ตารางการเปรยี บเทยี บความแตกต่างระหวา่ งร่างของกรมส่งเสริมฯ กบั ร่างขอ้ บงั คบั ฯ พ.ศ. 2565 ร่างกรม ขอ้ ความ รา่ งข้อบังคบั 2565 หมายเหตุ ข้อ ๓. อำนาจกระทำการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ข้อ ๓. อำนาจกระทำการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของสหกรณ์ ใหส้ หกรณ์มีอำนาจกระทำการ ดังต่อไปนี้ ของสหกรณ์ ใหส้ หกรณม์ อี ำนาจกระทำการ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) จัดหาทุนเพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ - ข้อความเดิม – ของสหกรณ์โดยวิธีการขายหุ้นให้แก่สมาชิก การรับ เงินฝาก การกู้ยืมเงิน การสะสมทุนสำรองและทุนอ่ืน รับเงนิ อดุ หนุน หรือทรัพย์สนิ ที่มผี ยู้ กให้ (๒) จัดให้มีเงินกู้หรือสินเชื่อแก่สมาชิกเพื่อแก้ไข - ข้อความเดิม - ปัญหาความเดือดร้อนในการดำรงชีพและเพื่อการ เคหะ หรอื ให้สหกรณอื ่นื ก้ยู ืมเงิน (๓) ฝากหรือลงทนุ อยา่ งอนื่ ตามกฎหมายสหกรณ์ - ขอ้ ความเดมิ - (๔) ใหส้ วัสดกิ ารและการสงเคราะห์ตามสมควรแก่ - ขอ้ ความเดมิ - สมาชกิ และครอบครัว (๕) ส่งเสรมิ กจิ กรรมกลมุ่ ของสมาชกิ - ขอ้ ความเดมิ - (๖) ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการและเป็นที่ - ข้อความเดมิ - ปรึกษาทางการเงินแก่สมาชิก (๗) ขอหรือรับความช่วยเหลือทางวิชาการจาก - ข้อความเดิม - ทางราชการ หน่วยงานของตา่ งประเทศ นิติบคุ คลหรือ บุคคลอน่ื ใด (๘) จัดให้ได้มา ซื้อ ถือกรรมสิทธิ์หรือทรัพย์สิทธิ - ขอ้ ความเดมิ - ครอบครอง กู้ ยมื เชา่ เชา่ ซ้ือ รบั โอนสทิ ธกิ ารเช่าหรือ สิทธิการเช่าซื้อ จำนองหรือจำนำ ขายหรือจำหน่าย ด้วยวธิ อี ่ืนใดซึง่ ทรพั ย์สิน (๙) ดำเนนิ กจิ การอยา่ งอื่นทีเ่ กย่ี วกับการใหบ้ ริการ ทางการเงินเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กล่าว - ขอ้ ความเดิม - ข้างต้น โดยเปน็ กิจการทีด่ ำเนินธรุ กิจหรอื ใหบ้ รกิ ารกับ สมาชิกสหกรณเ์ ปน็ หลกั (๑๐) รับฝากเงินจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่นหรือ นิติบุคคลซึ่งมีบุคลากรหรือลูกจ้างไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของนติ ิบุคคลน้ันเปน็ สมาชิกของสหกรณ์
รา่ งกรม ขอ้ ความ รา่ งข้อบังคบั 2565 หมายเหตุ ข้อ ๕. การออกหุ้น สหกรณ์ออกหุ้นได้โดยไม่จำกัด ข้อ ๕. การออกหุ้น สหกรณ์ออกหุ้นได้โดยไม่จำกัด จำนวน มมี ูลค่าห้นุ ละสิบบาท จำนวน มีมูลค่าหุน้ ละสบิ บาท หนุ้ ของสหกรณม์ ี ๒ ประเภท ได้แก่ หุ้นสามัญ และหุ้น บรุ ิมสทิ ธ์ิ ข้อ ๖. การถือหุ้น สมาชิกทุกคนต้องชำระค่าหุ้นเป็น ข้อ ๖. การถือหุ้น สมาชิกทุกคนต้องชำระค่าหุ้นเป็น รายเดือนตั้งแต่เดือนแรกที่เข้าเป็นสมาชิกตาม รายเดือนตั้งแต่เดือนแรกที่เข้าเป็นสมาชิกตาม อัตราส่วนของจำนวนเงินได้รายเดือนของตน ตามที่ อัตราส่วนของจำนวนเงินได้รายเดือนของตน ตามที่ กำหนดไวใ้ นระเบยี บของสหกรณ์ กำหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์ เงินได้รายเดือนตามความในวรรคแรก หมายถึง - ขอ้ ความเดมิ - เงินเดือนหรือค่าจ้างประจำ และเงินที่จ่ายควบกับ เงินเดือนหรือค่าจ้างประจำ ซึ่งสมาชิกได้รับจาก หนว่ ยงานเจ้าสงั กดั และหมายถึงบำนาญตามกฎหมาย ว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ ซึ่งสมาชิกได้รับจากทาง ราชการด้วย ถา้ สมาชกิ ประสงค์จะถอื หุน้ รายเดือนในอัตราที่สูง กว่าอัตราที่กำหนดไว้ในระเบียบของสหกรณ์ หรือจะ - ข้อความเดมิ - ขอซื้อหุ้นเพิ่มขึ้นอีกเมื่อใดก็ย่อมทำได้ โดยแสดงความ จำนงเป็นหนังสือต่อคณะกรรมการดำเนินการแต่ จำนวนหุ้นทัง้ หมดต้องไม่เกินหน่ึงในหา้ ของหุ้นที่ชำระ แล้วท้ังหมด สมาชิกจะโอนหรือถอนหุ้นในระหว่างที่ตนเป็น - ข้อความเดิม - สมาชกิ อยู่ไม่ได้ เมอ่ื สมาชิกภาพของสมาชกิ สนิ้ สุดลง สหกรณม์ ี สทิ ธนิ ำเงนิ ตามมูลคา่ ห้นุ ทีส่ มาชิกมอี ยู่มาหกั กลบลบ - ขอ้ ความเดมิ - หนท้ี ส่ี มาชิกผกู พันตอ้ งชำระหน้ีแก่สหกรณไ์ ด้และให้ สหกรณม์ ฐี านะเปน็ เจา้ หนีบ้ รุ ิมสิทธพิ ิเศษเหนือเงนิ ค่า หุ้นนน้ั การถือหุ้นบุริมสิทธิ์ให้เป็นไปตามระเบียบ หรอื ประกาศของสหกรณ์
รา่ งกรม ขอ้ ความ ร่างข้อบงั คบั 2565 หมายเหตุ ขอ้ ๑๗. การฝากหรอื การลงทุนของสหกรณ์ เงนิ ของ ข้อ ๑๗. การฝากหรือการลงทุนของสหกรณ์ เงินของ เพ่ิมเติมข้อความเนื่องจากตาม สหกรณน์ นั้ สหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ตามกฎหมาย สหกรณน์ ั้นสหกรณ์อาจฝากหรือลงทนุ ได้ตามที่กำหนด ข ้ อ บ ั ง ค ั บ เ ด ิ ม ถ ู ก แ ย ก ว่าด้วยสหกรณ์และตามที่คณะกรรมการพัฒนาการ ไว้ในวัตถุประสงค์ของสหกรณ์และอำนาจกระทำการ วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ ให้มี สหกรณ์แห่งชาติกำหนด โดยให้คำนึงถึงความมั่นคง และตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และตามท่ี เพิ่มเป็นข้อว่าด้วย อำนาจ และประโยชน์สงู สุดที่สหกรณ์หรอื สมาชกิ จะไดร้ ับ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแ์ ห่งชาตกิ ำหนด โดย กระทำการ ให้คำนึงถึงความมั่นคงและประโยชน์สูงสุดที่สหกรณ์ หรอื สมาชิกจะได้รับ ข้อ ๒๘. การจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี เมื่อสิ้นปีทาง ข้อ ๒๘. การจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี เมื่อสิ้นปีทาง บัญชีและได้ปิดบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่ บัญชีและได้ปิดบัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่ รับรองโดยทั่วไปและระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ รับรองโดยท่วั ไปและระเบยี บนายทะเบียนสหกรณแ์ ลว้ แล้ว ปรากฏว่าสหกรณ์มีกำไรสุทธิ ให้จัดสรรเป็นทุน ปรากฏว่าสหกรณ์มีกำไรสุทธิ ให้จัดสรรเปน็ ทนุ สำรอง สำรองไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของกำไรสุทธิ และเป็นค่า ไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของกำไรสุทธิ และเป็นค่าบำรุง บำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยตามอัตราที่ สันนบิ าตสหกรณแ์ หง่ ประเทศไทยตามอัตราท่ีกำหนด กำหนดในกฎกระทรวง ในกฎกระทรวง กำไรสุทธิประจำปีที่เหลือจากการจัดสรรตาม กำไรสุทธิประจำปีที่เหลือจากการจัดสรรตาม ความในวรรคก่อนนั้น ที่ประชุมใหญ่อาจจะจัดสรรได้ ความในวรรคก่อนนั้น ที่ประชุมใหญ่อาจจะจัดสรรได้ ดงั ต่อไปนี้ ดังต่อไปนี้ (๑) เปน็ เงนิ ปนั ผลตามหนุ้ ทีช่ ำระแล้วให้แกส่ มาชกิ (๑) เป็นเงินปนั ผลตามหนุ้ ทช่ี ำระแล้วให้แก่สมาชิก แต่ต้องไม่เกนิ อตั ราที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยคิด แต่ต้องไม่เกินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง โดยคดิ ให้ตามส่วนแห่งระยะเวลา อนึ่ง ถ้าสหกรณ์ถอนทุน ให้ตามส่วนแห่งระยะเวลา อนึ่ง ถ้าสหกรณ์ถอนทุน รักษาระดับอัตราเงินปันผลตาม (๔) ออกจ่ายเป็นเงิน รักษาระดับอัตราเงินปันผลตาม (๔) ออกจ่ายเป็นเงิน ปันผลสำหรับปีใดด้วยจำนวนเงินปันผลทั้งสิ้นที่จ่าย ปันผลสำหรับปีใดด้วยจำนวนเงินปันผลทั้งสิ้นที่จ่าย สำหรับปีนนั้ ก็ตอ้ งไม่เกินอตั ราดังกล่าวมาแล้ว สำหรบั ปนี นั้ กต็ อ้ งไม่เกนิ อตั ราดังกลา่ วมาแลว้ (๒) เป็นเงินเฉลี่ยคืนให้แก่สมาชิกตามส่วนธุรกจิ ท่ี ในการคำนวณเงินปันผลตามหุ้น ให้ถือว่าหุ้นที่ สมาชิกไดท้ ำไวก้ บั สหกรณใ์ นระหว่างปี เว้นแต่สมาชิก สมาชิกได้ชำระต่อสหกรณ์ในวันใดให้มีระยะเวลา ที่ผิดนัดการชำระหนี้สหกรณ์ มิให้ได้รับเงินเฉลี่ยคืน สำหรับคำนวณเงนิ ปันผลนับตั้งแต่วันนั้น โดยสหกรณ์ สำหรบั งวดท่ผี ิดนดั น้นั จะคำนวณเงนิ ปนั ผลใหส้ มาชิกเป็นรายวนั (๓) เป็นเงินโบนัสแก่กรรมการและเจ้าหน้าที่ของ (๒) เป็นเงินเฉล่ียคืนให้แก่สมาชิกตามส่วนธุรกจิ ที่ สหกรณ์ไม่เกนิ ร้อยละสบิ ของกำไรสุทธิ สมาชิกได้ทำไว้กับสหกรณ์ในระหวา่ งปี เว้นแต่สมาชกิ (๔) เป็นทุนรักษาระดบั อัตราเงนิ ปนั ผล ไม่เกินร้อย ที่ผิดนัดการชำระหนี้สหกรณ์ มิให้ได้รับเงินเฉลี่ยคืน ละสองแห่งทุนเรือนหุ้นของสหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวัน สำหรบั งวดทผี่ ดิ นัดน้นั สิ้นปีนั้น ทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลนี้จะถอนได้
โดยมติแห่งที่ประชุมใหญ่ เพื่อจ่ายเป็นเงินปันผลตาม (๓) เป็นเงินโบนัสแก่กรรมการและเจ้าหน้าที่ของ หุ้นตาม (๑) และห้ามจา่ ยทุนนี้หากสหกรณ์ขาดทุนอนั สหกรณไ์ มเ่ กนิ ร้อยละสบิ ของกำไรสทุ ธิ เกิดจากเหตุทุจริต (๔) เปน็ ทุนรักษาระดับอตั ราเงนิ ปันผล ไมเ่ กนิ ร้อย (๕) เปน็ ทุนเพื่อการศึกษาอบรมทางสหกรณ์ไมเ่ กิน ละสองแห่งทุนเรือนหุ้นของสหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวัน รอ้ ยละสบิ ของกำไรสุทธิ สิ้นปีนั้น ทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลนี้จะถอนได้ (๖) เป็นทุนสาธารณประโยชน์ไม่เกินร้อยละสิบ โดยมติแห่งที่ประชุมใหญ่ เพื่อจ่ายเป็นเงินปันผลตาม ของกำไรสทุ ธิ หุ้นตาม (๑) และห้ามจ่ายทุนนี้หากสหกรณ์ขาดทุนอนั (๗) เป็นทุนสวัสดิการหรือการสงเคราะห์ตาม เกิดจากเหตุทจุ ริต สมควรแกส่ มาชิกและครอบครัว ไม่เกนิ ร้อยละสิบของ (๕) เปน็ ทุนเพอ่ื การศกึ ษาอบรมทางสหกรณ์ไม่เกิน กำไรสทุ ธิ ร้อยละสบิ ของกำไรสุทธิ (๘) เป็นทุนเพื่อจัดตั้งสำนักงานไม่เกินร้อยละสิบ (๖) เป็นทุนสาธารณประโยชน์ไม่เกินร้อยละสิบ ของกำไรสทุ ธิ ของกำไรสทุ ธิ (๙) กำไรสุทธิส่วนทีเ่ หลือ (ถ้ามี) ให้จัดสรรเป็นทุน (๗) เป็นทุนสวัสดิการหรือการช่วยเหลือหรือการ สำรองท้งั สน้ิ สงเคราะหต์ ามสมควรแกส่ มาชิกและครอบครัว ไม่เกิน การใช้จ่ายทุนตามวรรคก่อน ให้เป็นไปตาม ร้อยละสิบของกำไรสทุ ธิ ระเบียบของสหกรณ์และให้กำหนดระเบียบสำหรับแต่ (๘) เป็นทุนเพื่อจัดตั้งสำนักงานและเพื่อพัฒนา ละทนุ เปน็ การเฉพาะ กจิ การสหกรณ์ไมเ่ กนิ รอ้ ยละสิบของกำไรสทุ ธิ (๙) เป็นทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกผู้ค้ำประกัน ไม่ เกนิ ร้อยละสบิ ของกำไรสุทธิ (๑๐) กำไรสุทธิส่วนที่เหลือ (ถ้ามี) ให้จัดสรรเป็น ทนุ สำรองท้งั สิ้น การใช้จ่ายทุนตามวรรคก่อน ให้เป็นไปตาม ระเบียบหรือหลักเกณฑ์การจา่ ยทนุ ของสหกรณ์และให้ กำหนดระเบียบหรือหลักเกณฑ์การจ่ายทุนสำหรับแต่ ละทนุ เปน็ การเฉพาะ ข้อ ๓๒. คุณสมบัติของสมาชิก สมาชิก ข้อ ๓๒. คุณสมบัติของสมาชิก สมาชิกต้องมี ต้องมีคณุ สมบตั ดิ ังน้ี คุณสมบัติดงั นี้ (๑) เปน็ ผเู้ ห็นชอบในวัตถุประสงคข์ องสหกรณ์ (๑) เปน็ ผู้เหน็ ชอบในวตั ถปุ ระสงคข์ องสหกรณ์ (๒) เป็นบุคคลธรรมดา สัญชาติไทย และบรรลุนติ ิ (๒) เป็นบุคคลธรรมดา สัญชาติไทย และบรรลุนติ ิ ภาวะ ภาวะ (๓) ก. เป็นข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำสังกัด (๓) ก. เป็นข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำสังกัด ................ หรอื เป็นเจา้ หนา้ ท่ขี องสหกรณ์นี้ หรือ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หรือเป็นเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์น้ี ข. ........................................................ หรอื (๔) เป็นผมู้ ีความประพฤตแิ ละนสิ ัยดีงาม
(๕) มไิ ดเ้ ป็นสมาชิกในสหกรณอ์ อมทรัพยอ์ ืน่ ข. เป็นข้าราชการบำนาญที่รับบำนาญ จาก ตดั (๕) ออก มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ หรือ ค. เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย สังกัด มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ซ่งึ จะมีสิทธแิ ละหน้าท่ตี ามระเบียบ ทส่ี หกรณ์ กำหนด หรือ ง. เป็นพนักงานส่วนงาน สังกัดมหาวิทยาลัย แม่โจ้ ซึ่งจะมีสิทธิและหน้าที่ตามระเบียบหรือ หลักเกณฑ์กำหนดเป็นการเฉพาะสำหรับสมาชิกทีเ่ ปน็ พนกั งานสว่ นงาน หรือ จ. เปน็ ลูกจ้างช่ัวคราว สังกดั มหาวทิ ยาลัยแม่ โจ้ ซึ่งจะมีสิทธิและหน้าที่ตามระเบียบหรอื หลักเกณฑ์ ที่สหกรณ์กำหนดเป็นการเฉพาะสำหรับสมาชิกที่เป็น ลกู จา้ งชวั่ คราว (๔) เป็นผมู้ ีความประพฤตแิ ละนิสัยดงี าม ข้อ ๓๓. การเข้าเป็นสมาชิก ผู้สมัครเป็นสมาชิกตาม ข้อ ๓๓. การเข้าเป็นสมาชิก ผู้สมัครเป็นสมาชิกตาม ข้อบังคับ (รวมทั้งสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์อื่นซึ่ง ข้อบังคับ (รวมทั้งสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์อื่นซ่ึง ประสงค์จะขอเข้าเปน็ สมาชิก ตามข้อ ๓๗) ต้องยื่นใบ ประสงค์จะขอเข้าเป็นสมาชิก ตามข้อ ๓๗) ต้องยื่นใบ สมัครถึงสหกรณ์ตามแบบที่กำหนดไว้โดยต้องมี สมัครถึงสหกรณ์ตามแบบที่กำหนดไว้โดยต้องมี ผ้บู งั คับบัญชาของผู้สมัครในตำแหน่งไม่ตำ่ กว่า.......คน ผ้บู ังคบั บญั ชาของผสู้ มคั รในตำแหน่งไม่ต่ำกว่าหัวหน้า หนง่ึ รับรอง ...............ก็ไม่ต้องมีผู้รบั รอง ส่วนงานคนหนึ่งรับรอง แต่ถ้าผู้สมัครเป็นผู้ดำรง เมื่อคณะกรรมการดำเนินการได้ตรวจสอบ ตำแหน่งไม่ต่ำกว่าหัวหน้าส่วนงาน ให้ผู้สมัครรับรอง คุณสมบตั แิ ล้วเป็นท่พี อใจวา่ ผ้สู มัครมคี ุณสมบัตถิ กู ต้อง ตนเอง ตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๓๒ ทั้งเห็นเป็นการสมควร รับเข้าเป็นสมาชิกได้ ก็ให้แจ้งผู้สมัครน้ันลงลายมือชอื่ ของตนในทะเบียนสมาชิกกับชำระค่าธรรมเนียมแรก เข้า และชำระค่าหุ้นตามจำนวนที่จะถือให้ครบถ้วน (ขอ้ ความเดิม) แล้วเสนอเรือ่ ง การรับสมาชิกเขา้ ใหม่ให้ที่ประชมุ ใหญ่ คราวถัดไปทราบ ถ้าคณะกรรมการดำเนินการไม่ยอมรับผู้สมัครเขา้ เป็นสมาชิกด้วยเหตุใด ๆ เมื่อผู้สมัครร้องขอก็ให้ คณะกรรมการดำเนินการนำเรื่องเสนอที่ประชุมใหญ่ (ขอ้ ความเดมิ ) เพื่อวินิจฉัยชี้ขาด มติแห่งที่ประชุมใหญ่ให้รับเข้าเป็น สมาชิก ในกรณีดังว่านี้ ให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองใน สามของสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกซ่ึงมาประชมุ
ร่างกรม ขอ้ ความ ร่างข้อบงั คับ 2565 หมายเหตุ ข้อ ๔๕. การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกที่ขาด ข้อ ๔๕. การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกที่ขาด จากสมาชกิ ภาพ ในกรณีทสี่ มาชิกขาดจากสมาชกิ ภาพ จากสมาชิกภาพ ในกรณที ี่สมาชกิ ขาดจากสมาชกิ ภาพ เพราะเหตุตามข้อ ๔๐ (๑) (๒) (๓) นั้น สหกรณ์จะจ่าย เพราะเหตุตามข้อ ๔๐ (๑) (๒) (๓) นั้น สหกรณ์จะจ่าย คืนค่าหุ้นที่สมาชิกมีอยู่ในสหกรณ์ให้ก่อนค่าหุ้นของ คืนค่าหุ้นที่สมาชิกมีอยู่ในสหกรณ์ให้ก่อนค่าหุ้นของ สมาชิกซึ่งออกเพราะเหตุอื่น พร้อมด้วยเงินปนั ผลและ สมาชิกซึง่ ออกเพราะเหตุอ่ืน พร้อมด้วยเงินปนั ผลและ เงินเฉลี่ยคืนค้างจ่ายบรรดาที่สมาชิกนั้นมีอยู่ใน เงินเฉลี่ยคืนค้างจ่ายบรรดาที่สมาชิกนั้นมีอยู่ใน สหกรณค์ นื ใหแ้ ก่ผมู้ ีสิทธไิ ดร้ ับ โดยเฉพาะค่าหุ้นนั้นผู้มี สหกรณค์ นื ใหแ้ กผ่ มู้ ีสทิ ธิได้รับ โดยเฉพาะค่าหุ้นน้ันผู้มี สิทธิได้รับจะเรียกให้สหกรณ์จ่ายคืนทันทีโดยไม่มีเงิน สิทธิได้รับจะเรียกให้สหกรณ์จ่ายคืนทันทีโดยไม่มีเงิน ปนั ผลหรอื เงนิ เฉลี่ยคนื สำหรับปีทอ่ี อกนนั้ หรอื จะเรียก ปนั ผลหรอื เงนิ เฉลยี่ คืนสำหรับปีทีอ่ อกนัน้ หรือจะเรียก ให้จ่ายคืนหลังจากวันสิ้นปีทางบัญชีที่ออกโดยได้รับ ให้จ่ายคืนหลังจากวันสิ้นปีทางบัญชีที่ออกโดยได้รับ เงินปันผลและ เงินเฉลี่ยคืนสำหรับปีที่ออกนั้นด้วย ใน เงินปันผลและ เงินเฉลี่ยคืนสำหรับปีที่ออกนั้นด้วย ใน เมื่อที่ประชุมใหญ่มีมติให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีนั้น เมื่อที่ประชุมใหญ่มีมติให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีนั้น แลว้ ก็ไดส้ ดุ แต่จะเลือก สว่ นเงินรับฝากและดอกเบ้ียนน้ั แลว้ กไ็ ดส้ ดุ แต่จะเลือก ส่วนเงินรบั ฝากและดอกเบยี้ น้ัน สหกรณ์จะจ่ายคนื ใหต้ ามระเบียบของสหกรณ์ สหกรณ์จะจา่ ยคืนให้ตามระเบยี บของสหกรณ์ ถ้าในปีใดจำนวนค่าหุ้นที่ถอนคืนเนื่องจากสมาชิก ถา้ ในปใี ด จำนวนค่าหนุ้ ทถ่ี อนคนื เนอ่ื งจากสมาชิก ขาดจากสมาชิกภาพจะเกนิ ร้อยละสิบแห่งทุนเรือนห้นุ ขาดจากสมาชิกภาพจะเกนิ รอ้ ยละสิบแหง่ ทุนเรอื นหุ้น ของสหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวันต้นปีนั้น คณะกรรมการ ของสหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวันต้นปีนั้น คณะกรรมการ ดำเนนิ การมีอำนาจใหร้ อการจ่ายคนื คา่ หุ้นของสมาชิก ดำเนินการมอี ำนาจให้รอการจ่ายคืนคา่ หนุ้ ของสมาชิก ที่ขาดจากสมาชิกภาพรายต่อไปในปีนั้นไว้จนถึงปีทาง ที่ขาดจากสมาชิกภาพรายต่อไปในปีนัน้ ไว้จนถึงปีทาง บัญชีใหม่ แต่เฉพาะสมาชิกที่ขาดจากสมาชิกภาพ บัญชีใหม่ แต่เฉพาะสมาชิกที่ขาดจากสมาชิกภาพ เนื่องจากตนได้ ออกจากงานประจำตามข้อ ๓๒ (๓) เนื่องจากตนได้โอนหรือย้าย หรือออกจากราชการ โดยไม่มีความผิดนั้น คณะกรรมการดำเนินการอาจ หรืองานประจำตามข้อ ๓๒ (๓) โดยไม่มีความผิดน้ัน ผ่อนผันเปน็ พเิ ศษ คณะกรรมการดำเนนิ การอาจผอ่ นผันเป็นพเิ ศษ ในกรณีที่สมาชิกขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุ ตามข้อ ๔๐ (๔) สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงินรับฝาก เงิน - ขอ้ ความเดิม - ปันผลและเงินเฉลี่ยคืนกับดอกเบี้ยค้างจ่ายบรรดาที่ สมาชิกนั้นมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้ตามกฎหมาย ล้มละลาย ในกรณีที่สมาชิกขาดจากสมาชิกภาพเพราะเหตุ ตามข้อ ๔๐ (๕) (๖) นั้น สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงินปัน - ขอ้ ความเดมิ - ผลและเงินเฉลี่ยคืนกับดอกเบี้ยค้างจ่ายบรรดาท่ี สมาชิกนั้นมอี ยู่ในสหกรณค์ ืนให้ภายในเวลาอันสมควร โดยไม่มีเงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืนตั้งแต่ปีที่ออกจาก สหกรณ์ หรือหากสมาชิกขอให้จ่ายค่าหุ้นภายหลังวัน
ส้นิ ปที างบัญชี โดยขอรับเงนิ ปนั ผลและเงินเฉล่ียคืนใน - ขอ้ ความเดมิ - ปีนั้นภายหลังที่ที่ประชุมใหญ่ได้พิจารณาจัดสรรกำไร สุทธิประจำปีก็ได้ ส่วนเงินรับฝากและดอกเบี้ยน้ัน สหกรณจ์ ะจ่ายใหต้ ามระเบยี บของสหกรณ์ ในกรณีสหกรณ์ขาดทุนสะสมหรือมีแนวโน้มจะ ขาดทุนสะสม ให้ชะลอการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่สมาชิกที่ พ้นจากสมาชิกภาพในระหว่างปีจนกว่าจะปิดบัญชี ประจำปี และให้คำนวณเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นที่จะ จ่ายคืนแก่สมาชิกโดยนำทุนเรือนหุ้นทั้งหมดหักด้วย ขาดทนุ สะสมคงเหลือและหน้ีสนิ ท้ังส้ินแลว้ นำมาเฉลี่ย โดยใช้จำนวนหนุ้ ทง้ั ส้นิ เปน็ ฐานในการคำนวณ ในการปรับลดมูลค่าต่อหุ้นที่จะจ่ายคืนแก่สมาชิก สหกรณ์ไม่ต้องทำการปรับปรุงบัญชีใด ๆ แต่ต้อง เปิดเผยการคำนวณมูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อห้นุ ที่จะ (ไม่มี) จ่ายคืนสมาชิกไว้ และให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแสดง ความเห็นต่องบการเงิน สำหรับส่วนต่างของมูลค่าหนุ้ ที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๕ ซึ่งอยู่ในบัญชีทุนเรือนหุ้น และเงินค่าหุ้นจา่ ยคืนตอ่ หุ้นแก่สมาชิกในกรณีสหกรณ์ ขาดทุนสะสมใหน้ ำไปลดยอดบัญชขี าดทนุ สะสม เมื่อสหกรณ์มีการคำนวณมูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืน ต่อหุ้นแล้ว ในปีต่อ ๆ ไป สหกรณ์ต้องคำนวณมูลค่า - ข้อความเดิม - เงินค่าหนุ้ จา่ ยคนื ตอ่ หุ้นใหเ้ ป็นปัจจบุ ันทุกปี และมูลค่า ดังกลา่ วจะตอ้ งไม่สูงกว่ามลู คา่ ตอ่ หุ้นท่ีกำหนดไว้ในข้อ ๕ จนกวา่ สหกรณไ์ มม่ ียอดขาดทุนสะสม ข้อ ๕๐. คุณสมบัติของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบ ข้อ ๕๐. คุณสมบัติของสมาชิกสมทบ สมาชิกสมทบ ตอ้ งมคี ุณสมบตั ดิ ังนี้ ต้องมีคณุ สมบตั ดิ ังนี้ (๑) เป็นผเู้ ห็นชอบในวตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์ (๑) เป็นผ้เู หน็ ชอบในวตั ถุประสงค์ของสหกรณ์ (๒) เปน็ บคุ คลธรรมดา สัญชาตไิ ทย (๒) เป็นบุคคลธรรมดา สัญชาติไทย (๓) ก. บิดา มารดา สามี ภรรยา หรือบุตรของ (๓) ก. บิดา มารดา สามี ภรรยา หรือบุตรของ สมาชกิ ที่บรรลนุ ิตภิ าวะ หรอื สมาชกิ ทบี่ รรลุนติ ภิ าวะ หรอื ข. บุคคลในองค์กรหรือหน่วยงานที่ขาด ข. บุคคลในองค์กรหรือหน่วยงานที่ขาด คณุ สมบัตติ ามข้อ ๓๒ (๓) ทีบ่ รรลุนติ ภิ าวะ หรือ คุณสมบตั ติ ามขอ้ ๓๒ (๓) ทีบ่ รรลนุ ติ ภิ าวะ หรือ ค. เป็นนักศึกษาในสถานศึกษาสังกัด ค. เป็นผู้ที่เคยเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ .................. ทั้งที่บรรลุนิติภาวะและไม่บรรลุนิติภาวะ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานราชการ ของ หรอื
(๔) เป็นผทู้ ม่ี ีความประพฤตดิ งี าม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หรือเจ้าหน้าที่สหกรณ์ออมทรัพย์ (๕) เป็นผู้ที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ จำกัด หรือ ระเบียบ มติ และคำส่ังของสหกรณ์ ง. เปน็ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ท้งั ท่ีบรรลุ ตดั (๖) ออก (๖) มิได้เป็นสมาชิกหรือสมาชิกสมทบในสหกรณ์ นติ ภิ าวะและไม่บรรลุนติ ิภาวะ หรอื ออมทรัพย์อืน่ จ. เป็นบุคคลที่ประกอบอาชีพต่าง ๆ ภายใน มหาวทิ ยาลัยแม่โจท้ ่บี รรลนุ ติ ิภาวะ (๔) เปน็ ผูท้ ่ีมีความประพฤตดิ ีงาม (๕) เป็นผู้ที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำสั่งของสหกรณ์ ข้อ ๕๒. ค่าธรรมเนียมแรกเข้าของสมาชิกสมทบ ข้อ ๕๒. ค่าธรรมเนียมแรกเข้าของสมาชิกสมทบ กำหนดค่าธรรมเนยี มคนละห้า ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสมทบต้องชำระค่าธรรมเนียม ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสมทบต้องชำระค่าธรรมเนียม สบิ บาท แรกเข้าให้แก่สหกรณ์ ..............บาท ค่าธรรมเนียม แรกเข้าให้แก่สหกรณ์ คนละห้าสิบบาท ค่าธรรมเนียม แรกเข้านี้ให้ถือว่าเป็นรายได้ของสหกรณ์ จะเรียกคืน แรกเข้านี้ให้ถือว่าเป็นรายได้ของสหกรณ์ จะเรียกคืน ไม่ได้ไมว่ า่ ดว้ ยกรณีใด ๆ ไม่ไดไ้ ม่วา่ ดว้ ยกรณใี ด ๆ ขอ้ ๕๔ สทิ ธิและหนา้ ที่ในฐานะสมาชิกสมทบ สมาชิก ข้อ ๕๔ สิทธิและหน้าท่ใี นฐานะสมาชกิ สมทบ สมาชิก สมทบมีสิทธิและหน้าที่เฉพาะในส่วนที่ไม่ขัดกับ สมทบมีสิทธิและหน้าที่เฉพาะในส่วนที่ไม่ขัดกับ กฎหมายสหกรณ์ กฎหมายสหกรณ์ (ก) สิทธขิ องสมาชกิ สมทบ มดี งั นี้ (ก) สทิ ธิของสมาชกิ สมทบ มดี ังน้ี (๑) รับเงินปันผลในอตั ราเดียวกับสมาชิก (๑) รบั เงินปันผลในอัตราเดยี วกับสมาชกิ (๒) รับเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจในอัตรา (๒) รับเงินเฉลี่ยคืนตามส่วนธุรกิจในอัตรา เดียวกบั สมาชกิ เดียวกบั สมาชกิ (๓) ................................................................ (๓) มีสิทธิเข้าร่วมสังเกตการณ์ในที่ประชุม (๔) ................................................................ ใหญ่สามัญประจำปี (๔) มีสิทธิถือหุ้นได้ตามที่คณะกรรมการ เห็นชอบและไม่เกนิ ทก่ี ำหนดไวใ้ นขอ้ บังคบั (๕) มีสิทธิฝากเงินกับสหกรณืได้ตามท่ี คณะกรรมการดำเนินการเห็นสมควร (๖) มีสิทธิกู้เงินจากสหกรณ์ได้ตามระเบียบ ของสหกรณ์ แต่ต้องไม่เกินกว่าเงินฝากและทุนเรือน หนุ้ ที่มีอยู่ในสหกรณ์ (๗) มีสิทธิได้รับสวัสดิการ และผลตอบแทน จากการใช้บริการ ตามระเบียบที่คณะกรรมการ ดำเนนิ การกำหนด
(๘) มีสิทธิได้รับบริการต่าง ๆ ตาม คณะกรรมการดำเนนิ การเห็นสมควร (ข) หนา้ ทขี่ องสมาชกิ สมทบ มดี งั นี้ (ข) หน้าที่ของสมาชิกสมทบ มดี ังนี้ (๑) ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (๑) ต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเขา้ จำนวนห้า แทรก (ข)(๑) เขา้ ไปให้เปน็ ไป สิบบาท และชำระค่าหุ้นเมื่อแรกเข้าเป็นสมาชิกไม่ ตามสหกรณ์ มติ และคำสงั่ ของสหกรณ์ (๒) เขา้ รว่ มประชมุ ทุกครั้งทส่ี หกรณน์ ัดหมาย น้อยกวา่ หน่ึงรอ้ ยบาท (๒) ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (๓) ส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสหกรณ์ มติ และคำสั่งของสหกรณ์ เพอื่ ให้สหกรณเ์ ปน็ องค์การทเ่ี ข็มแขง็ (๓) เข้าร่วมประชุมทกุ คร้ังท่สี หกรณ์นัดหมาย (๔) สอดส่องดูแลกิจการของสหกรณ์ (๔) ส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสหกรณ์ (๕) ร่วมมือกับคณะกรรมการดำเนินการ สหกรณ์ พัฒนาสหกรณ์ใหเ้ จริญรุ่งเรืองและมั่นคง เพ่อื ให้สหกรณ์เปน็ องคก์ ารทเ่ี ขม็ แขง็ (๕) สอดสอ่ งดูแลกจิ การของสหกรณ์ (ค) สมาชกิ สมทบไม่ให้มีสิทธิในเรือ่ งดังตอ่ ไปน้ี (๖) ร่วมมือกับคณะกรรมการดำเนินการ (๑) นับชื่อเข้าเป็นองค์ประชุมในการประชุม ใหญ่ สหกรณ์ พฒั นาสหกรณใ์ ห้เจริญร่งุ เรืองและม่ันคง (ค) สมาชิกสมทบไมใ่ ห้มสี ทิ ธิในเรอื่ งดงั ต่อไปนี้ (๒) การออกเสยี งในเรอ่ื งใด ๆ (๑) นับชื่อเข้าเป็นองค์ประชุมในการประชุม (๓) เป็นกรรมการดำเนินการ (๔) กู้ยืมเงินเกินกว่าเงินฝากรวมกับทุนเรือน ใหญ่ (๒) การออกเสยี งในเรื่องใด ๆ หนุ้ ของตนเอง (๓) เปน็ กรรมการดำเนนิ การ (๔) ค้ำประกนั เงนิ กู้ ข้อ ๕๗. การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสมทบ ข้อ ๕๗. การขาดจากสมาชิกภาพของสมาชิกสมทบ สมาชกิ สมทบยอ่ มขาดจากสมาชกิ ภาพเพราะเหตุใด ๆ สมาชิกสมทบย่อมขาดจากสมาชกิ ภาพเพราะเหตใุ ด ๆ ดังตอ่ ไปนี้ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ตาย (๑) ตาย (๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ (๒) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ ความสามารถ ความสามารถ (๓) ตอ้ งคำพิพากษาใหล้ ม้ ละลาย (๓) ต้องคำพพิ ากษาให้ลม้ ละลาย (๔) ลาออกจากสหกรณ์และได้รบั อนุญาตแลว้ (๔) ลาออกจากสหกรณ์และได้รบั อนญุ าตแล้ว (๕) ขาดคุณสมบัติตามขอ้ บงั คับขอ้ ๕๐ (๕) ขาดคณุ สมบัติตามข้อบังคับขอ้ ๕๐ (๖) ถกู ให้ออกจากสหกรณ์ (๖) ถกู ให้ออกจากสหกรณ์ (๗) ถูกให้ออกจากงานประจำ
ข้อ ๖๐. การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกสมทบท่ี ข้อ ๖๐. การจ่ายคืนจำนวนเงินของสมาชิกสมทบท่ี ขาดจากสมาชกิ ภาพ ในกรณีที่สมาชิกสมทบขาดจาก ขาดจากสมาชิกภาพ ในกรณีที่สมาชิกสมทบขาดจาก สมาชิกภาพเพราะเหตุตามข้อ ๕๗ (๑) (๒) (๔) นั้น สมาชิกภาพเพราะเหตตุ ามข้อ ๕๗ (๑) (๒) (๔) นัน้ สหกรณ์จะจ่ายคืนค่าหุ้นที่สมาชิกสมทบมีอยู่ใน สหกรณ์ให้ก่อนค่าหุ้นของสมาชิกสมทบซึ่งออกเพราะ เหตุอื่น พร้อมด้วยเงินปันผลและเงินเฉลี่ยคนื ค้างจ่าย บรรดาที่สมาชิกสมทบนั้นมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้แก่ผู้มี - ข้อความเดมิ - สิทธไิ ดร้ บั โดยเฉพาะคา่ หนุ้ นนั้ ผู้มีสิทธไิ ดร้ บั จะเรียกให้ สหกรณ์จ่ายคืนทันทีโดยไม่มีเงินปันผลหรือเงินเฉล่ีย คืนสำหรับปีที่ออกนั้น หรือจะเรียกให้จ่ายคืนหลังจาก วันสิ้นปีทางบัญชีที่ออกโดยได้รับเงินปันผลและเงิน เฉลี่ยคืนสำหรับปีที่ออกนั้นดว้ ยในเมื่อที่ประชุมใหญม่ ี มติให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปีนั้นแล้วก็ได้สุดแต่จะ เลือก ส่วนเงินรับฝากและดอกเบี้ยนั้นสหกรณ์จะจ่าย คนื ให้ตามระเบยี บของสหกรณ์ ถา้ ในปใี ด จำนวนค่าหนุ้ ที่ถอนคืนเนอ่ื งจากสมาชิก - ข้อความเดิม - สมทบขาดจากสมาชิกภาพจะเกินร้อยละสิบแห่งทุน เ ร ื อ น ห ุ ้ น ข อ ง ส ห ก ร ณ ์ ต า ม ท ี ่ ม ี อ ย ู ่ ใ น ว ั น ต ้ น ป ี นั้ น คณะกรรมการดำเนนิ การมีอำนาจให้รอการจ่ายคนื คา่ หุ้นของสมาชกิ ที่ขาดจากสมาชิกภาพรายต่อไปในปีนั้น ไว้จนถึงปที างบัญชีใหม่ ในกรณที ีส่ มาชกิ สมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะ เหตุตามข้อ ๕๗ (๓) สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เงินรับฝาก - ขอ้ ความเดมิ - เงินปันผลและเงินเฉลีย่ คืนกับดอกเบี้ยค้างจ่ายบรรดา ที่สมาชิกสมทบนั้นมีอยู่ในสหกรณค์ ืนให้ตามกฎหมาย ล้มละลาย ในกรณที ี่สมาชกิ สมทบขาดจากสมาชกิ ภาพเพราะ ในกรณีทส่ี มาชกิ สมทบขาดจากสมาชิกภาพเพราะ เหตุตามข้อ ๕๗ (๕) และ (๖) น้ัน สหกรณ์จะจ่ายค่าหุ้น เหตุตามข้อ ๕๗ (๕) (๖) และ (๗) นั้น สหกรณ์จะจ่าย เงินปันผลและเงินเฉลีย่ คืนกบั ดอกเบี้ยค้างจ่ายบรรดา ค่าหุ้น เงินปันผลและเงินเฉลีย่ คืนกับดอกเบี้ยค้างจา่ ย ที่สมาชิกสมทบนั้นมีอยู่ในสหกรณ์คืนให้ภายในเวลา บรรดาที่สมาชกิ สมทบนั้นมอี ยู่ในสหกรณ์คืนใหภ้ ายใน อันสมควรโดยไม่มีเงินปนั ผลหรอื เงนิ เฉลี่ยคืนตั้งแต่ปีที่ เวลาอันสมควรโดยไม่มีเงินปันผลหรือเงินเฉลี่ยคืน ออกจากสหกรณ์ หรือหากสมาชิกสมทบขอให้จ่ายค่า ตั้งแต่ปีที่ออกจากสหกรณ์ หรือหากสมาชิกสมทบ หุ้นภายหลังวันสิ้นปีทางบัญชี โดยขอรับเงินปันผล ขอให้จ่ายค่าหุ้นภายหลังวันสิ้นปีทางบัญชี โดยขอรับ และเงินเฉลี่ยคืนในปีนั้นภายหลังที่ที่ประชุมใหญ่ได้ เงินปันผลและเงินเฉลี่ยคืนในปีนั้นภายหลงั ที่ที่ประชมุ พิจารณาจดั สรรกำไรสทุ ธิประจำปีกไ็ ด้ ส่วนเงินรับฝาก ใหญไ่ ดพ้ ิจารณาจดั สรรกำไรสุทธิประจำปกี ็ได้ สว่ นเงิน
และดอกเบี้ยนั้นสหกรณ์จะจ่ายให้ตามระเบียบของ รับฝากและดอกเบี้ยนั้นสหกรณ์จะจา่ ยให้ตามระเบียบ สหกรณ์ ของสหกรณ์ ในกรณีสหกรณ์ขาดทุนสะสมหรือมีแนวโน้มจะ ขาดทุนสะสม ให้ชะลอการจ่ายคืนค่าหุ้นแก่สมาชิก - ข้อความเดิม - สมทบที่พ้นจากสมาชิกภาพในระหว่างปีจนกว่าจะปิด บัญชีประจำปี และให้คำนวณเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหนุ้ ที่จะจ่ายคืนแก่สมาชิกสมทบโดยนำทุนเรือนหุ้น ทั้งหมดหักดว้ ยขาดทุนสะสมคงเหลือและหนี้สินท้งั สน้ิ แล้วนำมาเฉลี่ยโดยใช้จำนวนหุ้นทั้งสิ้นเป็นฐานในการ คำนวณ ในการปรับลดมูลค่าต่อหุ้นที่จะจ่ายคืนแก่สมาชิก สหกรณ์ไม่ต้องทำการปรับปรุงบัญชีใด ๆ แต่ต้อง เปิดเผยการคำนาณมูลค่าเงินค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นที่จะ - ไมม่ ี - จ่ายคืนสมาชิกไว้ และให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบแสดง ความเห็นต่องบการเงิน สำหรับส่วนต่างของมูลค่าหุ้น ที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๕ ซึ่งอยู่ในบัญชีทุนเรือนหุ้น และเงนิ ค่าหุ้นจา่ ยคืนต่อหุ้นแก่สมาชิกในกรณีสหกรณ์ ขาดทนุ สะสมให้นำไปลดยอดบัญชีขาดทุนสะสม เมื่อสหกรณม์ กี ารคำนวณมลู คา่ เงนิ คา่ หุ้นจ่ายคืนต่อ หุ้นแล้ว ในปีต่อ ๆ ไป สหกรณ์ต้องคำนวณมูลค่าเงิน ค่าหุ้นจ่ายคืนต่อหุ้นให้เป็นปัจจุบันทุกปี และมูลค่า - ขอ้ ความเดมิ - ดงั กล่าวจะต้องไม่สูงกว่ามูลค่าต่อหนุ้ ที่กำหนดไว้ในข้อ ๕ จนกว่าสหกรณไ์ ม่มียอดขาดทนุ สะสม ข้อ ๖๕. การประชุมใหญ่โดยผู้แทนสมาชิก กรณีท่ี ข้อ ๖๕. การประชุมใหญ่โดยผู้แทนสมาชิก กรณีที่ สหกรณ์มีสมาชิกเกินกว่า………….คน ให้การประชุม สหกรณ์มีสมาชิกเกินกว่าสามพันคน ให้การประชุม กำหนดจำนวนผู้แทนสมาชกิ ใหญป่ ระกอบด้วยผ้แู ทนสมาชิกเท่านั้น ใหญ่ประกอบด้วยผู้แทนสมาชกิ เทา่ นัน้ ข้อ ๖๖. การเลือกตั้งและการดำรงตำแหน่งผู้แทน ข้อ ๖๖. การเลือกตั้งและการดำรงตำแหน่งผู้แทน สมาชิก สมาชกิ (๑) สมาชิกเท่านั้นมีสิทธิได้รับเลือกตั้งเป็นผู้แทน สมาชิก และให้ดำเนินการเลือกตั้งตามระเบียบของ - ขอ้ ความเดมิ - สหกรณ์ (๒) การเลือกตั้งผู้แทนสมาชิกคราวหนึ่ง ๆ ให้ กระทำในที่ประชุมกลุ่มก่อนการประชุมใหญ่สามัญ
ของสหกรณ์ไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และให้ประธาน กลุ่มหรือเลขานุการกลุ่ม (ถ้ามี) หรือตัวแทนกลุ่มแจ้ง - ข้อความเดิม - รายชื่อผู้แทนสมาชิกในกลุ่มของตนต่อสหกรณ์โดยมิ ชกั ชา้ (๓) ให้ที่ประชุมกลุ่มดำเนินการเลือกตั้งผู้แทน (๓) ใหท้ ปี่ ระชุมกลุ่มดำเนินการเลือกตง้ั ผู้แทนสมาชิก สมาชิก โดยอัตราส่วนจำนวนสมาชิก.......คนตอ่ ผู้แทน โดยอัตราส่วนจำนวนสมาชิกยี่สิบคนต่อผู้แทนสมาชกิ สมาชิกหนึ่งคน ถา้ เศษของอัตราส่วนดังกล่าวเกินก่ึงให้ หนึ่งคน ถ้าเศษของอัตราส่วนดังกล่าวเกินกึ่งให้ เลือกตั้งผู้แทนสมาชิกเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ในจำนวนน้ี เลือกตงั้ ผแู้ ทนสมาชกิ เพิ่มขึ้นอีกหนงึ่ คน ในจำนวนนใี้ ห้ ให้ประธานกลุ่ม (ถ้ามี) หรือตัวแทนกลุ่มเป็นผู้แทน ประธานกลุ่ม (ถา้ มี) หรอื ตัวแทนกลุ่มเปน็ ผแู้ ทนสมาชกิ สมาชิกโดยตำแหน่ง โดยให้นบั รวมอยใู่ นจำนวนผู้แทน โดยตำแหนง่ โดยให้นบั รวมอยูใ่ นจำนวนผ้แู ทนสมาชิก สมาชิกท่ีกลุ่มพึงเลอื กต้งั ได้ อนง่ึ จำนวนผ้แู ทนสมาชิก ที่กลุ่มพึงเลือกตั้งได้ อนึ่ง จำนวนผู้แทนสมาชิกจะมี จะมนี ้อยกว่าหนึง่ ร้อยคนไม่ได้ น้อยกว่าหน่งึ ร้อยคนไมไ่ ด้ (๔) ให้ผู้แทนสมาชิกอยู่ในตำแหน่งคราวละหนึ่งปี ทางบัญชีของสหกรณ์ ถ้ายังไม่มีการเลือกตั้งผู้แทน - ข้อความเดิม - สมาชิกใหม่ ก็ให้ผู้แทนสมาชิกคนเดิมอยู่ในตำแหน่ง ต่อไปพลางกอ่ น ๗๓. คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ เมื่อได้รับจดทะเบียนเป็น สหกรณ์แล้ว ให้คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์มีอำนาจหน้าท่ี และความรับผิดชอบเช่นเดียวกับคณะกรรมการ (ตดั ขอ้ น้ีออก) ดำเนินการ จนกว่าที่ประชุมใหญส่ ามัญครั้งแรก จะได้ เลือกตั้งคณะกรรมการดำเนินการขึ้น และให้คณะผู้ จัดตั้งสหกรณ์มอบหมายการ ทั ้งปวงใ ห ้ แ ก่ คณะกรรมการดำเนินการ ข้อ ๗๔. คณะกรรมการดำเนินการ ให้สหกรณ์มี ข้อ ๗๓. คณะกรรมการดำเนินการ ให้สหกรณ์มี คณะกรรมการดำเนินการประกอบด้วยประธาน คณะกรรมการดำเนินการประกอบด้วยประธาน กรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการ.............. กรรมการหน่ึงคน และกรรมการดำเนนิ การอีกสิบส่ีคน ซึง่ ทปี่ ระชุมใหญ่เลือกตงั้ จากสมาชกิ ซงึ่ ที่ประชมุ ใหญเ่ ลือกตง้ั จากสมาชกิ กำหนดจำนวนกรรมการ และ การเลือกตั้งคณะกรรมการตามวรรคแรกให้ การเลือกตั้งคณะกรรมการตามวรรคแรกให้ วธิ ีการเลือกต้ัง กระทำโดย................ และให้คณะกรรมการดำเนนิ การ กระทำโดยวธิ ีการลับ และให้คณะกรรมการดำเนินการ เลือกตั้งในระหว่างกันเองขึ้นดำรงตำแหน่งรอง เลือกตั้งในระหว่างกันเองขึ้นดำรงตำแหน่งรอง ประธานกรรมการคนหน่ึงหรอื หลายคน เลขานุการคน ประธานกรรมการคนหน่งึ หรอื หลายคน เลขานกุ ารคน หนึ่งและเหรญั ญิกคนหน่ึง นอกนั้นเป็นกรรมการ และ หนึ่งและเหรัญญิกคนหนึ่ง นอกนั้นเป็นกรรมการ และ
ปิดประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ณ สำนักงานสหกรณ์ ปิดประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ณ สำนักงานสหกรณ์ หรือประกาศทางอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื ประกาศทางอิเล็กทรอนิกส์ ขอ้ กำหนดต่าง ๆ เกีย่ วกับองค์ประกอบ คณุ สมบตั ิ การสมัคร การสรรหา และการดำเนินการเลือกตั้ง - ข้อความเดิม - คณะกรรมการดำเนินการ ให้เปน็ ไปตามทกี่ ำหนดไวใ้ น ระเบียบของสหกรณ์ ข้อ ๘๒. ความรับผิดของคณะกรรมการดำเนนิ การ ข้อ ๘๑. ความรับผิดของคณะกรรมการดำเนินการ ในกรณีคณะกรรมการดำเนินการหรือกรรมการ ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์ คณะกรรมการ กรทำการหรืองดเว้นการกระทำการ หรือกระทำการ ดำเนินการสหกรณ์ หรือกรรมการต้องปฏิบัติหน้าที่ให้ โดยประมาทเลินเล่อในการปฏิบัติหน้าท่ีของตนจนทำ เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขตแห่งการ ให้เสียผลประโยชน์ของสหกรณ์หรือสมาชิก อันเป็น ดำเนินกิจการที่จะพึงดำเนินการได้ของสหกรณ์ เหตุให้สหกรณ์มีข้อบกพร่องเกี่ยวกับการเงนิ การบัญชี ขอ้ บังคบั ของสหกรณ์ และมติที่ประชมุ ใหญ่ ทัง้ น้ี ด้วย หรือกิจการ หรือฐานะการเงิน ตามรายงานการสอบ ความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ บญั ชีหรอื รายงานการตรวจสอบ เป็นเหตุให้สหกรณ์ ของสหกรณห์ รือสมาชกิ ในกรณีคณะกรรมการดำเนินการหรือกรรมการ กรทำการหรืองดเว้นการกระทำการ หรือกระทำการ โดยประมาทเลนิ เล่อในการปฏิบัติหน้าที่ของตนจนทำ ให้เสียผลประโยชน์ของสหกรณ์ หรือสมาชิก อันเป็น เหตุใหส้ หกรณม์ ขี ้อบกพร่องเกย่ี วกบั การเงนิ การบัญชี หรือกิจการ หรือฐานะการเงินตามรายงานการสอบ บัญชี หรือรายงานการตรวจสอบเป็นเหตุให้สหกรณ์ ได้รับความเสียหาย คณะกรรมการดำเนินการและ กรรมการตอ้ งรบั ผดิ ชอบชดใช้คา่ เสยี หายแก่สหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ หรือ กรรมการ ต้องรับผิดร่วมกันในความเสียหายต่อสหกรณ์ในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) แสวงหาผลประโยชนโ์ ดยมิชอบ (๒) ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งนายทะเบียน สหกรณ์ (๓) ดำเนินกิจการนอกขอบวัตถุประสงค์ หรือ ขอบเขตแห่งการดำเนินกิจการที่จะพึงดำเนินการได้ ของสหกรณ์ เจ้าหนา้ ท่ขี องสหกรณ์ผใู้ ดมีส่วนรว่ มในการกระทำ ของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ หรือกรรมการ
อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่สหกรณ์ เจ้าหน้าที่ ของสหกรณ์ผู้นั้นต้องรับผิดร่วมกันกับคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ หรือกรรมการในความเสียหายตอ่ สหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ หรือกรรมการ ไม่ต้องรบั ผดิ ตามวรรคสอง ในกรณีดังตอ่ ไปน้ี (๑) พิสูจน์ได้ว่าตนมิได้ร่วมกระทำการอันเปน็ เหตใุ ห้เกดิ ความเสยี หายต่อสหกรณ์ (๒) ได้คัดค้านในที่ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณืหรือกรรมการ โดยปรากฎใน รายงานการประชุม หรือได้ทำคำคัดค้านเป็นหนังสือ ยื่นต่อประธานท่ปี ระชุมภายในสามวันนับแตส่ นิ้ สุดการ ประชมุ ข้อ ๘๓. คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการ ข้อ ๘๒. คณะกรรมการอำนวยการ คณะกรรมการ ดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการอำนวยการ จาก ดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการอำนวยการ จาก คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์จำนวน....คน โดยให้ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณจ์ ำนวนห้าคน โดยให้ เตมิ จำนวนคน ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เหรัญญิก ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เหรัญญิก และเลขานุการของคณะกรรมการดำเนินการเป็น และเลขานุการของคณะกรรมการดำเนินการเป็น กรรมการอำนวยการ และใหค้ ณะกรรมการดำเนินการ กรรมการอำนวยการ และให้คณะกรรมการดำเนนิ การ ตั้งกรรมการดำเนินการอื่นเป็นกรรมการร่วมอีกตาม ตั้งกรรมการดำเนินการอื่นเป็นกรรมการร่วมอีกตาม สมควร สมควร ให้ประธานกรรมการและเลขานุการ ให้ประธานกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการดำเนินการเป็นประธานและเลขานุการ คณะกรรมการดำเนินการเป็นประธานและเลขานุการ คณะกรรมการอำนวยการตามลำดบั คณะกรรมการอำนวยการตามลำดับ คณะกรรมการอำนวยการให้อยู่ในตำแหน่งได้ คณะกรรมการอำนวยการให้อยู่ในตำแหน่งได้ เท่ากับกำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนนิ การซงึ่ ตง้ั เทา่ กบั กำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนนิ การซึ่งตง้ั คณะกรรมการอำนวยการน้ัน คณะกรรมการอำนวยการนน้ั ให้คณะกรรมการอำนวยการประชุมกันตามคราว ให้คณะกรรมการอำนวยการประชุมกันตามคราว ตัดข้อความออก ที่มกี ิจธุระ แต่จะตอ้ งมีการประขุมกันเดือนละครั้งเป็น ที่มีกิจธุระ และให้ประธานกรรมการอำนวยการหรือ อย่างน้อย และให้ประธานกรรมการอำนวยการหรือ เลขานกุ ารนัดเรียกประชมุ ได้ เลขานกุ ารนัดเรยี กประชุมได้ ในการประชุมคณะกรรมการอำนวยการ ต้องมี กรรมการอำนวยการมาประชมุ ไม่น้อยกว่าก่ึงหนึง่ ของ - ข้อความเดิม - จำนวนกรรมการอำนวยการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ ประชุม
ข้อวินิจฉัยทั้งปวงของคณะกรรมการอำนวยการ - ขอ้ ความเดิม - ให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการในการประชุมคราว ถดั ไปทราบ ข้อ ๘๕. คณะกรรมการเงินกู้ คณะกรรมการ ข้อ ๘๔. คณะกรรมการเงินกู้ คณะกรรมการ ดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการเงินกู้จาก ดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการเงินกู้จาก คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณจ์ ำนวน....คน โดยให้ คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณจ์ ำนวนห้าคน โดยให้ เตมิ จำนวนคน มีตำแหน่งประธานกรรมการคนหนึ่ง และเลขานุการ มีตำแหน่งประธานกรรมการคนหนึ่ง และเลขานุการ คนหนง่ึ นอกนนั้ เปน็ กรรมการ คนหน่ึง นอกนัน้ เปน็ กรรมการ คณะกรรมการเงินกู้ให้อยู่ในตำแหน่งได้เท่ากับ - ข้อความเดมิ - กำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนินการ ซึ่งต้ัง คณะกรรมการเงินกนู้ ั้น ให้คณะกรรมการเงินกู้ประชุมกันตามคราวที่มีกิจ ให้คณะกรรมการเงินกู้ประชุมกันตามคราวที่มีกิจ ธุระ แต่จะต้องมีการประขุมกันเดือนละครั้งเป็นอย่าง ธรุ ะ และให้ประธานกรรมการเงินกู้ หรอื เลขานกุ ารนัด ตดั ข้อความออก น้อย และให้ประธานกรรมการเงินกู้ หรือเลขานุการ เรียกประชุมได้ นดั เรยี กประชมุ ได้ ในการประชุมคณะกรรมการเงนิ กู้ ต้องมกี รรมการ เงินกู้เข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน - ข้อความเดิม - กรรมการเงินกทู้ ้งั หมด จึงจะเป็นองคป์ ระชุม ข้อวินิจฉัยทั้งปวงของคณะกรรมการเงินกู้ ให้ - ข้อความเดมิ - นำเสนอคณะกรรมการดำเนินการทราบในการประชุม คราวถัดไป ข้อ ๘๗. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ ข้อ ๘๖. คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ คณะกรรมการดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการศึกษา คณะกรรมการดำเนินการอาจตั้งคณะกรรมการศึกษา และประชาสัมพันธ์จากคณะกรรมการดำเนินการ และประชาสัมพันธ์จากคณะกรรมการดำเนินการ สหกรณ์ จำนวน....คน โดยให้มีตำแหน่งเป็นประธาน สหกรณ์ จำนวนห้าคน โดยให้มีตำแหน่งเป็นประธาน เติมจำนวนคน กรรมการคนหนึ่งและเลขานุการคนหนึ่ง นอกนั้นเป็น กรรมการคนหนึ่งและเลขานุการคนหนึ่ง นอกนั้นเป็น กรรมการ กรรมการ คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ให้อยู่ใน - ขอ้ ความเดิม – ตำแหน่งได้เท่าที่กำหนดเวลาของคณะกรรมการ ดำเนินการซึ่งตั้งคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสมั พันธน์ ้นั ให้คณะกรรมการศกึ ษาและประชาสมั พนั ธป์ ระชุม ใหค้ ณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ประชุม กันตามคราวที่มีกิจธุระ แต่จะต้องมีการประขุมกัน กันตามคราวที่มีกิจธุระ และให้ประธานกรรม ตัดขอ้ ความออก เดือนละครั้งเป็นอย่างน้อย และให้ประธานกรรม
การศึกษาและประชาสัมพันธ์หรือเลขานุการนัดเรียก การศึกษาและประชาสัมพันธ์หรือเลขานุการนัดเรียก ประชมุ ได้ ประชุมได้ ในการประชุมคณะกรรมการศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า - ขอ้ ความเดิม - กึ่งจำนวนของกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ ท้ังหมด จึงจะเปน็ องค์ประชุม ให้คณะกรรมการศึกษาและประชาสัมพันธ์ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านใหค้ ณะกรรมการดำเนินการ - ขอ้ ความเดมิ - ทราบในการประชมุ คราวถดั ไป ข้อ ๘๘. คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ให้ ระเบียบนายทะเบยี นสหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ ว่าด้วยการรบั จดทะเบยี น - ไม่มี - เปน็ คณะอนุกรรมการบรหิ ารความเสี่ยง จำนวนห้าคน ข้อบังคบั เก่ยี วกับ - ไม่มี - โดยให้มีตำแหน่งประธานกรรมการคนหนึ่งและ คณะอนุกรรมการกบรหิ าร เลขานุการคนหน่ึง นอกนัน้ เป็นอนุกรรมการ ความเสยี่ ง และ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร อ า จ ะ แ ต ่ งต้ั ง คณะอนกุ รรมการการลงทุน บุคคลภายนอกที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษา พ.ศ. ๒๕๖๔ คณะอนกุ รรมการได้ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ใน ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ ตำแหน่งได้เท่ากับกำหนดเวลาของคณะกรรมการ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ดำเนินการซึ่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความ เสีย่ งนน้ั ราชกจิ จานุเบกษา หนา้ ๗ ให้คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงประชุมกัน เลม่ ๑๓๘ ตอนพเิ ศษ ๑๖๖ ง ตามคราวที่มีกิจธุระ และให้ประธานอนุกรรมการ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔ บรหิ ารความเสยี่ ง หรอื เลขานุการนัดเรยี กประชุมได้ ในการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารความเสีย่ ง ต้องมีอนุกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จำนวนอนกุ รรมการทง้ั หมด จงึ จะเป็นองค์ประชุม ข้อวินิจฉันทั้งปวงของคณะอนุกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการในการ ประชุมคราวถดั ไปทราบและพิจารณา ข้อ ๘๙. อำนาจหน้าที่ของอนุคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ให้คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงมี อำนาจและหน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมาย
- ไมม่ ี - ข้อบังคบั ระเบียบ มติ และคำสั่งของสหกรณใ์ นส่วนที่ - ไม่มี – เกย่ี วข้อง ซงึ่ รวมทัง้ ในข้อตอ่ ไปน้ี (๑) ศึกษา วิเคราะห์ และกำหนดนโยบายการ บริหารความเสี่ยงเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ดำเนินการพิจารณา โดยครอบคลุมถึง ความเสี่ยง ประเภทต่าง ๆ เช่น ความเสี่ยงด้านสินเชื่อ การลงทนุ สภาพคล่อง ปฏบิ ัติการและด้านอน่ื ๆ ให้สอดคลอ้ งกับ กลยุทธ์เสนอคณะกรรมการดำเนินการอนมุ ัติ (๒) มีอำนาจตัดสินใจในการดำเนินการใด ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบที่ คณะกรรมการดำเนนิ การกำหนด (๓) ประเมิน ตดิ ตาม กำกับดแู ล และทบทวนความ เพียงพอของนโยบายเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง เพื่อให้กระบวนการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล (๔) รายงานแผนดำเนินงานที่ควรปรับปรุงแก้ไข ต ล อ ด จ น ป ั จ จ ั ย แ ล ะ ป ั ญ ห า ท ี ่ ม ี น ั ย ส ำ ค ั ญ ใ ห ้ แ ก่ คณะกรรมการดำเนินการ เพื่อให้สอดคล้องกับการ ดำเนนิ กิจการของสหกรณ์ (๕) กำกับดูแลเรื่องธรรมาภิบาลเกี่ยวกับการ บริหารความเสี่ยง (๖) รายงานผลการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการ ดำเนินการและต่อที่ประชุมใหญ่ทราบโดยแสดง รายละเอียดในรายงานประจำปี (๗) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ ดำเนินการมอบหมาย ข ้ อ ๙๐. คณะ อ น ุ ก รรม ก าร ก ารล งทุ น ให้ คณะกรรมการดำเนินการแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ เป็นคณะอนกุ รรมการการลงทนุ จำนวนห้าคน โดยให้ มีตำแหน่งประธานกรรมการคนหนง่ึ และเลขานกุ ารคน หนึ่ง นอกนนั้ เป็นอนุกรรมการ
- ไมม่ ี - ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เ น ิ น ก า ร อ า จ ะ แ ต ่ งตั้ ง - ไม่มี - บุคคลภายนอกที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการได้ คณะอนุกรรมการการลงทุนให้อยู่ในตำแหน่งได้ เท่ากับกำหนดเวลาของคณะกรรมการดำเนินการซึ่ง แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการการลงทุนนน้ั ให้คณะอนุกรรมการการลงทุนประชุมกันตาม คราวที่มีกิจธุระ และให้ประธานอนุกรรมการการ ลงทนุ หรอื เลขานุการนดั เรียกประชุมได้ ในการประชุมคณะอนุกรรมการการลงทุน ต้องมี อนุกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน อนุกรรมการท้ังหมด จงึ จะเป็นองคป์ ระชมุ ข้อวินิจฉันทั้งปวงของคณะอนุกรรมการบริหาร ความเสี่ยง ให้เสนอคณะกรรมการดำเนินการในการ ประชมุ คราวถัดไปทราบและพิจารณา ข้อ ๙๑. อำนาจหน้าที่ของอนุคณะกรรมการการ ลงทุน ให้คณะอนุกรรมการการลงทุนมีอำนาจและ หน้าที่ดำเนินกิจการตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำส่งั ของสหกรณ์ในสว่ นที่เกย่ี วขอ้ ง ซึง่ รวมท้งั ในข้อต่อไปนี้ (๑) ศกึ ษา วิเคราะห์ และกำหนดนโยบายและแผน เกี่ยวกับการลงทุนประจำปีให้สอดคล้องกับนโยบาย ด้านการบริหารความเสี่ยงโดยรวม และเสนอ คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเพื่อเสนอให้ท่ี ประชมุ ใหญอ่ นมุ ัติ (๒) พิจารณาอนมุ ัติแผนการลงทุนและแผนจัดการ การลงทุน ภายใต้ขอบเขตท่ีคณะกรรมการดำเนินการ กำหนด (๓) ประเมิน ติดตาม และกำกับดูแลผลประโยชน์ จากการลงทุน และจัดให้มคี วบคุมภายในที่เหมาะสม (๔) กำกับดแู ลเรอ่ื งธรรมาภบิ าลเกีย่ วกับการลงทุน
(๕) รายงานผลการปฏิบัติงานให้คณะกรรมการ ดำเนินการทราบและรายงานผลการปฏิบัติงานให้ที่ ประชมุ ใหญ่ทราบในรายงานประจำปี (๖) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการ ดำเนนิ การมอบหมาย ข้อ ๙๖. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ ข้อ ๙๙. อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ ผู้จัดการ ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการทั่วไป ผู้จัดการ ผู้จัดการมีอำนาจหน้าที่ในการจัดการทั่วไป และรับผิดชอบเกี่ยวกับบรรดากิจการประจำของ และรับผิดชอบเกี่ยวกับบรรดากิจการประจำของ สหกรณ์ รวมทั้งในข้อต่อไปนี้ สหกรณ์ รวมทั้งในขอ้ ตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจสอบการสมัครเข้าเป็นสมาชิกให้เป็นการ ถูกต้อง ตลอดจนเป็นธุระจัดให้ผู้เข้าเป็นสมาชิกลง ลายมือชื่อในทะเบียนสมาชิก และชำระค่าธรรมเนียม แรกเขา้ กบั เงินค่าหนุ้ ตามขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์ (๒) ควบคุมให้มีการเก็บเงินค่าหุ้นรายเดือน แจ้ง ยอดจำนวนห้นุ จา่ ยคืนคา่ หุ้นและชกั ชวนการถือหุ้นใน (๑) – (๑๙) ขอ้ ความเดิม สหกรณ์ (๓) รับฝากเงิน จ่ายคืนเงินฝาก และส่งเสริมการ รับฝากเงินของสหกรณ์ (๔) เป็นธุระในการตรวจสอบคำขอกู้ จ่ายเงินกู้ จัดทำเอกสารเกี่ยวกับเงินกู้ให้เป็นไปตามแบบและ ระเบียบของสหกรณ์ (๕) จัดทำรายละเอียดของสมาชิกรายตัวเกี่ยวกับ เงินค่าหุ้น และเงินให้กู้ทุกหกเดือน พร้อมกับแจ้งให้ สมาชิกทราบเปน็ รายบุคคล (๖) พิจารณาจัดจ้างเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ตาม อำนาจหน้าที่ที่กำหนดในระเบียบของสหกรณ์รวมถึง กำหนดหน้าที่และวิธีปฏิบัติงานของบรรดาเจ้าหน้าที่ ของสหกรณ์ ตลอดจนเป็นผู้บังคับบัญชาและ รับผิดชอบดูแลการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่เหล่าน้ัน ใหเ้ ปน็ ไปโดยถกู ตอ้ งเรยี บรอ้ ย (๗) เป็นธุระกวดขนั ในเรือ่ งการออกใบรับ เรียกใบ รับ หรือจัดให้มีใบสำคัญโดยครบถ้วน รับผิดชอบใน การรบั จ่ายเงินของสหกรณ์ใหเ้ ปน็ การถูกตอ้ ง รวบรวม ใบสำคัญและเอกสารต่าง ๆ เกี่ยวกับการเงินไว้โดย
ครบถ้วน และเก็บรักษาเงินของสหกรณ์ให้เป็นไป ตามที่กำหนดไวใ้ นระเบียบของสหกรณ์ (๘) รับผิดชอบและดูแลในการจัดทำบัญชี และ ทะเบียนต่าง ๆ ของสหกรณ์ให้ถูกต้องครบถ้วนและเป็น ปัจจบุ ัน (๙) ติดต่อประสานงานกับเลขานุการในการนัด เรียกประชุมใหญ่ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และประชมุ คณะกรรมการอ่ืน ๆ (๑๐) รับผิดชอบจัดทำงบการเงินประจำปีและ รายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานของสหกรณ์ เสนอคณะกรรมการดำเนินการพิจารณา เพื่อเสนอตอ่ ท่ีประชุมใหญ่อนุมัติ (๑๑) จัดทำแผนงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีของสหกรณ์เสนอคณะกรรมการดำเนินการ พจิ ารณา เพื่อเสนอให้ท่ีประชมุ ใหญ่อนุมตั ิ (๑๒) จัดทำแผนปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ให้ สอดคล้องกบั แผนงานท่ีไดร้ บั อนมุ ตั ิจากท่ปี ระชมุ ใหญ่ (๑๓) เข้าร่วมประชุมและช้ีแจงในการประชุมใหญ่ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และประชุม คณะกรรมการอื่น ๆ เว้นแต่กรณีซึ่งที่ประชุมนั้น ๆ มิ ให้เขา้ ร่วมประชมุ (๑๔) ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานสารบรรณของ สหกรณ์ (๑๕) รักษาดวงตราของสหกรณ์ และรับผิดชอบ ตรวจตราดูแลทรัพย์สินต่าง ๆ ของสหกรณ์ให้อยู่ใน สภาพอนั ดแี ละปลอดภัย (๑๖) เสนอรายงานกิจการประจำเดือนของ สหกรณ์ต่อคณะกรรมการดำเนินการ (๑๗) เสนอรายการหรือรายงานของสหกรณ์ต่อ ทางราชการ ตามแบบและระยะเวลาที่ทางราชการ กำหนด (๑๘) ค้ำประกันเงินกู้ที่สหกรณ์กู้ยืมจากกรม ส่งเสริมสหกรณ์ โดยรับผดิ ชอบการค้ำประกันในฐานะ ส่วนตัว
(๑๙) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการ ดำเนินการ หรือคณะกรรมการอื่น ๆ ของสหกรณ์ มอบหมาย หรือตามที่ควรกระทำเพื่อให้กิจการใน หนา้ ท่ีลุลว่ งไปดว้ ยดี ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์ ผู้จัดการต้อง ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ขอบเขตแห่งการดำเนินกิจการ ที่จะพึงดำเนินการได้ ของสหกรณ์ ข้อบังคับของสหกรณ์ และมติที่ประชุม ใหญ่ทั้งนี้ ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง ผลประโยชนข์ องหสกรณห์ รือสมาชกิ ผู้จัดการต้องรับผิดร่วมกันในความเสียหายต่อ สหกรณใ์ นกรณีดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) แสวงหาผลประโยชนโ์ ดยมชิ อบ (๒) ไมป่ ฏบิ ตั ิหน้าที่ตามคำส่งั นายทะเบยี นสหกรณ์ (๓) ดำเนินกิจการนอกขอบวัตถุประสงค์ หรือ ขอบเขตแห่งการดำเนินกิจการที่จะพึงดำเนินการได้ ของสหกรณ์ เจ้าหนา้ ท่ีของสหกรณผ์ ้ใู ดมสี ว่ นรว่ มในการกระทำ ของผู้จัดการ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ สหกรณ์ เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ผู้นั้นต้องรับผิดร่วมกัน กบั ผ้จู ัดการ ในความเสยี หายตอ่ สหกรณ์ ผู้จัดการไม่ต้องรับผิดตามมาตรา ๕๑/๒ ในกรณี ดงั ต่อไปน้ี (๑) พิสูจน์ได้ว่าตนมิได้ร่วมกระทำการอันเป็น เหตุใหเ้ กดิ ความเสียหายตอ่ สหกรณ์ (๒) ได้คัดค้านในที่ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการสหกรณ์ โดยปรากฎในรายงานการประชมุ หรือได้ทำคำคัดค้านเป็นหนังสือยื่นต่อประธานที่ ประชุมภายในสามวนั นับแต่สิ้นสดุ การประชมุ ข้อ ๙๗. การพ้นจากตำแหน่งของผู้จัดการ ผู้จัดการ ข้อ ๑๐๐. การพน้ จากตำแหนง่ ของผู้จัดการ ผู้จดั การ ของสหกรณ์ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอย่างหนึ่ง ของสหกรณ์ต้องพ้นจากตำแหน่งด้วยเหตุอย่างหนึ่ง อยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี อย่างใด ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ตาย - ข้อความเดมิ -
(๒) ลาออกโดยแสดงความจำนงทำเป็นหนังสือต่อ - ขอ้ ความเดิม - คณะกรรมการดำเนนิ การ (๓) ขาดคุณสมบัติตามระเบยี บของสหกรณ์ หรอื มี - ข้อความเดมิ - ลักษณะต้องห้ามตามที่ข้อบังคับและกฎหมายสหกรณ์ กำหนด (๔) อายุครบ ๖๕ ปีบริบูรณ์ และให้พ้นจาก เสนอตามมติทป่ี ระชมุ (๔) อายุครบ ๖๐ ปีบริบรู ณ์ หรือครบกำหนดตาม ตำแหน่งในวันสิ้นปีทางบัญชีนั้น หรือครบกำหนดใน คณะกรรมการแกไ้ ขขอ้ บงั คบั สัญญาจา้ ง สดุ แต่เงือ่ นไขใดถึงกำหนดก่อน และให้พ้น จากตำแหน่งในวันสิ้นปีทางบัญชีที่อายุครบ ๖๐ ปี สัญญาจ้างสุดแตเ่ งอ่ื นไขใดถงึ กำหนดกอ่ น บริบูรณ์ (๕) ถกู เลิกจา้ ง - ขอ้ ความเดมิ - (๖) ถูกลงโทษให้ออกหรือไล่ออก หรือมีพฤติกรรม อันแสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ว่าได้กระทำการหรือละ เว้นการกระทำการใด ๆ อนั อาจทำให้เกิดความไม่สงบ - ข้อความเดมิ - เรียบร้อยและศีลธรรมอันดีแก่ประชาชน หรือไม่ เหมาะสมกับตำแหน่งหนา้ ท่ผี จู้ ดั การสหกรณ์ ข้อ ๑๐๔. ผู้ตรวจสอบกิจการ ให้ที่ประชุมใหญ่ ข้อ ๑๐๗. ผู้ตรวจสอบกิจการ ให้ที่ประชุมใหญ่ เลือกตั้งสมาชิกหรือบุคคลภายนอกซึ่งเป็นบุคคล เลือกตั้งสมาชิกหรือบุคคลภายนอกซึ่งเป็นบุคคล ธรรมดา หรือนิติบุคคล และเป็นผู้มีคุณวุฒิความรู้ ธรรมดา และเป็นผู้มีคุณวุฒิความรู้ความสามารถใน ตัดคำวา่ หรอื นติ ิบุคคล ออก ความสามารถในด้านการเงิน การบัญชี การ ด้านการเงิน การบัญชี การบรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตร์ บรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตร์ การสหกรณ์ หรอื กฎหมาย การสหกรณ์ หรือกฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ งกับสหกรณ์ และ ที่เกี่ยวข้องกับสหกรณ์ และมีคุณสมบัติเปน็ ผู้ผ่านการ มีคุณสมบัติเป็นผู้ผ่านการอบรมการตรวจสอบกิจการ อบรมการตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจบัญชี จากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หรือหน่วยงานอื่นที่ได้รบั สหกรณ์ หรือหน่วยงานอื่นที่ได้รับการรับรอง การรับรองหลักสูตรจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ หลักสูตรจากกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ รวมทั้งไม่มี รวมทั้งไม่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบนาย ลักษณะต้องห้ามตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ทะเบียนสหกรณ์ เป็นผู้ตรวจสอบกิจการ ของ เป็นผู้ตรวจสอบกิจการ ของสหกรณ์ จำนวน....... สหกรณ์ จำนวนสองคน หรือคณะผู้ตรวจสอบกิจการ ระบจุ ำนวนคน หรือคณะผ้ตู รวจสอบกจิ การไม่เกนิ ..........คน ไม่เกนิ สองคน กรณีเลือกคณะผู้ตรวจสอบกิจการให้มีประธาน คณะหนึ่งคน และต้องเป็นผู้มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ปริญญาตรีด้านการเงิน การบัญชี การบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ มีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานให้ - ข้อความเดิม - บรรลุวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบกิจการ และให้ ประกาศชื่อประธานคณะผู้ตรวจสอบกิจการให้ท่ี ประชมุ ใหญท่ ราบด้วย
ข้อ ๑๐๕. ขั้นตอนและวิธีการเลือกตั้งผู้ตรวจสอบ ข้อ ๑๐๘. ขั้นตอนและวิธีการเลือกตั้งผู้ตรวจสอบ กิจการ ให้คณะกรรมการดำเนินการประกาศขั้นตอน กิจการ ให้คณะกรรมการดำเนินการประกาศขั้นตอน และวิธีการเลือกตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรให้สมาชิก และวิธีการเลือกตั้งเป็นลายลักษณ์อักษรให้สมาชิก ทราบก่อนวันประชุมใหญ่ และให้ประกาศรับสมัคร ทราบก่อนวันประชุมใหญ่ และให้ประกาศรับสมัคร บุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจสอบกิจการก่อน บุคคลเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจสอบกิจการก่อน วันประชุมใหญ่ และพิจารณาคัดเลือกผู้ตรวจสอบ วันประชุมใหญ่ และพิจารณาคัดเลือกผู้ตรวจสอบ กิจการที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม กิจการที่มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม ระเบียบรายทะเบยี นสหกรณ์กำหนด เพ่ือนำเสนอชอ่ื ผู้ ระเบยี บรายทะเบยี นสหกรณก์ ำหนด เพอ่ื นำเสนอชื่อผู้ ที่ผ่านการคัดเลือกให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งตาม ที่ผ่านการคัดเลือกให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งตาม ประกาศ โดยผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจ ประกาศ โดยผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจ สอบกิจการต้องแสดงตนต่อที่ประชุมใหญ่ด้วย และให้ สอบกิจการต้องแสดงตนต่อที่ประชุมใหญด่ ้วย และให้ ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคะแนนสูงสุดเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคะแนนสูงสุดเป็นผู้ตรวจสอบกิจการ หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสียงเพิม่ อกี หากมีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานออกเสยี งเพิม่ อกี หนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ทั้งนี้ ให้ผู้ที่ได้รับเลือกต้ัง หนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด ทั้งนี้ ให้ผู้ที่ได้รับเลือกต้ัง ลำดับคะแนนรองลงมาเป็นผู้ตรวจสอบกิจการสำรอง ลำดับคะแนนรองลงมาเป็นผู้ตรวจสอบกิจการสำรอง .................คน จำนวนไม่เกินสองคน ระบจุ ำนวนคน กรณีมีผูต้ รวจสอบกิจการคนใดตอ้ งพ้นจากตำแหน่ง ตามข้อ ๑๑๐ (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) ให้ผู้ตรวจสอบ กิจการสำรองเข้าปฏิบัติหน้าที่ได้ทันทีเท่าระยะเวลาท่ี - ขอ้ ความเดมิ - เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน หรือจนกว่าจะมีการเลือกตั้ง ผ้ตู รวจสอบกิจการใหม่ ข้อ ๑๐๖. การดำรงตำแหน่งผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ ข้อ ๑๐๙. การดำรงตำแหน่งผู้ตรวจสอบกิจการ ผู้ ตรวจสอบกิจการอยู่ในตำแหน่งได้มีกำหนดเวลา.....ปี ตรวจสอบกิจการอยู่ในตำแหน่งได้มีกำหนดเวลาสองปี ระบุจำนวนปี บัญชีสหกรณ์ เมื่อครบกำหนดเวลาแล้วยังไม่มีการ บัญชีสหกรณ์ เมื่อครบกำหนดเวลาแล้วยังไม่มีการ เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการคนใหม่ ก็ให้ผู้ตรวจสอบ เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการคนใหม่ ก็ให้ผู้ตรวจสอบ กิจการคนเดิมปฏิบัติหน้าที่อยู่ต่อไปจนกว่าที่ประชุม กิจการคนเดิมปฏิบัติหน้าที่อยู่ต่อไปจนกว่าที่ประชุม ใหญม่ มี ติเลอื กตั้งผตู้ รวจสอบกจิ การคนใหม่ ใหญ่มมี ตเิ ลือกตง้ั ผู้ตรวจสอบกจิ การคนใหม่ ผู้ตรวจสอบกิจการที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระ ผู้ตรวจสอบกิจการที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระ อาจจะได้รับเลอื กตงั้ จากทป่ี ระชุมใหญ่อีกได้แต่ต้องไม่ อาจจะได้รบั เลือกตั้งจากทีป่ ระชมุ ใหญ่อีกได้แต่ต้องไม่ เกินสองวาระติดต่อกนั เกินสองวาระติดตอ่ กนั ก ร ณ ี ผ ู ้ ต ร ว จ ส อ บ ก ิ จ ก า ร ข า ด จ า ก ก า ร เ ป ็ น ผู้ ตรวจสอบกิจการก่อนครบวาระ ให้กำหนดระเบียบ วาระการประชุมใหญ่เพื่อเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการ - ข้อความเดมิ - คนใหม่ ในคราวประชุมใหญ่ครั้งแรกหลักจากผู้ ตรวจสอบกิจการคนนั้นขาดจากการเป็นผู้ตรวจสอบ
กิจการ และนับวาระการดำรงตำแหน่งของผู้แทน ตอ่ เนอ่ื งจากผูท้ ่ีตนมาดำรงตำแหนง่
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: