม ทกั ษะลกู เสือ และความมีวนิ ัย ……………………………………………………………………………………………………. ลกู เสอื กศน. ได้รบั การพัฒนาตนเองใหเ้ ปน็ ผู้มีจิตอาสา มีความเสียสละ บำเพ็ญประโยชน์ เพอื่ ชุมชนและสังคมโดยไม่ หวงั ผลตอบแทน มคี วามพร้อมในการให้ “บรกิ าร” แก่ผู้อ่นื ด้วยความเต็มใจ งานบริการท่ลี ูกเสือ กศน. สามารถนำมา เขียนในลักษณะของโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น โครงการบริการชุมชน โครงการจิตอาสา โครงการ พัฒนาสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โครงการพัฒนาอาชีพในชุมชน โครงการช่วยเหลือเด็ก ผู้สูงอายุ คน พิการในชุมชน เป็นต้น การเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ควรเริ่มต้นด้วยการสำรวจสภาพ ชุมชน และ นำมาวิเคราะห์ แยกแยะอย่างรอบคอบ มเี รอ่ื งใดบ้างท่ีลกู เสือ กศน. สามารถให้บริการ หรือมสี ่วนร่วมในการปรับปรุง หรือพัฒนาให้ดีขึ้นตามข้ันตอน เป็นเหตุเป็นผล มีความน่าเชื่อถือ ควรมีการกำหนดองค์ประกอบของการเขียน โครงการที่ชัดเจน ตั้งแต่ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดำเนินงาน ระยะเวลา การ ดำเนินงานตั้งแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดโครงการ งบประมาณ สถานท่ีดำเนินการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผลหรือประโยชน์ที่ คาดวา่ จะได้รับ และการประเมินผล ลูกเสือ กศน. ท่เี ขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคมเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ตอ้ ง ไปดำเนินงานทุกข้ันตอนท่ีได้กำหนดไว้ในโครงการและสรุปรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ เพ่ือนำผลการ ดำเนินงานตามโครงการไปนำเสนอในกิจกรรมเข้าค่ายพักแรม โครงการ หมายถงึ กระบวนการทำงานทป่ี ระกอบไปด้วยหลาย ๆ กิจกรรม ซ่ึงมกี ารทำโครงการเป็นตามขั้นตอน ความ จำเป็น มกี ารกำหนดวัตถุประสงค์ มีเป้าหมาย ระยะเวลา สถานที่ วธิ ีดำเนินการ งบประมาณ ประโยชน์หรือผลท่ีคาด ว่าจะไดร้ ับ รวมทั้งการประเมินผลการดำเนนิ งานตามโครงการ ความสำคญั ของโครงการ มีดงั น้ี 1. ชว่ ยใหก้ ารดำเนนิ งานสอดคลอ้ งกับนโยบายหรอื ความต้องการของผ้รู ับผดิ ชอบ หรือหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง 2. ชว่ ยให้การดำเนินงานน้ันมีทศิ ทางทีช่ ัดเจน และมีประสิทธิภาพ 3. ช่วยชใี้ หเ้ ห็นถึงสภาพปญั หาของชุมชนที่จำเป็นตอ้ งใหบ้ ริการ 4. ชว่ ยใหก้ ารปฏิบัติงาน สามารถดำเนินงานไดต้ ามแผนงาน 5. ชว่ ยใหแ้ ผนงานมคี วามชดั เจน โดยคณะกรรมการหรือบุคคลท่เี ก่ียวขอ้ ง มีความเข้าใจและรบั รู้สภาพปัญหารว่ มกัน 6. ชว่ ยใหแ้ ผนงานมที รพั ยากรใช้เพียงพอเหมาะสำหรับการปฏบิ ตั งิ านจรงิ เพราะโครงการมรี ายละเอียดเพยี งพอ 7. ช่วยลดความขัดแย้งและขจัดความซำ้ ซ้อนในหนา้ ท่ีท่ีรบั ผิดชอบของกลมุ่ บุคคล หน่วยงาน เพราะโครงการจะมี ผรู้ บั ผิดชอบเปน็ การเฉพาะ 8. เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอนั ดีและรบั ผดิ ชอบร่วมกันตามความรู้ ความสามารถของแตล่ ะบคุ คล 9. สรา้ งความมนั่ คงให้กับแผนงานและผรู้ บั ผิดชอบมีความม่ันใจในการทำงานมากขนึ้ 10. ชว่ ยใหง้ านดำเนินการไปสเู่ ปา้ หมายได้เรว็ ขน้ึ โครงการเป็นส่วนประกอบท่ีสำคัญของแผนพัฒนาทุกระดับ ลักษณะของโครงการต้องมีจุดมุ่งหมาย มีเป้าหมายการ ปฏบิ ัติงาน ทมี่ ีระยะเวลาดําเนินการชัดเจน ระบคุ วามต้องการ งบประมาณ หรือผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง มกี ารคาดการณ์ ผล ที่จะเกดิ ข้ึน เม่ือการดําเนนิ งานโครงการเสรจ็ สนิ้ ประเภทของโครงการ แบง่ ไดด้ ังนี้

1. โครงการทีม่ ีระยะเวลาเปน็ ตัวกําหนด ไดแ้ ก่ 1.1โครงการระยะส้ัน หมายถึง โครงการทีม่ ีระยะเวลาการดําเนนิ งาน หรอื กาํ หนดเวลาดําเนนิ การไม่เกนิ 2 ปี 1.2 โครงการระยะปานกลาง หมายถึง โครงการท่ีมรี ะยะเวลาการดาํ เนินงาน หรอื กาํ หนดเวลาดําเนินการต้งั แต่ 2 - 5 ปี 1.3 โครงการระยะยาว หมายถงึ โครงการท่ีมรี ะยะเวลาการดาํ เนินงาน หรือกําหนดเวลาดาํ เนนิ การตัง้ แต่ 5 ปี ขน้ึ ไป 2. โครงการทม่ี ลี ักษณะงานเป็นตวั กาํ หนด ได้แก่ 2.1 โครงการเดิม หรอื โครงการตอ่ เนอื่ ง คือโครงการท่ีมีลกั ษณะต่อเน่ืองจากปีทีผ่ า่ นมา อาจเปน็ โครงการทไี่ มส่ ามารถ ดาํ เนินการ ให้แล้วเสร็จไดใ้ นปีเดียว หรือโครงการทีต่ ้องมีการดําเนินงานต่อเนอ่ื ง หรือตอ่ ยอดขยายผลไปสู่ กลุ่มเปา้ หมายอน่ื ๆ ได้ เช่น ปีที่ผา่ นมาได้มกี ารจัดอบรม “ลูกเสือกับการดูแลเยยี วยาชว่ ยเหลอื ผเู้ กี่ยวข้องกบั ยาเสพ ตดิ สาํ หรับนักศึกษามธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ในปกี ารศึกษา 2560\" ซงึ่ ในปี 2561 ก็อาจมกี ารดาํ เนินงานโครงการใน ลักษณะเดียวกนั แตเ่ น้นการขยายผลจาํ นวนกล่มุ เป้าหมายให้เพม่ิ มากข้นึ เม่ือเทยี บกบั ผลการดาํ เนินงานในปีก่อนหน้า โดยใช้วธิ กี ารดําเนนิ งานโครงการตามรูปแบบเดิม 2.2 โครงการใหม่ คือ โครงการที่จัดทําขึ้นใหม่ ซ่ึงมีรายละเอียด เป้าหมาย ระยะเวลาการดำเนนิ งาน งบประมาณ การ วดั และประเมินผล ตลอดจนผู้เกีย่ วข้อง และผลทจี่ ะเกดิ ขึน้ อาจเหมือนหรอื ไมเ่ หมือนเดิม

ใบความรู้ท่ี 3 วชิ าลูกเสือ กศน. รหัสวิชา สค22021 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ เรอ่ื ง การปฐมพยาบาล ……………………………………………………………………………………………………. การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลอื ผบู้ าดเจ็บเบ้ืองตน้ โดยใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณท์ ี่พอจะหาได้ใน บรเิ วณนนั้ เพื่อช่วยบรรเทาอาการและชว่ ยใหผ้ บู้ าดเจ็บ ได้รับอันตรายนอ้ ยลงก่อนจะสง่ โรงพยาบาล เพื่อใหแ้ พทย์ทำ การรักษา ความสำคัญของการปฐมพยาบาล มีดงั น้ี 1. เพื่อช่วยเหลือผู้บาดเจบ็ 2. เพื่อป้องกนั และลดความพิการท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น 3. เพือ่ บรรเทาความเจ็บปวดและป้องกันอนั ตราย หลกั ของการปฐมพยาบาล 1. การมอง สำรวจความปลอดภัย รวมทั้งสำรวจระบบสำคญั ของร่างกาย อยา่ งรวดเรว็ และวางแผนให้การช่วยเหลือ อย่างมีสติ ไมต่ ่นื เต้นตกใจ 2. ห้ามเคลอื่ นยา้ ย หรือไม่ควรเคลอ่ื นย้ายผ้บู าดเจ็บจนกว่าจะแน่ใจวา่ เคลอ่ื นยา้ ยไดอ้ ย่างรวดเร็ว ยกเวน้ กรณที เ่ี กิดการ บาดเจบ็ ในสถานที่ทไ่ี ม่สะดวกต่อการปฐมพยาบาล หรอื อาจเกิดอนั ตรายมากขึ้นทง้ั ผู้บาดเจบ็ และผ้ชู ว่ ยเหลอื จำเป็นตอ้ งเคลอ่ื นยา้ ยไปทท่ี ่ีปลอดภยั ก่อน 3. ชว่ ยเหลอื ดว้ ยความนุ่มนวลและระมัดระวงั ให้การชว่ ยเหลอื ตามลำดบั ความสำคญั ของการมีชีวิตหรอื ตามความรนุ แรง ท่ผี ู้บาดเจบ็ ไดร้ ับ ดงั นี้ 3.1 กลมุ่ อาการชว่ ยเหลือด่วน ไดแ้ ก่ หยดุ หายใจ หวั ใจหยุดเตน้ หมดสตแิ ละเสยี เลอื ด 3.2 กลุ่มอาการช่วยเหลอื รอง ไดแ้ ก่ ความเจบ็ ปวด การบาดเจบ็ ของกระดูกและข้ออัมพาต วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณตี ่างๆ การปฐมพยาบาลผปู้ ระสบอบุ ัติเหตทุ างรถยนต์ ทางน้ำ ตกจากท่สี งู หกล้ม ที่มอี าการกระดกู หัก ข้อเคลด็ ข้อเคล่ือน ผูใ้ ห้การช่วยเหลือควรมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับ การเข้าเฝอื ก มดั เฝอื ก การพนั ดว้ ยผ้า การใชผ้ ้าสามเหลีย่ ม และการเคลือ่ นยา้ ยผปู้ ว่ ย การปฐมพยาบาล ผมู้ ีภาวการณ์เป็นลม ลมชัก ลมแดด หรือ หมดสติ ผใู้ หก้ าร ช่วยเหลอื ควรมคี วามรู้ ความสามารถ เกยี่ วกับการประเมินอาการเบ้ืองต้น หรือตดั สินใจ ใช้วิธกี ารชว่ ยชีวติ ขั้นพื้นฐานอย่างถูกวธิ ี ถกู ต้อง และรวดเรว็ เพื่อ ป้องกนั การเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือเกิดอาการทรดุ ลงถงึ ข้ันอนั ตรายถึงแก่ชวี ติ การวัดสัญญาณชพี และการประเมินเบอ้ื งต้น สัญญาณชพี เปน็ ส่ิงทบ่ี ่งบอกความมชี ีวติ ของบุคคล ถ้าสญั ญาณชพี ปกติ จะบง่ บอก ถึงภาวะร่างกายปกติ ถ้าสญั ญาณ ชพี มีการเปลย่ี นแปลง ลามารถบอกไต้ถงึ การเปลย่ี นแปลงใน การทำหนา้ ที่ของร่างกาย ความรนุ แรงของการเจบ็ ป่วย และความรีบด่วนท่ีตอ้ งการรักษา

สัญญาณชพี หมายถึง สิ่งทแ่ี สดงใหท้ ราบถึงการมชี วี ติ ลามารถสงั เกตและ ตรวจพบไตจ้ ากทช่ี ีพจร อตั ราการหายใจ อุณหภมู ริ า่ งกาย และความคันโลหติ ซึ่งเกดิ จากการ ทำงานของอวยั วะของร่างกายท่ีสำคัญมากตอ่ ชวี ติ ได้แก่ หัวใจ ปอด และสมอง รวมถึงการทำงาน ของระบบไหลเวยี นโลหติ และระบบหายใจ วัตถปุ ระสงคข์ องการวัดสัญญาณชีพ 1. เพื่อประเมนิ ระดบั อุณหภูมิของร่างกาย อัตราการเต้น ลักษณะชีพจรการ หายใจ และความคนั โลหิต 2. เพ่ือสังเกตอาการทวั่ ไปของผ้ปู ่วย และเป็นการประเมินสภาพผปู้ ว่ ยเบื้องต้น ขอ้ บ่งช้ขี องการวัดสญั ญาณชพี 1. เม่อื แรกรบั ผู้ปว่ ยไวใ้ นโรงพยาบาล 2. วดั ตามระเบยี บแบบแผนท่ีปฏิบตั ขิ องโรงพยาบาลหรอื ตามแผนการรกั ษาของแพทย์ 3. กอ่ นและหลังการผา่ ตดั 4. กอ่ นและหลังการตรวจวนิ จิ ฉยั โรคท่ตี อ้ งใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในรา่ งกาย 5. กอ่ นและหลงั ใชย้ าบางชนิดที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด 6. เม่ือสภาวะท่ัวไปของรา่ งกายผูป้ ่วยมกี ารเปลย่ี นแปลง เชน่ ความรู้สกึ ตวั ลดลง หรอื ความรุนแรงของอาการปวด เพมิ่ ขน้ึ 7. กอ่ นและหลังการให้การพยาบาลทีม่ ผี ลตอ่ สญั ญาณชพี สญั ญาณชพี ประกอบดว้ ย ชพี จร อัตราการหายใจ อุณหภมู ิ ร่างกายและความดันโลหิต มีรายละเอยี ดดังน้ี 7.1 ชพี จรเปน็ การหดและขยายตวั ของผนังหลอดเลอื ด ซึ่งเกิดจากการบบี ตวั ของหัวใจ จังหวะการเตน้ ของเส้นเลือด จะสัมพันธก์ ับการเต้นของหวั ใจ การวดั อตั ราการเต้น ของหัวใจ วดั นบั จากการใชน้ ว้ิ กลางและนวิ้ ช้ีคลำการเต้นของ หลอดเลอื ดแดงตรงต้านหนา้ ของ ข้อมือ (ต้านหัวแม่มือ) ท่ีอยตู่ ่ํากวา่ ฐานของนิ้วหวั แมม่ ือ ประมาณ 60 - 100 ครง้ั ต่อ นาที 7.2 อตั ราการหายใจ การหายใจเป็นการนำเอาออกซิเจนเชา้ สรู่ า่ งกายและนำ คาร์บอนไดออกไซดอ์ อกจากรา่ งกาย การวดั อตั ราการหายใจดจู ากการขยายตวั ของซ่องอก ประมาณ 12 - 20 ครั้งตอ่ นาที 7.3 อุณหภูมิรา่ งกายเป็นระดับความร้อนของร่างกาย ซ่งึ เกิดจากความสมดลุ ของการสร้างความรอ้ นของรา่ งกายและ การสูญเสยี ความร้อนของร่างกาย มหี น่วยเป็นองศา- เซลเซียส (°0 หรือองศาฟาเรนไฮต์ (°F) ซึ่งจะไม่ค่อย เปลีย่ นแปลงมากนักถึงแม้อณุ หภูมิ ภายนอกอาจจะเปลี่ยนแปลง คา่ ปกติ ประมาณ 37 องศาเซลเซยี ส +/- 0.5 องศา เซลเซยี ส 7.4 ความตนั โลหติ เปน็ แรงตันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง มีหน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท (มม.ปรอท หรอื mm.Hg.) ความตันโลหติ ใช้ตรวจวดั จากเคร่ืองวัด คนปกตจิ ะมคี วามตนั โลหิต ประมาณ 90/60 - 120/80 มลิ ลเิ มตรปรอท การชว่ ยชวี ิตขนั้ พนื้ ฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation : CPR) เปน็ การชว่ ยใหล้ อื ผู้บาดเจบ็ เมอ่ื เกิดภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั เพ่ือนำออกซิเจนเช้าสูร่ า่ งกาย และช่วยให้โลหิตมีการไหลเวยี นไปเลีย้ งเนื้อเย่ือ ตา่ ง ๆ ของร่างกาย จนกระทั่งระบบตา่ ง ๆ กลบั มาทำหน้าทไ่ี ตเ้ ป็นปกติ สาเหตุท่ที ำให้เกดิ ภาวะหยดุ หายใจ และหวั ใจ หยุดเตน้ กะทนั หัน ได้แก่ หัวใจ ขาดเลือด ไฟฟ้าดดู ไต้รับสารพิษ จมน้ำ อบุ ัติให้ตา่ ง ๆ เป็นต้น อาการของผ้ทู ตี่ ้องไต้ รบั การชว่ ยให้ลอื โดยการทำ CPR คือ หมดสติ หยุดหายใจ หรอื มีการหายใจผิดปกติ (Gasping)

ข้นั ตอนการช่วยชีวติ ข้นั พนื้ ฐาน (Cardiopulmonary Resuscitation CPR) 1. สำรวจสถานการณ์สำรวจสถานการณ์บรเิ วณที่เกดิ เหตุอย่างรวดเรว็ ถ้าสถานการณ์ปลอดภยั ให้ ตะโกนเรยี ก ผูบ้ าดเจ็บ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือท้ัง 2 ช้างตบไหล่ เรยี กพร้อมสังเกตการตอบสนอง (การลมื ตาขยบั ตัว และพูด) และดู การเคลอ่ื นไหวของทรวงอก หน้าหอ้ ง พบวา่ หน้าซีดไม่มกี าร ตอบสนอง หนา้ อก หน้าห้องไม่เคล่ือนไหว แสดงว่าหมด สติ ไม่หายใจ ให้ตะโกนขอความชว่ ยให้ลอื 3. ขอความชว่ ยใหล้ อื ถา้ ผู้บาดเจบ็ หมดสตไิ มห่ ายใจ ใหข้ อความชว่ ยให้ลือ โทรศพั ท์แจ้ง 1669(ศูนย์นเรนทร) 4. การกระตุน้ หวั ใจ โดยการกดหน้าอก 30 ครงั้ (1) ตำแหน่ง : ก่ึงกลางหน้าอก (2) กดดว้ ย : ลันมอ 2 ข้างซ้อนกนั (3) กดลึก : 5-6 เซนตเิ มตร (4) กดเรว็ : 100-120 ครง้ั /นาที และต้องผ่อนมอื ให้ทรวงอกคืนตวั ก่อนกดคร้ังต่อไป (5) จำนวน : 30 ครง้ั (6) ออกแรงกดจากสำตัวโดยมสี ะโพกเป็นจุดหมนุ กดในแนวต้งั ฉากกับพ้นื ข้อศอกเหยียดตรง เวลาในการกดและผอ่ น ต้องเทา่ กัน กดแรงและกดเรว็ เปน็ จังหวะ (Push Hard - Push Fast)

ใบความรู้ที่ 4 วชิ าลูกเสอื กศน. รหัสวิชา สค22021 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ เรอื่ ง การฝึกปฏิบัตกิ ารเดินทางไกลอยคู่ ่ายพักแรม และชีวติ ชาวคา่ ย ……………………………………………………………………………………………………. การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย เป็นการนำความรู้จากการได้ศึกษาบทเรียน ภาคทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ โดยมุ่งให้ลูกเสือสามารถวางแผนและปฏิบัติกิจกรรมการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและ ชีวิตชาวค่ายทุกกิจกรรม คือ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมและอุดมการณ์ลูกเสือ กิจกรรมสร้างค่ายพักแรม กิจกรรม ชีวิตชาวค่าย กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟ กิจกรรม นำเสนอ ผลงานตามโครงการท่ีได้ดำเนินการมาก่อนการเข้าค่ายและสามารถใช้ชวี ิตชาวค่าย ร่วมกับผู้อ่ืนในค่ายพักแรมไดอ้ ย่าง สนกุ สนานและมีความสุข การเดินทางไกล เป็นการเดินทางของลูกเสือจากกองลูกเสือ หรอื กลุม่ ลูกเสือไปทำกจิ กรรมต่าง ๆ ในสถานท่ที ี่ ใดทหี่ นึง่ ซึง่ นายหมู่ลูกเสอื และผ้กู ำกับลูกเสอื รว่ มกนั กำหนด เพือ่ ใหส้ มาชกิ ได้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ปฏิบตั ิกจิ กรรม ร่วมกัน ใช้ชีวิตรว่ มกนั แลกเปล่ียนเรียนรูป้ ระสบการณ์ร่วมกันโดยมีระบบหมลู่ ูกเสือเป็นหลกั ในการทำกิจกรรม เสรมิ สร้างคณุ ธรรมและอดุ มการณ์ลูกเสือมีความเป็นพี่น้องกันและพัฒนาความเปน็ พลเมืองดีตามทศั นะของลกู เสือ ทั้งนี้เพื่อฝึกความอดทน ความสามคั คี ความมวี นิ ัยและความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ตลอดจนร้จู ักการเตรยี มความ พร้อมในการใช้ชีวติ กลางแจ้ง การอยู่คา่ ยพักแรม เป็นการไปพักแรมในสถานทีต่ า่ ง ๆ และนำสงิ่ ท่ีไดจ้ ากการเรียนรู้ทง้ั ภาคทฤษฎแี ละ ภาคปฏบิ ตั ิ โดยมกี ระบวนการถ่ายทอดความรู้และการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ตลอดจนการเสริมสร้างพฒั นาทักษะ ลกู เสือ รวมทัง้ การฝกึ กระบวนการคิด วเิ คราะหแ์ ละสรา้ งสรรค์สิง่ ท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ละสมั พนั ธ์กับวิถชี ีวิต ชวี ิตชาวคา่ ย เปน็ กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งลกั ษณะนสิ ัยทีด่ ีในการใช้ชีวติ รว่ มกนั ทำ กิจกรรมร่วมกัน มีความเอ้ือ อาทรซึง่ กนั และกัน มีการพฒั นาทกั ษะชีวติ ทักษะการประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย ทักษะการใชอ้ ปุ กรณ์ เครื่องมือ เครอื่ งใชท้ ่จี ำเป็นในการอยู่คา่ ยพกั แรม รวมทง้ั การเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมในตนเอง โดยมีคำปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ เปน็ หลกั ในการดำรงชวี ติ ชาวค่าย การจดั การคา่ ยพักแรม เปน็ การกำหนดตำแหนง่ ที่จะสรา้ งเตน็ ท์ ครัว สขุ าภบิ าล ราวตากผา้ ใหเ้ หมาะสมกับ สถานทีต่ ้งั ค่ายพักแรม ดังนั้น ตอ้ งศึกษาสภาพภูมปิ ระเทศ คาดคะเนความเหมาะสมของพ้ืนที่ แหลง่ นำ้ เส้นทาง คมนาคม และความปลอดภยั จากอนั ตรายต่าง ๆ การวางแผนและปฏิบัตกิ จิ กรรม การเดินทางไกลการอยคู่ ่ายพักแรม และชวี ติ ชาวคา่ ย การเดินทางไกล ลกู เสือต้องเตรียมความพร้อมทกุ ด้าน ทัง้ ทางร่างกาย จติ ใจ ความรู้ ความสามารถ ทักษะท่จี ำเป็นใน การให้ รวมทั้งการบรรจุเครอื่ งหลัง ซึ่งประกอบดว้ ย เครื่องแตง่ กาย เคร่ืองใชป้ ระจำตวั ยาประจำตวั อุปกรณ์การ เรียนร้แู ละการจดบนั ทึกกิจกรรม อุปกรณท์ ี่จำเปน็ ตามฤดูกาล อปุ กรณเ์ ครื่องนอนสว่ นตวั และอปุ กรณป์ ระจำกาย ลกู เสอื ลกู เสอื และผู้บังคบั บัญชาลูกเสือ รว่ มกันวางแผนการการเดินทางไกล โดยการสำรวจ เส้นทางการเดินทาง ความปลอดภัยในการเช้ารว่ มกจิ กรรมและกำหนดวัน เวลา สถานท่ีให้เหมาะสม กำหนดบทบาทใหแ้ ต่ละคนในฐานะ

ผนู้ ำ ผู้ตาม ผ้ปู ระสานงาน ผู้ควบคมุ ผู้รบั ผดิ ชอบร่วมกนั ประชมุ ซกั ซ้อมความเข้าใจท่ตี รงกัน กำหนดนัดหมายที่ ชดั เจน รัดกมุ และปฏิบตั ิตามแผน การอยู่คา่ ยพักแรม ต้องมีกิจกรรมการแสดงรอบกองไฟ เพอื่ ปลกุ ใจ และสง่ เสรมิ ความสามคั คีของหมคู่ ณะ เปิดโอกาส ให้ลูกเสอื ไดแ้ สดงออกและรจู้ ักกันมากยิ่งข้ึนซง่ึ บี.พ.ี ไดร้ ิเริ่มในการนำเด็กไปอยู่คา่ ยพักแรมท่ี เกาะบราวนซ์ ี ประเทศ องั กฤษ การชุมนุมรอบกองไฟ ภาษาองั กฤษ เรยี กว่า Camp Fire ในภาษาไทยเดิมมักเรียกกนั ว่า การเลน่ หรือการ แสดง รอบกองไฟ ซึ่งความจริงการเล่นหรือการแสดง เปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ ของการชมุ นุมรอบกองไฟ การชมุ นุมรอบกองไฟ มีความมุ่งหมาย ดงั นี้ 1. เพอ่ื เปน็ การฝกึ อบรมในตอนกลางคืน ดังที่ บี.พี. ตั้งเป็นหลกั ในการฝกึ อบรมผู้ที่ไปอยู่ค่ายพักแรม 2. เพ่อื ให้ลูกเสือได้รอ้ งเพลงร่วมกนั หรอื แสดงกิรยิ าอาการอยา่ งเดียวกัน เปน็ การปลุกใจหรือเปลยี่ นอารมณใ์ หเ้ กิด ความสนกุ สนานเบกิ บานใจภายหลงั ทีไ่ ด้ปฏิบตั งิ านในเวลากลางวันมาแลว้ 3. เพอ่ื ให้ลกู เสือแต่ละหมู่ไดม้ ีโอกาสออกมาแสดงรอบกองไฟ เป็นการส่งเสริมความสามคั คีของหมู่ กับใหล้ ูกเสือแต่ละ คนในหมไู่ ดท้ ำงานรว่ มกับผู้อื่น 4. ในบางกรณีอาจใช้เป็นโอกาสสำหรับประกอบพิธสี ำคญั เชน่ แนะนำให้ลูกเสือรู้จกั บคุ คลสำคญั ของการลูกเสือ แขก สำคัญทีม่ าเยยี่ ม เปน็ ตน้ 5. ในบางกรณีอาจเชญิ บุคคลสำคัญในท้องถิน่ ตลอดจนชาวบา้ นใหม้ าร่วมการชมุ นมุ รอบกองไฟ เพื่อเป็นการ ประชาสมั พนั ธ์และส่งเสรมิ กิจการลกู เสอื การแสดงรอบกองไฟมีข้อกำหนดบางประการ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเหมาะสม ได้แก่ 1 เรอ่ื งที่จะแสดงควรเป็นเรื่องสนกุ สนานขนบธรรมเนยี มประเพณี ประวตั ิศาสตร์เร่ืองทีเ่ ปน็ คตเิ ตอื นใจ 2 เรอ่ื งที่ไม่ควรนำมาแสดง เช่น เรอ่ื งไร้สาระ เรอื่ งผสี าง เรื่องลามก เรอื่ งอนาจาร เรอ่ื งเสียดสสี งั คม เรอื่ งล้อเลยี น การเมือง เรอ่ื งหมน่ิ สถาบัน ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั ริย์ เปน็ ต้น 3 การใช้คำพดู และวาจาทเ่ี หมาะสม คำสภุ าพ คำท่ีไมห่ ยาบคาย คำดา่ ทอ 4 ชุดการแสดง ควรเปน็ ชดุ ที่มคี วามเหมาะสมกับเรื่องทจี่ ะแสดงมีความสุภาพ สอดคล้องกบั เนื้อเรื่องทีแ่ สดง

คณะผูจ้ ดั ทำ ท่ปี รกึ ษา นาคเอย่ี ม ผอ.กศน.อำเภอเมอื งกาญจนบุรี 1. นายศักดิช์ ัย รักษาการในตำแหน่งผอ.กศน.อำเภอทา่ มะกา พทุ ธศรี ครู คศ.1 2. นางสาวปรารถนา บุญส่ง ครูผชู้ ่วย 3. นางสาวสมฤทยั โพธเ์ิ งิน ครอู าสาสมคั รฯ คณะทำงาน อนุ่ ใจ ครู กศน.ตำบลทา่ มะกา 1. นางสาวภัทรกรณ์ เขยี วเกตุ ครู กศน.ตำบลดอนชะเอม 2. นางสุภาพ จานแก้ว ครู กศน.ตำบลเขาสามสิบหาบ 3. นางจุฬาลกั ษณ์ ผชู้ ว่ ย ครู กศน.ตำบลอุโลกสี่หมื่น 4. นายอนุรกั ษ์ ลพี ร้อม ครู กศน.ตำบลสนามแย้ 5. นางสาวนาทตยิ า สมพงษ์ ครู กศน.ตำบลหวายเหนียว 6. นางภัสสราลกั ษณ์ 7. นางศภุ รัตน์ สมพงษ์ ครู กศน.ตำบลหวายเหนยี ว ผรู้ วบรวม/รปู เล่ม 1. นางศภุ รตั น์

ใบความรู้ หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสกลนคร เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook