1
2 เอกสารประกอบการประเมนิ “หอ้ งเรยี นคุณภาพสโู่ รงเรียนประทับใจ” ระดบั เครอื ขา่ ยสถานศกึ ษาท่ี ๑๔ เขือ่ งใน ๗ นายจกั รพล สร้อยสิงห์ ตำแหน่ง ครผู ู้ช่วย ศูนยเ์ รยี นรวมสมเดจ็ พระมหาธรี าจารย์ โรงเรยี นบ้านยางน้อย(พรหมพิทยา) สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก คำนำ เอกสารประกอบการประเมิน “ห้องเรียนคุณภาพสู่โรงเรียนประทับใจ” ระดับเครือข่ายสถานศึกษา ที่ ๑๔ เขื่องใน ๗ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๑ ของนายจกั รพล สร้อยสิงห์ ตำแหน่ง ครูผูช้ ่วย ครปู ระจำช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรยี นบ้านยางน้อย(พรหมพิทยา) ได้จดั ทำขนึ้ เพอ่ื เสนอ ข้อมูลการดำเนินการห้องเรียนคุณภาพในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ซึ่งได้เสนอทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพ เพอื่ ใชป้ ระกอบการประเมินตามเกณฑ์ประเด็นพิจารณา การนำเสนอรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ผู้รายงานรับรองวา่ ขอ้ มลู ทั้งหมดถกู ต้อง และเป็นจริงทุกประการ นายจักรพล สร้อยสิงห์ ผู้รายงาน
ข สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………ก สารบัญ............................................................................................................................................................... ข แบบประเมนิ ห้องเรียนคุณภาพสโู่ รงเรียนประทบั ใจ........................................................................................๑ ตอนท่ี ๑ ข้อมลู สว่ นตวั ผู้รับการประเมิน......................................................................................................... ๙ ตอนท่ี ๒ ข้อมูลห้องเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔.........................................................................................๑๐ ตอนท่ี ๓ หอ้ งเรียนคุณภาพตามประเด็นพจิ ารณา....................................................................................... ๑๑ มาตรฐานที่ ๑ ด้านการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น..................................................................................๑๑ มาตรฐานท่ี ๒ ด้านคุณภาพครู..........................................................................................................๑๘ มาตรฐานที่ ๓ ด้านคุณภาพผ้เู รียน....................................................................................................๒๖ ภาคผนวก.......................................................................................................................................................๓๑ ประกาศศูนยเ์ รยี นรวมฯ เรอ่ื งแต่งตัง้ ข้าราชการครูและบุคลากรทางศกึ ษาปฏิบัตหิ น้าท่ี ครปู ระจำชนั้ /ครูท่ปี รึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕........................................................................๓๒ คำสั่งโรงเรยี นบา้ นยางน้อย(พรหมพทิ ยา) ท่ี ๓๙/๒๕๖๕ เรื่องแต่งต้งั และมอบหมายงานให้ข้าราชการ ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาปฏิบตั หิ น้าที่ในโรงเรยี น ประจำภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕……………..๓๔ ประกาศสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั อบุ ลราชธานี เร่ือง ผลการคัดเลอื กนวัตกรรม โครงการสง่ เสรมิ เวทีและประชาคมเพอื่ การจัดทำรปู แบบและการพฒั นาหลกั สูตรตอ่ เนือ่ งเชอ่ื มโยงการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานกบั อาชีวศึกษาและอดุ มศกึ ษา ระดับจงั หวดั อุบลราชธานี…………………………………………………………………………. ๓๕ เอกสาร/หลักฐานอืน่ ๆ……………………………………………………………………………………………………….. ๓๖ ภาพกิจกรรมตา่ ง ๆ…………………………………………………………………………………………………………….. ๓๙
๑ แบบประเมินห้องเรยี นคุณภาพส่โู รงเรียนประทับใจ ระดับเครือขา่ ยสถานศึกษาท่ี 14 เข่ืองใน 7 ปีการศกึ ษา 2565 ประเมินครง้ั ที.่ .............. โรงเรยี น บ้านยางนอ้ ย(พรหมพทิ ยา) ระดับช้นั ป.4 วันที่ ๘ เดือน สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา.................................. ชื่อผู้รับการประเมิน นายจักรพล สร้อยสิงห์ ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย ลำดับ ตัวช้วี ดั ประเดน็ การพิจารณา ผลการนเิ ทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ข้อเสนอแนะ ที่ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ มาตรฐานที่ 1 ด้านการบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี น 1.1 ความเป็น 1. บริเวณภายในและบริเวณรอบ ๑. สงั เกตตรวจสอบสภาพ ภายในหอ้ งและบรเิ วณรอบ ระเบยี บ ห้องเรียนมคี วามสะอาดปลอดภยั หอ้ งเรียน ๒. โตะ๊ – เก้าอี้ เรยี บรอ้ ยของ 2. การจดั โต๊ะ เก้าอ้ี ของนักเรียนมคี วาม ๓. วสั ดุ อุปกรณใ์ นหอ้ ง ห้องเรยี น ๔. สมั ภาษณ์ เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย สภาพแข็งแรง ๕. สอบถาม ๖. ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ปลอดภยั เหมาะสมกบั วัยของผู้เรียนและ การจดั กิจกรรมการเรยี น ๓. โตะ๊ เกา้ อี้ ของนักเรยี นสะอาด เรียบรอ้ ย ไม่มีรอยขดู ขีด เขียน ๔. โตะ๊ เกา้ อ้ี ของครจู ดั เป็นระเบียบและ สะอาด ๕. การจดั เก็บวสั ดุ อปุ กรณข์ องใช้ประจำ ห้องเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย สวยงาม 1.2 บรรยากาศของ ๑.สัญลักษณ์ของชาติ ศาสนา ๑. สังเกตสภาพจรงิ ทีป่ รากฏ ในห้องเรยี น ห้องเรยี นทเ่ี อื้อ พระมหากษัตริย์ จัดวางอยา่ งเหมาะสม ๒. สัญลกั ษณข์ องชาติ ศาสนา ต่อการเรยี นรู้ ๒. มแี สงสวา่ งเพยี งพอ เหมาะสมต่อการ พระมหากษัตริย์ ๓. ปา้ ยชอื่ นักเรียน ครู เรยี นรู้ ขอ้ ตกลงของห้องเรียน คำขวญั ๓. มปี ้ายช่อื ช้ันเรียน ๔. ตารางเรียน ๕.ป้ายนิเทศ ๔. มีปา้ ยชื่อครปู ระจำชั้น ๖. มุม ผลงานนักเรียน สื่อ แหลง่ เรยี นรู้ในห้องเรยี น ๕. มีปา้ ยสถิติการมาเรียน ๗. นาฬกิ า ปฏทิ ิน ๖. มีปา้ ยสมาชิกช้นั เรียน ๘. สัมภาษณ์ ๙. สอบถาม ๗. มีตารางเรียน ๑๐. ตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน ๘. มปี า้ ยแสดงขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น ๙. มีป้ายนิเทศท่ีเช่ือมโยงกับเหตุการณ์ ปัจจบุ ัน ๑๐. มปี ้าย มมุ แสดงผลงานของนกั เรียน 11. มมี ุมสง่ เสริมการเรยี นรู้ 12. มมี มุ /ชั้น สำหรับวาง แขวน อปุ กรณ์ หรอื ของทใี่ ชจ้ ำเปน็ สำหรบั นกั เรยี น 13. มีป้ายคำขวัญ/คุณธรรม/อัตลกั ษณ์ ของห้องเรยี นหรือโรงเรียน 14. มีส่งิ อำนวยความสะดวกในหอ้ งเรียน เชน่ นาฬกิ า ปฏิทนิ ฯลฯ
๒ ลำดบั ตวั ชี้วัด ประเด็นการพิจารณา ผลการนิเทศ รายงาน/เอกสาร/หลกั ฐาน ขอ้ เสนอแนะ ท่ี ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ๑. สังเกตสภาพจริงท่ีปรากฏ ในห้องเรยี น 15. มีการจดั ตกแตง่ ห้องเรยี น สสี นั ๒. ทีวี /จอรบั สญั ญาณ ๓. สื่อ อปุ กรณ์การเรียนรู้ เหมาะสม สวยงาม ๔. สัมภาษณ์ ๕. สอบถาม 1.3 มสี อื่ และ 1. มสี ื่อ อุปรกรณก์ ารเรยี นรทู้ ส่ี อดคล้อง ๖. ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน เทคโนโลยใี น กับหนว่ ยหรอื แผนการจัดการเรยี นรู้ ๑. โครงสร้างรายวิชาทจ่ี ดั การ เรียนรู้ตามหลกั สูตร การจดั การ 2. มสี ัญญาณ Internet ทส่ี ามารถเช่อื ต่อ สถานศกึ ษากำหนด เรียนรู้ และใช้งานได้ในห้องเรยี น ๒. หน่วยการเรยี นรู้ตาม โครงสร้าง 3. มี TV/จอรบั สัญญาณท่เี ชอื่ มตอ่ รายวชิ า (ตามข้อ ๑) ๓. *แผนการจัดการเรยี นรู้ อุปกรณภ์ ายนอกได้ ตามหนว่ ยการเรยี นรู้ (ข้อ ๒) ๔. *แผนการวัดและ ๔. มีการตดิ ตั้งจอTV / จอรบั สัญญาณท่ี ประเมินผล รายวชิ าตาม (ข้อ ๒) เหมาะสมกับการรับชมของนกั เรียน ๕. *เคร่ืองมือวดั และ ประเมินผล ๕. มีบันทึกการใช้ส่ือในการจดั การเรยี นรู้ ตาม(ข้อ ๓ และข้อ ๔) ๖.*ส่ือการเรยี นรู้ตามแผนการ มาตรฐานท่ี 2 ดา้ นคณุ ภาพครู จดั การเรียนรู้ (ข้อ ๓) ๗.แบบบันทึกการวเิ คราะห์ 2.1 ครูมสี ามารถวาง ๑. วิเคราะห์หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา และสรปุ ข้อมูลของผู้เรยี นที่ รับผิดชอบ(*ผ่านการรับรอง แผนการจดั การ ขนั้ พ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐาน จากผู้บริหารสถานศกึ ษา) เรยี นรู้ทม่ี ี การเรียนรู้และตวั ชีว้ ัดหรือผลการเรยี นรู้ ๑. แผนการจดั การเรียนรู้ ๒. สื่อการเรยี นรู้ตามแผนการ ประสทิ ธิภาพ และวเิ คราะห์ความเชื่อมโยงของหลักสตู ร จดั การเรยี นรู้ ๓. แบบบันทกึ การใช้สื่อการ สถานศึกษา หน่วยการเรยี นรู้ และ เรียนรู้ ๔. บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ๒. วิเคราะห์ผเู้ รียนเพ่อื ให้เข้าใจความ แตกต่างระหว่าง บคุ คลและจดั ทำข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ๓. ออกแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ แสดงถงึ การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ครอบคลมุ ท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และสมรรถนะสำคญั ตามหลักสูตร ๔. เตรียมเลือกการใช้สื่อการเรียนรู้ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีทักษะการ คดิ ๕. ออกแบบการวดั และประเมนิ ผลการ เรียนรู้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องและครอบคลุมกบั มาตรฐานการเรียนรู้ให้ผเู้ รยี นพฒั นาการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2.2 ครูมี ๑. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการ ความสามารถ คิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนำไป ในการจดั การ ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ เรียนรู้ทีเ่ น้น ๒. ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ ผู้เรยี นเปน็ เรยี นรู้ท่เี อ้อื ต่อการเรียนรู้ สำคญั ๓. มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรียนเชิงบวก
๓ ลำดับ ตวั ชว้ี ดั ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการนเิ ทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ขอ้ เสนอแนะ ที่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ๔.ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเปน็ ๕. ผลงาน/ช้นิ งาน/แฟ้มสะสม ระบบและนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น งานของนักเรียน ๕. มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ข้อมลู ๖. เอกสาร/หลักฐานการ สะทอ้ นกลับเพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การ ปรับปรงุ /พัฒนาแผนการ จดั การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ 2.3 ครมู ี ๑. ใช้วธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑. *แผนการวัดและ ความสามารถ ทห่ี ลากหลายเหมาะสมและสอดคล้องกับ ประเมินผลรายวชิ า ในการวดั และ มาตรฐานและตัวชวี้ ัด ๒. เครือ่ งมือวดั และ ประเมนิ ผล ๒. ใช้เครอื่ งมือวดั และประเมินผลที่ ประเมินผล การเรยี นรู้ทมี่ ี หลากหลายเหมาะสม และมคี ณุ ภาพ ๓. แผนการจัดการเรียนรู้ ประสิทธภิ าพ ๓.ดำเนนิ การวัดและประเมนิ ผลครอบคลุม ๔. ผลงาน/ชน้ิ งานของ ทั้งความรู้ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียน ทักษะกระบวนการ และสมรรถนะสำคญั ๕. บนั ทกึ /สรุปผลการประเมิน ตามหลักสูตร นกั เรยี น ๔. นำผลการประเมนิ ของผู้เรียนมาใช้ใน ๖. บนั ทกึ การสอนซ่อมเสริม การพัฒนาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล ๗. อืน่ ๆ (*ให้ผ่านการรับรอง ๕. มีการสรุป รายงานผลการตรวจสอบ จากผู้บริหารสถานศกึ ษา) และประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ 2.4 ครูมีสามารถ ๑. จดั ทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ ๑. เอกสาร/แฟ้มข้อมลู สง่ เสรมิ และ รายวชิ า เพือ่ ใช้ในการสนบั สนุนการเรียนรู้ สารสนเทศนกั เรียนเป็น สนบั สนนุ การ และพฒั นาคุณภาพผู้เรียน รายบคุ คล เรียนรู้ที่มี ๒. ดำเนนิ การตามระบบดแู ลช่วยเหลือ ๒. เอกสารการคัดกรอง ประสทิ ธิภาพ ผู้เรยี น โดยใช้ขอ้ มลู สารสนเทศเกี่ยวกับ นักเรียน ผู้เรยี นรายบุคคลและประสานความ ๓. เอกสาร/หลักฐานทีแ่ สดง รว่ มมอื กบั ผู้มสี ่วนเก่ยี วข้อง เพื่อพัฒนา ถึงการส่งเสริม/ช่วยเหลือ และแก้ปัญหาผู้เรียน นกั เรียนรายบคุ คล ๓. ร่วมปฏิบัตงิ านทางวชิ าการและงานอ่ืน ๔. เอกสาร/หลักฐานทแี่ สดง ๆ ของสถานศกึ ษาเพื่อยกระดบั คุณภาพ ถึงประสานความร่วมมอื กับ การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ผู้เกย่ี วข้องในการดูแล ๔. ประสานความร่วมมือกบั ผู้ปกครอง ชว่ ยเหลอื ผู้เรียน หรอื ผู้เกย่ี วข้องเพอ่ื ร่วมกนั พฒั นาผู้เรียน ๕. อ่ืน ๆ ๕. สรุปและรายงานผลการสง่ เสรมิ และ สนบั สนุนการเรียนรู้ 2.5 ครมู ี ๑. ทำวิจัยในชั้นเรียนทส่ี อดคล้องกับสภาพ ๑. *ผลงานวจิ ัยในชั้นเรยี นใน ความสามารถ ปัญหาการจดั การเรียนรู้หรอื พฒั นาผู้เรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้กิจกรรมที่ การจัดทำวิจัยใน ในช้นั เรียนทรี่ บั ผดิ ชอบอย่างน้อยปีละ ๑ รบั ผิดชอบ ช้นั เรยี นเพ่อื เรอ่ื ง ๒. ผลงานนักเรียนที่เกิดจาก พัฒนาการ ๒. ผลงานวิจัยในช้นั เรยี นมคี ณุ ภาพ งานวจิ ัยในชั้นเรยี น เรยี นรู้ ๓. ให้คำแนะนำ ชแ้ี นะเก่ียวกับการทำวจิ ัย ๓. เอกสาร/หลักฐานท่ีแสดง ในช้นั เรยี นแก่ผู้อ่นื ได้ ถึงการให้คำแนะนำในการทำ ๔. มีการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน วิจัยในชนั้ เรยี นแก่บคุ คลอ่นื
๔ ลำดับ ตวั ชว้ี ดั ประเดน็ การพิจารณา ผลการนเิ ทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ข้อเสนอแนะ ท่ี ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ๔. เอกสาร/หลักฐานแสดง การ เผยแพร่งานวิจัยในช้นั ๕. มีการแก้ปัญหา หรือพฒั นาผู้เรียนโดย เรียน (*ผ่านการรบั รองจาก ผู้บริหารสถานศกึ ษา) การวิจัยในชั้นเรียนอย่างต่อเนอื่ ง ๑. แผนพฒั นารายบคุ คลสู่ ความเป็นเลิศ (EIDP) 2.6 ครูมี ๑. มีแผนพัฒนารายบคุ คลสู่ความเป็นเลิศ ๒. ปฏทิ ินการทำงาน ๓. บนั ทกึ ข้อตกลงเพอื่ พัฒนา ความสามารถ (EIDP) งาน(PA) ๔. เอกสาร หลักฐานการเข้า ในการพัฒนา ๒. มบี ันทึกข้อตกลงเพ่ือพัฒนางาน (PA) ร่วมชมุ ชนการเรียนรู้ทาง ตนเองและ เสนอต่อผู้บริหารสถานศึกษา วิชาชีพ (PLC) วิชาชีพ ๓. ครพู ัฒนาตนเองอย่างเปน็ ระบบและ ๕. อ่นื ๆ ต่อเนื่อง เพ่ือให้ความรู้ ความสามารถ ๑. เอกสารแสดงร้อยละ ของ จำนวนนกั เรยี นมคี ุณภาพตาม ทกั ษะ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การใช้ภาษาไทย ประเดน็ การพิจารณา ๒. ผลการทดสอบสมรรถภาพ และภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร และการ ของนักเรยี น ๓. อ่นื ๆ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั เพือ่ การศึกษา ๑.เอกสารแสดงร้อยละของ จำนวนนกั เรียนมคี ุณภาพ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครู ความรอบรู้ใน ตามประเด็นการพิจารณา ๒. ผลงาน/ช้ินงานจากการ เนอ้ื หาวิชาและวิธีการสอน เรียนรู้ของนักเรียน ๓. ภาพการจดั กจิ กรรมการ ๔. ครูมีส่วนร่วมในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เรียนรู้ ๔. การสงั เกตการจัดกจิ กรรม ทางวชิ าชพี เพือ่ พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ๕. เอกสารอ่นื ๆ ๕. ครนู ำความรู้ ความสามารถ ทกั ษะทีไ่ ด้ - บันทึกผลการจดั การเรียนรู้ - แฟ้มสะสมผลงานของ จากการพฒั นาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน นักเรียน การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ และการ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น มาตรฐานที่ 3 ด้านคณุ ภาพผเู้ รยี น 3.1 นกั เรยี นมี รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนที่มีคุณภาพ สขุ ภาพกาย ตามประเดน็ การพิจารณา สขุ ภาพจิต และ สขุ นสิ ยั ท่ีดี 3.2 นกั เรียนเรียนรู้ รอ้ ยละของจำนวนนกั เรียนทีม่ ีคณุ ภาพ อย่างมีความสขุ ตามประเด็นการพจิ ารณา
๕ ลำดับ ตัวชี้วดั ประเด็นการพิจารณา ผลการนิเทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ขอ้ เสนอแนะ ที่ ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ตั ิ 3.3 ความสามารถ ร้อยละของจำนวนนักเรยี นท่ีมีผลการ ๑. ผลการประเมนิ การอ่าน ในการอา่ นตาม ประเมนิ การอ่านไดร้ ะดับดีข้นึ ไป ของนกั เรียน เกณฑข์ องแต่ละ ๒. สภาพจริงเชิงประจักษ์ของ ระดับชัน้ นักเรียนในห้องเรยี นท่ปี ระเมนิ ความสามารถในการอ่าน ๓. สรุปผลการวดั ความสามารถในการอา่ น 3.4 ความสามารถใน ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทม่ี ผี ลการ ๑. แบบประเมินการเขียนของ การเขยี นตาม ประเมนิ การเขยี นได้ระดบั ดขี ึ้นไป นกั เรยี น เกณฑข์ องแต่ละ ๒. สภาพจริงเชิงประจกั ษ์ของ ระดบั ช้ัน นักเรียนในห้องเรียนท่ปี ระเมิน ความสามารถในการเขียน ๓. สรุปผลการวดั ความสามารถในการเขียน 3.5 ความสามารถใน รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่มีผ่านการ ๑. ผลการประเมนิ การสื่อสาร การส่อื สาร ประเมินการสอื่ สารภาษาไทยตามจุดเน้น ภาษาไทย ทัง้ การฟัง การพดู ภาษาไทย ของหลักสตู รในแต่ละระดับชัน้ การอ่าน และการเขียนของ ตามเกณฑ์ของ นักเรยี นในห้องเรยี น แต่ละระดับชัน้ ๒. การตรวจสอบเอกสาร บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม การเรียนรู้ ๓. สภาพจริงเชงิ ประจักษ์ของ นกั เรียนในห้องเรยี นทีป่ ระเมิน ความสามารถในการสือ่ สาร ๔. ผลงาน/ชิ้นงานของ นกั เรียนจากการจดั การเรียนรู้ 3.6 ความสามารถใน รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นทผ่ี ่านการ ๑. ผลการประเมินการส่ือสาร การส่ือสาร ประเมินการส่ือสารภาษาองั กฤษตาม ภาษาอังกฤษ ทั้งการฟัง การ ภาษาองั กฤษ มาตรฐาน การเรยี นรู้และตัวชี้วัดช้ันปีของ พดู การอา่ นและการเขียนของ ตามเกณฑ์ของ หลักสูตร นกั เรยี นในห้องเรยี น แต่ละระดบั ชัน้ ๒. การตรวจสอบเอกสาร บันทึกผลหลังการจัดกจิ กรรม การเรียนรู้ ๓. สภาพจรงิ เชงิ ประจักษ์ของ นกั เรียนในห้องเรยี นท่ปี ระเมนิ ความสามารถในการสือ่ สาร ๔. ผลงาน/ช้ินงานของ นกั เรยี นจากการจดั การเรียนรู้ 3.7 ความสามารถใน ร้อยละของจำนวนนักเรยี นทผ่ี ่านเกณฑ์ ๑. ผลการประเมนิ การคดิ การคดิ คำนวณ การประเมินการคิดคำนวณตามมาตรฐาน คำนวณของนกั เรียนใน ตามเกณฑ์ของ การเรียนรู้และตวั ชีว้ ดั ช้นั ปีของหลักสตู ร ห้องเรยี นตามมาตรฐานการ แต่ละระดบั ช้ัน
๖ ลำดับ ตัวชวี้ ัด ประเดน็ การพิจารณา ผลการนเิ ทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ข้อเสนอแนะ ที่ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ เรียนรู้และตัวชวี้ ดั ของ หลักสตู ร 3.8 ความสามารถใน รอ้ ยละของจำนวนนกั เรยี นที่ผ่านเกณฑ์ ๒. การตรวจสอบเอกสาร เช่น - บันทึกผลหลงั การจัดการ การคิดวิเคราะห์ การประเมนิ การคดิ วเิ คราะห์ คิด เรยี นรู้ - ผลงาน/ช้นิ งานของนักเรียน คดิ วิจารณญาณ วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปล่ยี น ความ ท่เี ป็นผลงานจากการจัดการ เรียนรู้ อภิปราย คดิ เห็นและแก้ปญั หา ตามจดุ เน้นของ ๓. สภาพจริงเชงิ ประจักษ์ของ นกั เรียนรายบคุ คลในห้องเรียน แลกเปลย่ี น หลักสตู ร ที่มีความสามารถในการคิด คำนวณของนกั เรยี นตาม ความคิดเห็น มาตรฐานการ เรียนรู้และตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปีของ และแก้ปญั หา หลกั สตู ร 3.9 ความสามารถใน ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นท่ผี ่านเกณฑ์ ๑. ผลการประเมิน การใช้ การประเมนิ ความสามารถในการใช้ ความสามารถของนกั เรยี นใน เทคโนโลยี เทคโนโลยแี ละการสื่อสารได้อย่าง การคดิ วเิ คราะห์ เหมาะสม ปลอดภยั มีประสทิ ธภิ าพ ตาม คดิ วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และ แก้ปญั หาตามจดุ เน้นของ หลักสูตร ๒. การตรวจสอบเอกสาร เช่น - บนั ทึกผลหลังการจัดการ เรยี นรู้ - ผลงาน/ชน้ิ งาน ของนกั เรียน ทเี่ ป็นผลงานจากการจดั การ เรียนรู้ ๓. สภาพจริงเชิงประจกั ษ์ของ นักเรียนในห้องเรยี นทป่ี ระเมิน ความสามารถของนักเรียนเป็น รายบุคคลมคี วามสามารถใน การ คิดวเิ คราะห์ คิด วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความ คิดเหน็ และแก้ปัญหาตาม จดุ เน้นของหลักสูตร ๑. ผลการประเมิน ความสามารถของนกั เรยี นใน ห้องเรียนในด้านความสามารถ ในการใช้เทคโนโลยแี ละการ สื่อสารได้อย่างเหมาะสม
๗ ลำดับ ตัวช้วี ัด ประเด็นการพิจารณา ผลการนิเทศ รายงาน/เอกสาร/หลกั ฐาน ขอ้ เสนอแนะ ที่ ปฏิบัติ ไม่ปฏบิ ัติ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัดของ ปลอดภยั มปี ระสิทธภิ าพตาม หลกั สตู ร มาตรฐานการเรียนรู้และ ตวั ชีว้ ดั ชน้ั ปีของหลกั สตู ร ๒. การตรวจสอบเอกสาร เช่น - บันทึกผลหลังการจัดการ เรยี นรู้ - ผลงาน/ช้ินงาน ของ นกั เรียนท่ีเป็นผลงานจากการ จดั การเรียนรู้ ๓. สภาพจรงิ เชิงประจกั ษ์ของ นกั เรียนรายบุคคลในห้องเรียน ท่ีนกั เรียนมีความสามารถใน การใช้ เทคโนโลยีและการสอ่ื สารได้ อย่างเหมาะสม ปลอดภยั มี ประสทิ ธิภาพ ตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั ช้นั ปี ของหลักสูตร 3.10 ผลสมั ฤทธ์ิ รอ้ ยละของจำนวนนักเรยี นที่มผี ลสัมฤทธ์ิ จำนวนนกั เรียนทมี่ ีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียน ทางการเรยี นระดบั ๓ ขึน้ ไป ใน ๘ กลุ่ม ทางการเรียนระดับ ๓ ขึ้นไป จากการวดั ผล สาระการเรยี นรู้ (***จำนวนนักเรยี นร้อย ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปลายปีของแต่ ละ ๗๐ ข้ึนไป มีพฒั นาการด้านผลสมั ฤทธ์ิ จากการ ละชัน้ ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ วดั ผลปลายปีของแต่ละชน้ั ใน *** หมายเหตุ /ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา) ปีการศึกษาท่ีผ่านมาใน ปพ.๕ ในระดับชั้น ป.๑ (หรือ ใช้ผลสัมฤทธทิ์ างการ ใช้การทดสอบ เรยี น การอา่ น การ จากการทดสอบในระดับชาติ เขยี นของ สทศ. ดังน้ี ระดับชั้น ป.๓ - ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ใช้ ใช้ผลกาทดสอบ ผลการทดสอบ NT ระดบั ชาติ (NT), - ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ และ ระดบั ชนั้ ป.๖, ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ และชั้น ม.๓, ม.๖ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ ใช้ผลการ ใช้ค่าเฉล่ยี ผล ทดสอบ O-NET การทดสอบ - ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ใช้ ระดับชาติ การทดสอบการอ่าน การ (O-NET) เขียนของสำนกั ทดสอบทาง การศกึ ษา
๘ ลำดบั ตัวชวี้ ัด ประเด็นการพจิ ารณา ผลการนเิ ทศ รายงาน/เอกสาร/หลักฐาน ข้อเสนอแนะ ที่ รอ้ ยละของจำนวนนักเรียนทมี่ คี ณุ ภาพ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ๑. เอกสารแสดงร้อยละ ของ ตามประเด็นการพจิ ารณา จำนวนนกั เรียนมคี ุณภาพตาม 3.11 นักเรียนมี ประเด็นการพจิ ารณา ๒. แบบรายงานการพฒั นา คณุ ลักษณะ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓. แบบ ปพ.๕ (ประจำชัน้ ) อนั พึงประสงค์ ทดี่ ี ลงชื่อ ผู้รับการประเมนิ (นายจกั รพล สร้อยสิงห์) ตำแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย คณะกรรมการประเมนิ ห้องเรียนคุณภาพสโู่ รงเรียนประทับใจ ระดบั เครอื ข่ายสถานศกึ ษา ลงช่ือ ประธานคณะกรรมการ (นายสเุ มธ มัดธนู ) ตำแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพิเศษ สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 1 ลงชอ่ื กรรมการ ลงชอื่ กรรมการและเลขานกุ าร ( นายนราธปิ ชาตรี ) ( นางบญุ ฟา้ ล้ิมวัธนา ) ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านแขม(ธรรมเสนานสุ รณ)์ ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบ้านวงั ออ้ (ยอดสังขว์ ิทยา)
๙ ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นตวั ผรู้ บั การประเมนิ ๑. ชื่อ – ชื่อสกุล นายจักรพล สร้อยสงิ ห์ ๒. ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย วิทยฐานะ - โรงเรียน บ้านน้อยยางนอ้ ย(พรหมพิทยา) อำเภอ เขือ่ งใน จงั หวดั อุบลราชธานี สงั กัด สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอุบลราชธานี เขต ๑ ๓. วนั /เดอื น/ปีเกิด ๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ อายุ ๒๖ ปี ๔. วุฒิการศึกษา วฒุ กิ ารศกึ ษา วิชาเอก ปีท่ีสำเรจ็ การศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประกาศนียบตั รบัณฑิต วชิ าชีพครู ๒๕๖๒ ม.ราชภัฏอบุ ลราชธานี ปรญิ ญาตรี (วท.บ.) คณิตศาสตร์ ๒๕๖๐ ม.ราชภัฏอบุ ลราชธานี ๕. วิชาที่สอน ระดับช้ัน จำนวนชัว่ โมงสอน/สปั ดาห์ ป.๖ ๔ ท่ี วชิ า ป.๕ ๔ 1 ค๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ป.๔ ๔ 2 ค๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ป.๔ ๑ 3 ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ป.๔ ๑ 4 ก๑๔๑๐๒ กจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี ป.๔ ๑ 5 ก๑๔๑๐๓ กจิ กรรมชุมนมุ ป.๔ ๑ ๖ ก๑๔๑๐๔ กิจกรรมแนะแนว ป.๔ ๑ ๗ ลดเวลาเรยี น เพมิ่ เวลารู้ ๘ โฮมรูม ๑๗ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ รวม
๑๐ ตอนท่ี ๒ ขอ้ มลู ห้องเรยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ห้องเรียน : ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรยี น : โรงเรียนบ้านยางนอ้ ย(พรหมพิทยา) ศูนย์เรียนรวมสมเด็จพระมหาธรี าจารย์ สำนกั งานเขต : สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต ๑ สังกัด : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถานทห่ี อ้ งเรียน : อาคารเรียนประถมศึกษา ชัน้ ๒ โรงเรยี นบ้านยางน้อย(พรหมพทิ ยา) จำนวนนักเรยี น : นักเรยี น จำนวน ๒๓ คน แบ่งเปน็ ชาย ๑๒ คน หญิง ๑๑ คน หวั หนา้ ช้นั เรยี น : เด็กหญงิ อดุลยา เส้นเกตุ รองหวั หน้าช้ันเรียน : เด็กชายจริ ายุ เมฆมล ครผู ู้สอน : ๑. นายจกั รพล สรอ้ ยสิงห์ ครูประจำช้ัน สอนวชิ าคณิตศาสตร/์ แนะแนว ๒. นางอรุณวรรณ ไชยศาสตร์ ครปู ระจำช้นั สอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ๓. นางสาวภัทรสดุ า ประเสริฐศรี ครผู ูส้ อน วชิ าภาษาไทย ๔. นางสาวจุรรี ัตน์ เจรญิ ทศั น์ ครผู ู้สอน วิชาภาษาอังกฤษ/วิชาศิลปะ ๕. นางสาววารณุ ี เศกิ ศริ ิ ครผู ู้สอน วชิ าเทคโนโลยี/ประวัติศาสตร์ ๖. นางสาวภรณ์นภา นามการศรี ครผู ู้สอน วิชาสขุ ศึกษาฯ/วิชาสังคมศึกษา
๑๑ ตอนท่ี ๓ ห้องเรยี นคณุ ภาพตามประเดน็ พจิ ารณา มาตรฐานที่ ๑ ดา้ นการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน เอกสาร/หลกั ฐาน ๑.๑ ความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของหอ้ งเรียน ประเด็นพจิ ารณา ๑) บรเิ วณภายในและ บริเวณรอบห้องเรียนมี ความสะอาดปลอดภัย ๒) การจดั โต๊ะ เกา้ อี้ ของนักเรียนมีความเป็น ระเบียบเรยี บร้อย สภาพแข็งแรง ปลอดภยั เหมาะสมกบั วยั ของ ผ้เู รยี นและการจดั กจิ กรรมการเรียน ๓) โต๊ะ เก้าอี้ ของ นกั เรยี นสะอาด เรียบรอ้ ย ไมม่ ีรอยขูดขีด เขยี น ๔) โตะ๊ เก้าอ้ี ของครู จัดเป็นระเบียบและ สะอาด
๑๒ ประเดน็ พิจารณา เอกสาร/หลักฐาน ๕) การจดั เก็บวสั ดุ อปุ กรณข์ องใช้ประจำ หอ้ งเป็นระเบยี บ เรยี บร้อย สวยงาม ๑.๒ บรรยากาศของหอ้ งเรียนทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้ เอกสาร/หลักฐาน ประเดน็ พิจารณา ๑) สัญลักษณข์ องชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ จดั วางอยา่ งเหมาะสม ๒) มแี สงสว่างเพียงพอ เหมาะสมต่อการเรียนรู้
๑๓ ประเดน็ พิจารณา เอกสาร/หลกั ฐาน ๓) มีปา้ ยชอ่ื ช้นั เรยี น ๔) มีปา้ ยชื่อครปู ระจำ ช้นั ๕) มปี ้ายสถิตกิ ารมา เรยี น ๖) มปี ้ายสมาชิกชนั้ เรียน
๑๔ ประเดน็ พจิ ารณา เอกสาร/หลักฐาน ๗) มตี ารางเรียน ๘) มปี ้ายแสดง ขอ้ ตกลงของห้องเรียน ๙) มปี ้ายนเิ ทศที่ เช่อื มโยงกับเหตกุ ารณ์ ปัจจุบนั ๑๐) มีปา้ ย มุม แสดง ผลงานของนกั เรยี น
๑๕ ประเดน็ พจิ ารณา เอกสาร/หลกั ฐาน 11) มีมุมส่งเสรมิ การ เรียนรู้ 12) มมี มุ /ชัน้ สำหรบั วาง แขวน อปุ กรณ์ หรอื ของทีใ่ ช้จำเปน็ สำหรับนกั เรียน 13) มีปา้ ยคำขวัญ/ คณุ ธรรม/อัตลกั ษณ์ ของห้องเรียนหรอื โรงเรยี น 14) มสี ่ิงอำนวยความ สะดวกในหอ้ งเรียน เชน่ นาฬิกา ปฏทิ นิ ฯลฯ
๑๖ ประเด็นพจิ ารณา เอกสาร/หลักฐาน 15) มีการจดั ตกแต่ง ห้องเรียน สสี นั เหมาะสม สวยงาม ๑.๓ มีสือ่ และเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู้ เอกสาร/หลักฐาน ประเดน็ พจิ ารณา 1) มีส่ือ อปุ รกรณก์ าร เรยี นรู้ทสี่ อดคลอ้ งกบั หนว่ ยหรอื แผนการ จดั การเรยี นรู้
๑๗ ประเด็นพิจารณา เอกสาร/หลกั ฐาน 2) มสี ัญญาณ Internet ที่สามารถเช่ือตอ่ และใช้ งานไดใ้ นหอ้ งเรยี น 3) มี TV/จอรับสญั ญาณ ท่เี ชือ่ มต่ออปุ กรณ์ ภายนอกได้ ๔) มีการตดิ ตง้ั จอTV / จอรับสัญญาณท่ี เหมาะสมกบั การรับชม ของนักเรียน ๕) มบี นั ทึกการใช้สอื่ ใน การจัดการเรยี นรู้
๑๘ มาตรฐานที่ ๒ ดา้ นคณุ ภาพครู ๒.๑ ครูมีสามารถวางแผนการจัดการเรียนรู้ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ ประเด็นพจิ ารณา เอกสาร/หลักฐาน ๑. วิเคราะห์หลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มาตรฐานการ เรียนรู้และตัวช้ีวัดหรือ ผลการเรียนรู้ และ วเิ คราะห์ความเชอ่ื มโยง ของหลกั สูตร สถานศึกษา หน่วยการ เรียนรู้ และแผนการ จดั การเรยี นรู้ ๒. วิเคราะห์ผู้เรียน เพ่อื ให้เข้าใจความ แตกต่างระหว่าง บุคคล และจดั ทำข้อมลู สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ๓. ออกแบบการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี แสดงถึงการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ครอบคลมุ ทง้ั ด้าน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และสมรรถนะ สำคัญตามหลักสตู ร ๔. เตรยี มเลือกการใช้ส่ือ การเรียนรู้ เทคโนโลยี แ ล ะ แ ห ล่ ง เ ร ี ย น รู้ ท่ี สอดคล้องกับกิจกรรม การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี ทกั ษะการคดิ ๕. ออกแบบการวดั และ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้วยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสม และ สอดคล้องและ ครอบคลุมกับมาตรฐาน การเรยี นรู้ให้ผู้เรียน พัฒนาการเรียนรู้อย่าง ต่อเนอื่ ง
๑๙ ๒.๒ ครูมคี วามสามารถในการจดั การเรยี นรูท้ ่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ประเด็นพิจารณา เอกสาร/หลักฐาน ๑. จัดกจิ กรรมการ เรียนรู้ผา่ นกระบวนการ คดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และ สามารถนำไป ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ ๒. ใช้ส่อื เทคโนโลยี สารสนเทศและแหล่ง เรยี นรู้ที่เอือ้ ต่อการ เรียนรู้ ๓. มกี ารบรหิ ารจัดการ ช้ันเรยี นเชิงบวก ๔.ตรวจสอบและ ประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบและนำผลมา พฒั นาผู้เรยี น ๕. มีการแลกเปลยี่ น เรียนรู้และให้ข้อมูล สะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นา และปรบั ปรุงการจดั การ เรียนรู้ ข้าพเจ้าจดั การเรียนรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยเนน้ การให้ผ้เู รียนได้ลงมือปฏบิ ัติ ท้งั แบบกิจกรรมกล่มุ กจิ กรรมคู่ และกิจกรรมเดี่ยว มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรซู้ ึ่งกนั และกัน มกี ารใชส้ อ่ื เทคโนโลยีมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน เพอื่ เพิ่มประสิทธภิ าพการเรยี นรู้ของผู้เรยี น ให้ดยี ่ิงดี มีการบนั ทึกร่องรอยการจัดการเรียนการสอน เพ่ือวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเป็นรายบุคคล และ เพือ่ ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แก่ผู้เรียน ข้าพเจ้าเข้าร่วมประชมุ กับผู้บริหาร คณะครทู ุก ๆ ครัง้ เพอ่ื ปรกึ ษาหารอื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เพ่อื พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิทด่ี ีย่ิงดี และเพ่อื การนำข้อมูลมาออกแบบ ปรบั เปล่ยี นการจัดการ เรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั ปัญหาท่ีพบ และแกป้ ัญหาผูเ้ รยี นทต่ี รงจุดมากยิ่งข้นึ
๒๐ ๒.๓ ครูมีความสามารถในการวัดและประเมินผลการเรยี นรทู้ ม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ ประเดน็ พิจารณา เอกสาร/หลักฐาน ๑. ใช้วธิ ีการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ท่ี หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับ มาตรฐานและตวั ชี้วัด ๒. ใช้เครือ่ งมอื วดั และ ประเมินผลที่ หลากหลายเหมาะสม และมคี ณุ ภาพ ๓.ดำเนินการวัดและ ประเมินผลครอบคลุม ท้ังความรู้ คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ ทักษะ กระบวนการ และ สมรรถนะสำคญั ตาม หลกั สูตร ๔. นำผลการประเมิน ของผู้เรยี นมาใช้ในการ พฒั นาผู้เรียนเป็น รายบุคคล ๕. มีการสรปุ รายงาน ผลการตรวจสอบ และ ประเมนิ ผู้เรียนอย่าง เปน็ ระบบ ข้าพเจา้ ใชว้ ิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นท่หี ลากหลาย เช่น ประเมินตาใสภาพจรงิ ประเมนิ จากผลงานของนักเรยี นรายบคุ คล ประเมนิ การนำเสนอผลงานจากการทำกจิ กรรมกลมุ่ ประเมินจากกระบวนการคดิ การแกป้ ัญหาของผู้เรยี น เป็นตน้ มีเครื่องมือการวดั และประเมนิ ผลท่ี ชดั เจนสอดคลอ้ งกับเน้อื หาที่สอนและสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตัวชี้วดั ในรายวิชาทสี่ อน และนำผล ของการประเมนิ มาเปน็ ขอ้ มูลในการพัฒนาผู้เรยี นแตล่ ะบุคคล นอกจากนข้ี ้าพเจ้าได้มีการวัด ทกั ษะความสามารถในดา้ นการคิดคำนวณของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ - ๖ เพื่อเป็นขอ้ มูล พืน้ ฐานในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตอ่ ไป
๒๑ ๒.๔ ครูมีสามารถส่งเสรมิ และสนบั สนุนการเรียนรทู้ ี่มปี ระสิทธิภาพ ประเด็นพิจารณา เอกสาร/หลกั ฐาน ๑. จดั ทำข้อมูล สารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชา เพ่อื ใช้ใน การสนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาคณุ ภาพ ผู้เรียน ๒. ดำเนินการตามระบบ ดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรยี น โดยใช้ขอ้ มูลสารสนเทศ เกยี่ วกับผู้เรยี น รายบคุ คลและประสาน ความร่วมมือกับผู้มสี ่วน เกีย่ วขอ้ ง เพือ่ พัฒนา และแก้ปญั หาผู้เรียน ขา้ พเจ้ามกี ารจดั ทำข้อมูลสารสนเทศนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ เปน็ รายบคุ คล มีการทดสอบวัดแววความสามารถนกั เรยี นทุกคน มกี ารออกเยี่ยมบ้านนักเรียนครบ 100% ในภาคเรยี น ๑/๒๕๖๕ เพื่อเกบ็ ไว้เป็นข้อมูลพน้ื ฐานดา้ นครอบครัว ฐานะ สภาพความเป็นอยู่ สภาพแวดล้อม เพื่อใชใ้ นการคัดกรองนักเรียนยากจน และเพอื่ เป็นข้อมลู ในการพัฒนานกั เรียนใน แต่ละบุคคลตอ่ ไป
๒๒ ประเด็นพิจารณา เอกสาร/หลักฐาน ๓. ร่วมปฏบิ ัตงิ านทาง วิชาการและงานอืน่ ๆ ของสถานศึกษาเพือ่ ยกระดับคณุ ภาพการจดั การศึกษาของ สถานศึกษา ข้าพเจา้ ได้เปน็ มอบหมายจากทางโรงเรยี นให้รบั ผดิ งานวชิ าการฝา่ ยประถมศกึ ษา มีการจดั สอนแทน รบั ผิดชอบ ประสานงานการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ เก่ียวขอ้ งกับนกั เรยี น ระดบั ประถมศึกษา สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนไดร้ ่วมกันทำกจิ กรรมต่าง ๆ ร่วมกัน รบั ผดิ ชอบงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา รับผดิ ชอบกิจกรรมการประกวดแขง่ ทกั ษะทางวชิ าการ รับผิดชอบ ระบบวดั แววความสามารถของนกั เรยี น เป็นคณะทำงานพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา เก่ียวกับ หลักสตู รเชอ่ื มโยงฯ (เอกสารแนบในภาคผนวก) ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๑ หลักสตู รเชอ่ื มโยงฯระดบั ดีมาก จากสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั อบุ ลราชธานี ๔. ประสานความ ร่วมมอื กับผู้ปกครอง หรอื ผู้เก่ยี วข้องเพ่อื ร่วมกันพัฒนาผู้เรียน ๕. สรุปและรายงานผล ข้าพเจ้ามกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกบั ผปู้ กครองผา่ นชอ่ งทางแอพพลเิ คชนั่ ไลน์ (Line) และเฟสบกุ๊ การส่งเสรมิ และ (Facebook) เพอื่ แลกเปลยี่ นขอ้ มลู พฤตกิ รรม ปญั หาของผเู้ รียนระหว่างทโ่ี รงเรยี นกบั ที่บ้าน สนบั สนนุ การเรียนรู้ เพือ่ หาแนวทางในการแก้แก้ไขปัญหานกั เรียนอย่างใกลช้ ิด และส่งเสริมนกั เรียนอย่างเป็นระบบ ขา้ พเจา้ มกี ารสรปุ ผลการดำเนินงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเป็นระยะ ๆ เชน่ การจัดสอนแทนมกี าร บันทึกขอ้ ความรายงานผลการจดั สอนแทนเป็นเดือน การสรุปผลการดำเนินงานโครงการหรอื กิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
๒๓ ๒.๕ ครูมคี วามสามารถการจดั ทำวิจัยในชั้นเรียนเพอ่ื พัฒนาการเรยี นรู้ ประเด็นพจิ ารณา เอกสาร/หลกั ฐาน ๑. ทำวิจยั ในชน้ั เรียนท่ี สอดคล้องกบั สภาพ ปัญหาการจัดการเรยี นรู้ หรือพฒั นาผู้เรียนในช้นั เรยี นทีร่ ับผดิ ชอบอย่าง น้อยปีละ ๑ เร่อื ง ๒. ผลงานวิจัยในชน้ั เรียนมีคณุ ภาพ ๓. ให้คำแนะนำ ชี้แนะ เกีย่ วกับการทำวิจยั ในช้ันเรยี นแก่ผู้อนื่ ได้ ๔. มกี ารเผยแพร่ ผลงานวจิ ยั ในชัน้ เรยี น ๕. มกี ารแก้ปญั หา หรือ พฒั นาผู้เรียนโดยการ วจิ ัยในชนั้ เรียนอย่าง ตอ่ เนื่อง ข้าพเจา้ มกี ารจดั ทำวจิ ัยในชัน้ เรียนในภาคเรียนทผ่ี ่านมา วจิ ยั ในชน้ั เรียนมีความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ ตกลงเพ่อื พัฒนางาน (PA) ชื่อการวจิ ยั ในชน้ั เรียน ว่า “การพฒั นาแบบฝึกทักษะกระบวนคิด คำนวณทางคณติ ศาสตร์ ร่วมกบั เทคนคิ การสอนแบบ Active Learning” ซ่ึงการวิจัยในครั้งนี้ สามารถแกป้ ัญหานกั เรยี นได้เปน็ อยา่ งดี มกี ารเผยแพรน่ ำเสนองานวจิ ยั ใหค้ ณะครูภายในโรงเรียน ได้รบั ฟงั และเผยแพร่ผา่ น QR-Code สว่ นในภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ น้ี ข้าพเจา้ ไดม้ ี การพฒั นาวิจัยในชน้ั เรยี นเรื่องนเ้ี พม่ิ เติมเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพมากข้ึน แตเ่ ปลี่ยนกลุ่มเป้าหมาย จากนกั เรยี นชน้ั ป.๖ เปน็ นักเรียนช้นั ป.๔ ซึง่ ยังคงใชแ้ บบฝึกหดั ทักษะเหมอื นเดิม แต่เนอื้ เปลี่ยนไป เฉพาะปัญหาท่เี กิดกบั นักเรียนชั้น ป.๔ คือการคณู เลขไมไ่ ด้ ไมแ่ ม่นยำ สาเหตมุ าจาก ทอ่ งสตู รคูณไม่ได้ ขา้ พเจา้ จึงไดจ้ ดั ทำแบบฝึกหัด เรอื่ ง การคณู จำนวนนบั ที่ตัวคณู เปน็ เลขโดด โดย วิธกี ารลากเสน้ ตัด ซึ่งขณะน้ีอยรู่ ะหวา่ งการดำเนินการ ตัวอย่างดังนี้
๒๔ ๒.๖ ครูมีความสามารถในการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ประเด็นพจิ ารณา เอกสาร/หลักฐาน ๑. มแี ผนพัฒนา ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ข้าพเจ้ามีการวางแผนพัฒนาตนเองไวห้ ลากหลายดา้ น รายบุคคลสู่ความเป็น ท้ังด้านการพฒั นาตนเอง พัฒนาผู้เรยี น และพฒั นาสถานศึกษา ดังภาพ เลศิ (EIDP) ๒. มีบนั ทกึ ข้อตกลงเพ่อื พฒั นางาน (PA) เสนอ ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ๓. ครูพัฒนาตนเอง ขา้ พเจา้ หม่ันศึกษาและพฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ และรว่ มกิจกรรมการฝึกอบรมหรือกิจกรรมการ แลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ับเพอ่ื นครทู ง้ั ในและนอกโรงเรยี นอย่างต่อเนอ่ื ง อย่างเปน็ ระบบและ ต่อเน่อื ง เพื่อให้ความรู้ ความสามารถทกั ษะ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การ ใช้ภาษาไทยและ ภาษาองั กฤษเพ่อื การ ส่อื สาร และการใช้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอ่ื การศึกษาสมรรถนะทาง วิชาชีพครู ความรอบรู้ ในเนือ้ หาวชิ าและวธิ กี าร สอน
๒๕ ประเดน็ พจิ ารณา เอกสาร/หลักฐาน ๔. ครมู สี ่วนร่วมในการ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ทาง วชิ าชพี เพ่อื พฒั นาการ จัดการเรียนรู้ ๕. ครูนำความรู้ ความสามารถ ทกั ษะที่ ไดจ้ ากการพฒั นาตนเอง และวชิ าชพี มาใช้ในการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการพฒั นาคุณภาพ ผู้เรียน ขา้ พเจ้าแลกเปลี่ยนเรียนรู้และหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมกันกับครู ผู้บริหาร ผปู้ กครอง เพอ่ื นร่วมวชิ าชีพ และนำองคค์ วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ มาพัฒนาการจดั กจิ กรรมการ เรยี นการสอน พฒั นางานท่ไี ด้รบั มอบหมาย และพัฒนาโรงเรยี น เพื่อเปา้ หมายในพัฒนาคณุ ภาพ ของผู้เรยี น
๒๖ มาตรฐานท่ี ๓ ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น ๓.๑ นักเรยี นมสี ุขภาพกายสขุ ภาพจติ และสุขนสิ ยั ที่ดี ๑) แผนภมู แิ สดงภาวะโภชนาการของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ 20 ทว้ ม, 16 จานวน ันกเ ีรยน 15 10 5 ผอม, 0 สมส่วน, 2 เริม่ อว้ น, 3 อว้ น, 2 0 จากแผนภมู ิ พบว่า นักเรียนทุกคนไม่ขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการของนักเรยี นสว่ นใหญ่ คอื ท้วน จำนวน ๑๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๙.๕๗ นักเรยี นทสี่ ว่ น มีจำนวน ๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘.๖๙ ส่วนนักเรียนท่ี อยู่ในภาวะเร่ิมอว้ น และอ้วน จำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๗๔ ซึ่งนักเรียนกลุม่ นี้ไดร้ ับคำแนะนำจากครู ประจำช้ันในการรบั ประทานอาหาร และการออกกำลังกายเปน็ ระยะ ๆ เพ่ือใหม้ สี ุขภาวะทางโภชนการทีด่ ขี นึ้ ๒) การทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ปานกลาง, 10 10 จานวน ันกเ ีรยน 8 ด,ี 4 ดมี าก, 4 ต่า, 5 6 4 2 ต่ามาก, 0 0 จากแผนภูมิ พบวา่ นกั เรียนสว่ นใหญม่ สี มรรถภาพทางกาย อยใู่ นระดบั ปานกลาง จำนวน 10 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๓.๔๘ มีนักเรยี นทม่ี สี มรรถภาพที่ดีและดีมาก จำนวน ๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๔.๗๘ ส่วนอกี ๕ คน ท่ีอยู่ในระดบั ต่ำ ครูประจำชั้นและครูผูส้ อนวิชาสุขศกึ ษาและพลศึกษาได้ให้คำแนะนำในเบื้องต้นแลว้
๒๗ ๓.๒ นกั เรยี นเรยี นรู้อย่างมีความสุข ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน เล่น หรือขณะที่อยู่ โรงเรียน พบวา่ นกั เรยี นทกุ คนมีความสุขในการเรยี นรู้ ในการร่วมทำกจิ กรรมกบั เพอื่ น ๆ หรอื คนอื่น ๆ มคี วาม ภาคภมู ใิ จกบั ผลงานของตนเอง และคอยยนิ ดกี บั เพือ่ น ๆ ทไี่ ด้รับรางวลั ดังภาพต่อไปน้ี
๒๘ ๓.๓ ความสามารถในการอ่านตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชั้น แผนการผลการคัดกรองการอ่านของนักเรียนช้ัน ป.๔ ภาคเรียนท่ี ๑/ ๒๕๖๕ ควรปรงั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 13 13 8 9 02 01 การอา่ นออกเสียง การอา่ นรเู้ รอื่ ง จากแผนภูมิ พบว่า การคัดกรองการอา่ นของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ในภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๕ ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่ ๑ การอ่านออกเสียง มีนักเรียนที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป จำนวน ๒๑ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๑.๓๐ และส่วนท่ี ๒ การอา่ นรเู้ รื่อง มนี ักเรยี นทีม่ ีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีขึ้นไป จำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๔๘ หลังจากประเมินผลการคัดกรองเรียบร้อยแล้วครูประจำชั้น และครูที่สอนในรายวิชาภาษาไทยได้ร่วมกนั ประชุมวางแผนเพื่อพัฒนาทกั ษะการอ่านของนักเรียนที่มผี ลการ คัดกรองอยใู่ นระดับพอใช้ ให้มีความสามารถในการอา่ นทีด่ ีขึ้นกว่าเดิม ๓.๔ ความสามารถในการเขียนตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น แผนการผลการคัดกรองการเขียนของนักเรียนช้ัน ป.๔ ภาคเรียนท่ี ๑/ ๒๕๖๕ ควรปรงั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 7 10 6 0 การเขียน จากแผนภมู ิ พบวา่ การคดั กรองการเขยี นของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ในภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๕ มีนักเรียนที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดขี ึ้นไป จำนวน ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๕๗ หลังจากประเมนิ ผล การคดั กรองเรียบร้อยแล้วครูประจำชัน้ และครทู ี่สอนในรายวิชาภาษาไทยได้รว่ มกันประชุมวางแผนเพ่ือพัฒนา ทักษะการเขียนของนักเรยี นทม่ี ผี ลการคดั กรองอย่ใู นระดับพอใช้ ใหม้ ีความสามารถในการเขยี นทด่ี ีข้นึ กว่าเดิม
๒๙ ๓.๕ ความสามารถในการสือ่ สารภาษาไทยตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชัน้ ๑) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ (ขอ้ มูลตอน ป.๓) เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 จำนวน (คน) 5 0 2 1 00 - คิดเป็นร้อยละ ๖๒.๕๐ - ๒๕.๐๐ ๑๒.๕๐ - - รวม ๘ คน (ขอ้ มูลเฉพาะนักเรยี นโรงเรียนบ้านยางน้อย ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ทผ่ี ่านมา) ๒) ผลการประเมนิ สมรรถนะทสี่ ำคัญของผเู้ รียน ด้านการสื่อสาร (สอ่ื สารภาษาไทย) ผลการประเมิน ดีเยย่ี ม ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน (คน) ๕ ๓ ๐ ๐ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๒.๕๐ ๓๗.๕๐ - - รวม ๘ คน (ขอ้ มูลเฉพาะนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นยางนอ้ ย ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ทผี่ ่านมา) ๓.๖ ความสามารถในการสอ่ื สารภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของแต่ละระดบั ชนั้ ๑) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษ ของนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ (ข้อมูลตอน ป.๓) เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 - จำนวน (คน) ๓ ๒ ๑ ๒ - - - คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๐ ๒๕.๐๐ ๑๒.๕๐ ๒๕.๐๐ - - รวม ๘ คน (ข้อมลู เฉพาะนักเรยี นโรงเรียนบา้ นยางน้อย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ที่ผ่านมา) ๒) ผลการประเมินสมรรถนะทส่ี ำคญั ของผู้เรยี น ด้านการสือ่ สาร (ส่อื สารภาษาอังกฤษ) ผลการประเมนิ ดเี ยีย่ ม ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน (คน) ๓ ๓ ๒ ๐ คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๗.๕๐ ๓๗.๕๐ ๒๕.๐๐ - รวม ๘ คน (ขอ้ มูลเฉพาะนกั เรียนโรงเรียนบา้ นยางน้อย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ท่ีผ่านมา) ๓.๗ ความสามารถในการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะระดบั ช้ัน ๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ (ขอ้ มูลตอน ป.๓) เกรด 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 ๐ จำนวน (คน) ๔ ๐ ๓ ๐ ๑๐ - คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๐.๐๐ - ๓๗.๕๐ - ๑๒.๕๐ - รวม ๘ คน (ข้อมูลเฉพาะนกั เรียนโรงเรียนบ้านยางน้อย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ทผ่ี ่านมา) ๒) ผลการประเมินวัดความสามารถในการคิดคำนวณระดบั พ้นื ฐานก่อนเรยี น ผลการประเมนิ ดีเย่ียม ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง จำนวน (คน) ๗ ๔ ๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๓ ๓๐.๔๔ ๑๗.๓๙ ๑๓.๐๔ ๒๖.๐๙ ๑๓.๐๔ รวม ๒๓ คน
๓๐ ๓.๘ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแกป้ ญั หา ผลการประเมนิ การอา่ น คิด วเิ คราะห์และเขยี นของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ (ขอ้ มูลตอน ป.๓) ผลการประเมนิ ดเี ย่ียม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน จำนวน (คน) ๕ ๒ ๑ ๐ คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๒.๕๐ ๒๕.๐๐ ๑๒.๕๐ - รวม ๘ คน (ขอ้ มลู เฉพาะนักเรียนโรงเรยี นบา้ นยางน้อย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ทผี่ ่านมา) ๓.๙ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ผลการประเมินสมรรถนะทส่ี ำคัญของผเู้ รียน ดา้ นการใช้เทคโนโลยี ผลการประเมิน ดีเยยี่ ม ดี พอใช้ ปรับปรุง จำนวน (คน) ๔ ๓ ๑ ๐ คดิ เป็นร้อยละ ๕๐.๐๐ ๓๗.๕๐ ๑๒.๕๐ - รวม ๘ คน (ขอ้ มลู เฉพาะนกั เรยี นโรงเรียนบ้านยางนอ้ ย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ท่ีผ่านมา) ๓.๑๐ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการวดั ผลปลายปีของแตล่ ะชั้น ๑) ร้อยละของจำนวนนกั เรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ๓ ขึ้นไป ใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวน กลุ่มสาระการเรียนรู้ นกั เรยี น ท้งั หมด ภาษา คณติ วทิ ยา สังคม ภาษา สุขศกึ ษา การงาน ศิลปะ ไทย ศาสตร์ ศาสตร์ ศึกษา องั กฤษ พลศกึ ษา อาชีพ 8 คน ๗ ๗ ๗ ๗ ๖ ๗ ๗๗ คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๗๕.๐๐ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๘๗.๕๐ ๒) ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ (ซ่ึงเป็นนกั เรียน ป.๔ ในปีการศึกษา ๒๕๖๕) รายวชิ า ระดับโรงเรียน ระดับเขตพ้ืนท่ี ระดบั ประเทศ ๔๙.๗๖ ๔๙.๔๔ ดา้ นคณติ ศาสตร์ ๖๒.๖๒ ๕๕.๖๖ ๕๖.๑๔ ๕๒.๗๒ ๕๒.๘๐ ด้านภาษาไทย ๗๑.๕๐ เฉล่ยี ทั้ง ๒ ดา้ น ๖๗.๐๖ ๓.๑๑ นกั เรยี นมคี ุณลักษณะอันพึงประสงคท์ ี่ดี ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ (ขอ้ มูลตอน ป.๓) ผลการประเมนิ ดีเย่ียม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น จำนวน (คน) ๘ ๐ ๐ ๐ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ - - - รวม ๘ คน (ข้อมูลเฉพาะนักเรียนโรงเรียนบ้านยางน้อย ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ทผ่ี ่านมา)
๓๑ ภาคผนวก
๓๒
๓๓
๓๔ สามารถสแกน QR-Code เพือ่ ดคู ำสงั่ ฯและประกาศฯเพิม่ เตมิ คำสั่งโรงเรียน/คำส่ังเขตฯ ประกาศศนู ยเ์ รียนรวมสมเด็จพระมหาธรี าจารย์
๓๕
๓๖ เอกสาร/หลักฐานอนื่ ๆ
๓๗
๓๘
๓๙ ภาพกจิ กรรมตา่ ง ๆ
๔๐
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: