Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3 วินัย (นักธรรมโท)_281-358 หน้า

3 วินัย (นักธรรมโท)_281-358 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 08:25:31

Description: 3 วินัย (นักธรรมโท)_281-358 หน้า

Search

Read the Text Version

 3๓3๒1๗ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ เรยี กวา่ เตวาจิกาญัตติ เมอื ตงั ญตั ตอิ ยา่ งนีตอ้ งปวารณา ๓ หน จะลด ไมค่ วร ๒. ถาปวารณา ๒ หน พึงตั้งญัตติเหมือนกันนั้น แตเปล่ียนคําลงทายวา “สงฺโฆ เทฺว วาจิกํ ปวาเรยฺย.” แปลวา “สงฆพึงปวารณา ๒ หน” อยางน้ีเรียกวา เทววาจิกาญัตติ จะปวารณา ๒ หน หรือมากกวานนั้ ได แตจะลดไมควร ๓. ถาจะปวารณาหนเดียว พึงตั้งญัตติลงทายวา “สงฺโฆ เอกวาจิกํ ปวาเรยฺย.” แปลวา “สงฆพึงปวารณาหนเดียว” อยางน้ีเรียกวา เอกวาจิกาญัตติ จะปวารณาหนเดียว หรือ มากกวา น้ันได แตผูมพี รรษาเทากัน จะปวารณาพรอ มกนั ไมควร ๔. ถาจัดภิกษุมีพรรษาเทากันใหปวารณาพรอมกัน พึงต้ังญัตติลงทายวา “สงฺโฆ สมานวสสฺ ิกํ ปวาเรยฺย.” แปลวา “สงฆพึงปวารณามีพรรษาเทากัน” อยางนี้เรียกวา สมาน- วสั สิกาญตั ติ ภกิ ษมุ ีพรรษาเทากันปวารณาพรอ มกนั ๓ หน ๒ หน หรอื หนเดียวไดทัง้ นน้ั ๕. ถาจะไมระบุประการ พึงตั้งครอบท่ัวไปทั้งต้ังญัตติ ลงทายวา “สงฺโฆ ปวาเรยฺย.” แปลวา “สงฆพึงปวารณา” อยางนี้เรียกวา สัพพสังคาหิกาญัตติ จะปวารณาก่ีหน ไดทั้งน้ัน แตหา มภิกษุผมู ีพรรษาเทากันปวารณาพรอ มกัน อันตราย ๑๐ อยาง โดยท่ีสุดแมทายกมาทําบุญหรือฟงพระธรรมเทศนาอยูจนสวาง ทา นใหถ อื เปนเหตุขดั ของได คาํ ปวารณาของภกิ ษุผูเปน เถระ วา ดังน้ี “สงฺฆํ อาวุโส ปวาเรมิ, ทิฏฺเฐน วา สุเตน วา ปริสงฺกาย วา วทนฺตุ มํ อายสฺมนฺโต อนุกมปฺ ํ อปุ าทาย, ปสสฺ นฺโต ปฏิกฺกริสสฺ ามิ” แปลวา “เธอ ฉันปวารณาตอสงฆ ดวยไดเห็นก็ดี ดวยไดฟงก็ดี ดวยสงสัยก็ดี ขอทานท้ังหลายจงอาศัยความกรุณา วากลาวฉัน ฉันเห็นอยูจักทํา คนื ” ภิกษุอ่ืนพึงปวารณาตามลําดับพรรษาทีละรูป เวนไวแตคราวใหผูมีพรรษาเทากัน ปวารณา พรอ มกัน โดยเปล่ยี นใชคําวา “ภนฺเต” แทนคําวา “อาวุโส” ในคราวนําปวารณาของภิกษุอ่ืนมา ผูนําควรจะปวารณาแทนภิกษุน้ัน เมื่อถึงลําดับเธอ (ตัวอยางคาํ ปวารณาพึงดูในวนิ ยั มขุ เลม ๒) เหตุยกข้ึนอางในการเลื่อนปวารณามี ๒ คือ (๑) มีภิกษุจะเขาสมทบดวย เพื่อหมาย จะคดั คา นผูน ั้นผูนี้ เพ่ือใหเกิดอธิกรณข้ึน (๒) อยูดวยกันเปนผาสุก ปวารณาแลวตางจะจาริกไป ทอี่ ืน่ เสยี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 331

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 332 332

 3๓3๒3๙ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ กณั ฑท่ี ๑๘ อปุ ปถกิริยา การกระทาํ นอกลูน อกทาง คอื การประพฤตินอกรีตนอกรอยของสมณะ เรียกวา อุปปถกิริยา ทานจาํ แนกใหศ ึกษา ๓ ประเภท คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. อนาจาร คือ ความประพฤติไมด ไี มงามและการเลน มปี ระการตา ง ๆ ๒. ปาปสมาจาร คือ ความประพฤตเิ ลวทราม ๓. อเนสนา คอื การเลย้ี งชพี ไมสมควร อนาจาร อนาจาร คือ ความประพฤติไมดีไมงาม และการละเลนตางๆ แบงเปน ๓ ประเภท คือ (๑) การเลนอยา งตา งๆ (๒) การรอ ยดอกไม (๓) การเรยี นเดรจั ฉานวิชา (หรือดิรัจฉานวชิ า) การเลนอยางตาง ๆ มี ๕ ประเภท คือ (๑) การเลนอยางเด็ก เชน เลนเรือนเล็กๆ รถเล็กๆ เรือเล็กๆ ผิวปากเลน (๒) การเลนคะนอง เชน เลนปลํ้ากัน ชกกัน (๓) การเลนพนัน 333

3๓๓3๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เชน หมากรุก สกา เปนตน (๔) การเลนปูยีป่ ูยํา คือทําความเสียหายใหแกผูอื่น เชน จุดไฟเผาปาเลน (๕) การเลนอึงคะนงึ เชน การสวดการแสดงธรรมดว ยเสียงขับยดื ยาว การเทศนต ลกคะนอง เมื่อภิกษเุ ลนอยา งตา ง ๆ ท้งั ๕ ประเภทนี้ ทานปรับดว ยอาบตั ิทกุ กฏ การรอยดอกไม (บุปผวิกัติ) มี ๖ ชนิด คือ (๑) คนฺถิมํ รอยตรึง ไดแก ดอกไม ที่เรียกวาระเบียบ ใชดอกมะลิเปนตนเสียบเขาในระหวางใบตองที่เจียนไวแลวตรึงใหติดกัน โดยรอบ แลว รอยผสมกับอยา งอนื่ เปนพวง (๒) โคปฺผมิ ํ รอ ยควบหรือรอยคมุ ไดแก ดอกไมท่ีรอย เปนสาย ๆ แลวตามหรือคุมเขาเปนพวง (๓) เวธิมํ รอยแทงหรือรอยเสียบ ไดแก ดอกไมท่ีรอย สวมดอก (๔) เวถมิ ํ รอยพันหรือรอยผูก ไดแก ชอดอกไม และกลุมดอกไมที่เขาเอาไมเสียบกาน ดอกไมแลว พนั ดว ยดา ยหรือผูกทําขึ้น (๕) ปรุ ิมํ รอยวง ไดแก ดอกไมท่รี อยสวมดอกหรือรอยแทง กานเปนสายแลวผูกเขาเปนวง ท่ีเรียกวาพวงมาลัย (๖) วายิมํ รอยกรอง ไดแกดอกไมที่รอยถัก เปน ตาขา ย การรอยดอกไมทั้ง ๖ ชนิดน้ี ทานหามทง้ั นนั้ และปรับเปนอาบตั ิทกุ กฏ เดรัจฉานวิชา หมายถึง วิชาความรูท่ีขวางทางไปสูสวรรคและนิพพาน หรือวิชาที่ไมอาจ นําไปสูการบรรลุมรรคผลนิพพานได วิชานี้อาจจะยังผลใหสําเร็จไดบาง เพราะอํานาจจิตที่เปน สมาธิ แตก็เปนไปในทางที่ช่ัวที่ทุจริต เปนบอเกิดแหงอกุศลกรรม มีโลภ โกรธ หลงเปนตน เปนเหตุ เชน วิชาความรูในการเปนหมอดูทํานายตาง ๆ อันไมกอใหเกิดประโยชนท้ังแกตนและ ผอู ่นื เพราะเมื่อเรยี นหรือใชปฏบิ ัติ ตนเองก็หลงเพลนิ หมกมุนท้ังทําใหผอู ืน่ ลมุ หลงงมงาย เปนอัน ปฏิเสธกรรม ไมเปนอันปฏิบัติกิจหนาท่ีและประกอบการตามเหตุผล ทานจําแนกไว ๕ ประเภท คือ (๑) ความรูในการทําเสนหเพื่อใหชายน้ันหญิงน้ีรักกัน (๒) ความรูในการทําใหผูน้ันผูนี้ถึง ความวิบัติ (๓) ความรูในทางใชภูตผีอิทธิฤทธ์ิเดชตาง ๆ (๔) ความรูในทางทํานายทายทัก เชน บอกใบใหเลขหวย (๕) ความรูในอันจะนําใหหลงงมงาย เชน หุงปรอทใหมีอิทธิฤทธิ์ หุงเงินหรือ ทองแดงใหเปน ทองคําท่ีเรียกวา เลน แรแปรธาตุ ความรูเหลาน้ี ที่ทานเรียกวาเดรัฐฉานวิชา เพราะเปนความรูท่ีเขาสงสัยวาลวงหรือหลง ไมใชความรูจริงจัง ผูบอกเปนผูลวง ผูเรียนก็เปนผูหัดเพื่อจะลวงหรือเปนผูหลงงมงาย ดังนั้น พระพทุ ธองคจงึ ทรงหา มภิกษุเกี่ยวของท้งั การเรยี นการสอน ปาปสมาจาร การประพฤติมิชอบ และไมสมควรตอคฤหัสถท่ีตนคบและสมาคม ที่เรียกวาภิกษุ ผูประทุษรา ยสกุล ทา นจําแนกประเภทไว ดงั น้ี 334

 3๓3๓5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๑. ใหของกาํ นลั แกบุคคลในสกลุ อยา งคฤหสั ถเ ขาทํากัน เชน ใหด อกไม เปน ตน ๒. ทําสวนดอกไมไว ตลอดถึงรอ ยดอกไมไ วเ พ่อื บาํ เรอเขา ๓. แสดงอาการประจบเขา เม่ือเขาไปสูสกุล เชน พูดประจอประแจเอาใจ และอุมเด็ก ผูเ ปนบตุ รหลานเขา ๔. ยอมตวั ลงใหเขาใชสอยไปโนนไปนี่ ทําอยางนั้นอยางน้ีนอกกิจพระศาสนา การติดสอย หอยตามเขาไปกร็ วมเขาในขอน้ี (แตจ ะรับธรุ ะเขาในทางกจิ พระศาสนา เชน เขาตองการฟงธรรม ชวยนิมนตพระเทศนใ ห เปนตน ทา นวา ไมม ีโทษ หรือธรุ ะของโยมมารดา บิดา คนเตรียมมาบวช คนจะขอบวชท่ีเรียกวา ปณฑุปลาส และไวยาวัจกรของตน แมเปนธุระนอกจากกิจพระศาสนา ทา นกอ็ นญุ าต แตก ็ควรเลือกกจิ ที่สมควร) ๕. รบั เปนหมอรักษาไขของคนในสกุล คือ เปนหมอประจาํ บา นเขา ๖. รับของฝากของเขาอันไมสมควรรับ เชน รับของโจรและของตองหาม ปาปสมาจาร เหลานี้ปรับอาบัติทุกกฏเสมอกัน นอกจากนั้น เปนฐานท่ีสงฆจะทําการลงโทษไดอีก ๓ สถาน สถานใดสถานหนึ่ง คือ (๑) ตําหนิโทษ เรียก ตัชชนียกรรม (๒) ถอดยศ เรียก นิยสกรรม (๓) ขับเสีย จากวัด เรยี ก ปพ พาชนยี กรรม ปาปสมาจารท่เี น่ืองดวยการรกุ รานหรือตดั รอนคฤหัสถ มี ๗ ประเภท คอื (๑) ขวนขวาย เพื่อตัดลาภเขา (๒) ขวนขวายเพื่อความเสื่อมเสียแหงเขา (๓) ขวนขวายเพื่อใหเขาอยูไมได (๔) ดาวาเปรียบเปรย (๕) ยุยงใหเขาแตกกัน (๖) พูดกดเขาใหเปนคนเลว (คือพูดวาจา หยาบคาย เชนเรียกไอ เรียกอี มึง กู เปนตน) (๗) ใหปฏิญาณอันเปนธรรมแกเขาแลวไมทําให สมจริง ความประพฤติเลวทรามเหลาน้ี นอกจากปรับอาบัติตามวัตถุแลว และยังเปนฐานท่ีสงฆ จะลงโทษดวยปฏิสารณียกรรม คือใหหวนระลึกถึงความผิดและขอขมาคฤหัสถที่ตนรุกรานหรือ ตัดรอน ภิกษุผูถึงพรอมดวยอาจาระ ยอมไมทนงตนเปนคนสนิทของสกุล โดยฐานเปนคนเลว และไมรุกรานตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิต ประพฤติพอดีพองาม ยังความเลื่อมใส นับถือใหเกิด ในตนเรียกวา “กุลปสาทโก” (ผูทําใหตระกูลคฤหัสถเล่ือมใส) เหมือนกับพระกาฬุทายีเถระ ที่พระพุทธองค ทรงยกยอ งวา เปน เลศิ (เอตทคั คะ) ในทางน้ี ซึ่งนบั เปนศรีของพระพุทธศาสนา อเนสนา อเนสนา หมายถึง กิริยาท่ีภิกษุแสวงหาเล้ียงชีพในทางไมสมควร จําแนกเปน ๒ ประเภท คือ (๑) การแสวงหาที่เปนโลกวัชะ คือ มีโทษทางโลก เชน ทําโจรกรรม เปนตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 335

3๓๓3๒6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 (๒) การแสวงหาท่ีเปนปณณัตติวัชชะ คือ มีโทษทางพระวินัย เชนการทําวิญญัติ คือ ออกปากขอ ตอคนทไี่ มควรขอหรือในเวลาที่ไมควรขอ การแสวงหาที่เปนปณณัติวัชชะ มี ๕ ประเภท คือ (๑) ทําวิญญัติ คือออกปากขอตอ คนไมควรขอหรือในเวลาไมควรขอ (๒) แสวงหาลาภดวยลาภ คือ ใหของนอยเพื่อหวังไดมาก (๓) ใชจายรูปยะ ไดแก การลงทุนหาผลประโยชนเชนทําการคาขาย (๔) หากินในทางเวชกรรม คือ ทําการแพทย (๕) การทาํ ปรติ ร ไดแ ก การทาํ นาํ้ มนตเสกเปา ตา ง ๆ เปน ตน เวชกรรมท่ีตองหาม น้ัน มี ๓ ประเภท คือ (๑) เวชกรรมท่ีหามไวในวินีตวัตถุ แหง ตติยปาราชิกสิกขาบทโดยปรับอาบัติทุกกฏ คือทํานอกรีตนอกรอย หรือทําไมสันทัด วางยาผิดๆ ถูกๆ (๒) เวชกรรมท่ีหามโดยความเปนปาปสมาจาร คือการยอมทอดตนใหสกุลเขาใชในการ รักษาความเจ็บไขของคนในสกุล (๓) เวชกรรมท่ีหามโดยความเปนอเนสนา คือการรักษาโรค เรียกเอาขวัญขา ว คายา คา รกั ษาเปน การหาประโยชน ภิกษุรับของท่ีเขาถวายเพ่ือเก้ือกูลแกพระศาสนาแลวไมบริโภค ใหเสียแกคฤหัสถเพื่อ สงเคราะห ทาํ ทายกผูบรจิ าคเสียศรทั ธา เรยี กวา ทําศรทั ธาไทยใหต ก โภชนะทไ่ี ดม ายงั ไมไ ดห ยบิ ไวฉัน เรียก อนามัฏฐบิณฑบาต ทานหามไมใหแกคฤหัสถ อ่นื นอกจากมารดาบดิ า สวนมารดาบิดานนั้ เปนภาระท่ีภิกษุจะตอ งเล้ียงดู ทานอนุญาตใหไดแม สมณจีวรกส็ ามารถใหแ กม ารดาบิดาได 336

 3๓3๓7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ กัณฑท่ี ๑๙ กาลิก ๔ คําวา กาลิก แปลวา เน่ืองดวยกาล ข้ึนกับกาล ในที่น้ีมุงถึงของอันจะกลืนกินใหลวง ลําคอเขาไป ซึ่งพระวินัยบัญญัติใหภิกษุรับ เก็บไว และฉันไดภายในเวลาที่กําหนด จําแนก เปน ๔ อยา ง คือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. ยาวกาลิก ของที่รับประเคนไวและฉันไดช่ัวเวลาเชาถึงเท่ียงของวันน้ัน เชน ขาว ปลา เนอ้ื ผัก ผลไม เปน ตน ๒. ยามกาลิก ของท่ีรับประเคนไว และฉันไดช่ัววันหน่ึงกับคืนหนึ่ง คือกอนอรุณขึ้น ของวนั ใหม ไดแ ก น้าํ อฏั ฐปานะ คือนํ้าค้นั ผลไมท ี่รงอนญุ าต ๘ ชนดิ ๓. สัตตาหกาลิก ของที่รับประเคนไวแลวฉันไดภายใน ๗ วัน ไดแก เภสัชท้ัง ๕ คือ เนยใส เนยขน น้าํ มนั นาํ้ ผ้ึง และน้าํ ออย ๔. ยาวชีวิก ของที่รับประเคนแลวฉันไดตลอดไปไมจํากัดเวลา ไดแก ของที่ใชปรุง เปนยานอกจากของทีเ่ ปน กาลกิ ๓ ขา งตน เชน ขมิน้ ขิง เปนตน 337

3๓๓3๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ยาวกาลิก ของทใ่ี ชบ ริโภคเปน อาหาร จดั เปน ยาวกาลกิ มี ๒ อยา ง คอื ๑. โภชนะ ๕ อยาง คือ (๑) ขาวสุก ไดแก ธัญชาติทุกชนิดที่หุงใหสุกแลว เชน ขาวเจา เปนตน (๒) ขนมกุมมาส คือ ขนมสดมีอันจะบูดได เมื่อลวงกาลแลว (๓) สัตตุ คือ ขนมแหง ทไ่ี มบ ูด เชน ขนมปง (๔) ปลา สงเคราะหสัตวน้ําเหลาอื่นดวย (๕) เน้ือ คือ มังสะ ของสัตวบกท่ใี ชเ ปนอาหาร ๒. ขาทนยี ะ ของขบเคีย้ ว คือผลไมแ ละเหงา มีมันเปน ตน พืชที่ใชเปนโภชนะ มี ๒ ชนิด คือ (๑) ปุพพัณณะ (หรือ บุพพัณณะ) คือพืชมีกําเนิด เปนขา วทกุ ชนดิ (๒) อปรณั ณะ คอื ถว่ั ตางชนิดและงา ปุพพัณณะ (บุพพัณณะ) นั้นทานแสดงไวในพระบาลี มี ๗ ชนิด คือ (๑) สาลี ขาวสาลี (๒) วีหิ ขาวเจา (๓) ยโว ขาวเหนียว (๔) โคธูโม ขาวละมาน (๕) กงฺคุ ขาวฟาง (๖) วรโก ลกู เดอื ย (๗) กทู ฺรูสโก หญากับแก เนื้อที่ตองหามโดยกําเนิด มี ๑๐ ชนิด คือ (๑) เน้ือมนุษย เลือดก็สงเคราะหเขาดวย (๒) เนื้อชา ง (๓) เน้อื มา (๔) เน้ือสุนัข (๕) เนื้องู (๖) เนื้อราชสีห (๗) เน้ือเสือโครง (๘) เน้ือเสือเหลือง (๙) เน้ือหมี (๑๐) เนื้อเสอื ดาว เนื้อมนุษยเปนวัตถุแหงถุลลัจจัย เน้ือนอกน้ันเปนวัตถุแหงทุกกฏ เน้ือดิบ แมเปนเน้ือ นอกจากทีห่ ามไว ทานก็หา มฉนั เน้ือชนิดท่ีเปนอุทิสสมังสะ คือเน้ือที่ฆาเฉพาะตน ทานก็หาม แตถาไมรู ฉันไมเปน อาบัติ สวนเนอ้ื ทเี่ ปน ปวัตตมังสะ คอื เนื้อที่เขาฆา บรโิ ภคกันทัว่ ไป หรอื เนอื้ ทขี่ ายตามตลาด ไมหา ม เนื้อท่ีบริสุทธิโดยสวน ๓ คือภิกษุ (๑) ไมไดเห็น (๒) ไมไดยิน (๓) ไมไดสงสัยวา เขาฆา เฉพาะตน ภิกษฉุ นั ได ไมม ีโทษ แมป ลาก็เหมือนกัน จําพวกของขบเค้ียว ชนิดท่ีมีเม็ดและเหงาอาจจะปลูกข้ึน กอนฉันทานอนุญาตให อนุปสัมบัน ทําใหเปนกัปปยะ (สมควร) กอน ดวยวิธี ๓ วิธี คือ (๑) ใชไฟจ้ี (๒) ใชมีดกรีด (๓) ใชเล็บจกิ ในคราวเดินทาง ทานอนุญาตใหภิกษุสามเณรหาเสบียงเดินทางได เชน ขาวสาร ถั่ว เกลือ นํ้าออ ย น้าํ มนั และเนย ตามตอ งการ 338

 3๓3๓9๕ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ กปั ปย ภมู ิ ๔ ชนิด คําวา กัปปยภูมิ แปลวา สถานที่เก็บของอันเปนกัปปยะ หมายถึง สถานที่สําหรับ เก็บเสบียงอาหารรวมทั้งเปนท่ีหุงตมจัดแจงอาหารของวัด หรือโรงครัวของวัด ทรงอนุญาตไว ในทส่ี ุด ๔ ประเภท คือ ๑. อุสสาวนันติกา กัปปยภูมิที่ทําดวยการประกาศใหรูกันแตแรกสรางวาจะทําเปน กับปยภูมิ ไดแก กุฎีที่ภิกษุทั้งหลายตกลงกันแตตนวาจะทําเปนกัปปยกุฎี (เรือนครัว) ในเวลา ที่ทํา พอชวยกันยกเสาหรือตั้งฝาทีแรก ก็รองประกาศใหรูกันสามหนวา “กปปยกุฏึ กโรม เราทง้ั หลาย ทาํ กัปปยกฎุ ี” ๒. โคนสิ าทกิ า กับปย ภมู ิดุจท่ีโคจอม ไดแ ก เรือนครวั นอ ย ๆ ที่ไมไดปกเสา ตั้งอยูกับที่ ต้ังฝาบนคาน สามารถยกเลื่อนไปจากที่ไดมี ๒ ประเภท คืออารามโคนิสาทิกา เรือนครัวขนาดเล็ก สําหรับอารามและกฎุ ีท่ีไมไดล อมรว้ั และ วิหารโคนสิ าทิกา เรือนครัวขนาดเลก็ สําหรับอารามท่ีมี ร้ัวลอมเฉพาะกฎุ ีทง้ั หมดหรือบางสว น ๓. คหปติกา กัปปยภูมิของคฤหัสถ ไดแก เรือนท่ีพวกชาวบานสรางถวายใหเปน กปั ปย กฎุ สี ําหรบั สงฆ ๔. สัมมตกิ า กัปปย ภมู ิท่ีสงฆสมมติ ไดแกกุฎีท่ีสงฆเลือกจะใชเปนกัปปยกุฎีแลวสวด ประกาศใหทราบดวยญัตตทิ ตุ ิยกรรม ยาวกาลกิ ที่เกบ็ ไวในทีอ่ ยูของภิกษุ แมเปนของสงฆ จัดเปน อันโตวุฏฐะ แปลวา อยูใน ภายใน ถา หุงตมในนั้น จัดเปน อันโตปกกะ แปลวา สุกในภายใน ถา หุงตมเองจดั เปน สามปก กะ แปลวา ใหสกุ เองทั้ง ๓ อยางน้ี เปน วัตถุแหงทุกกฏ ทานหามไมใ หฉ ัน ยาวกาลิกท่ีเก็บไวในกัปปยกุฎี ไมเปนอันโตวุฏฐะ ไมเปนอันโตปกกะ แตถาทําเองเปน สามปกกะ ทานหาม แตจ ะอนุ ของท่คี นอื่นทาํ สุกแลว ทา นอนุญาต ยามกาลิก นํ้าปานะ คือน้ําสําหรับดื่มที่คั้นจากผลไม เรียก ยามกาลิก มี ๘ ชนิด คือ (๑) อมฺพปานํ นํา้ มะมว ง (๒) ชมฺพปุ านํ นา้ํ ชมพูหรือน้าํ ลูกหวา (๓) โจจปานํ นาํ้ กลวยมีเม็ด (๔) โมจปานํ นํ้ากลวยไมมีเม็ด (๕) มธุกปานํ น้ํามะซาง (๖) มุทฺทกิ ปานํ นํ้าลูกจันทนหรือองุน (๗) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 339

๓3๓4๖0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สาลกุ ปานํ นาํ้ เหงา อุบล (๘) ผารสุ กปานํ นา้ํ มะปรางหรือน้าํ ล้นิ จ่ี วธิ ีทาํ นํา้ ปานะ คอื ปอกหรอื ควานผลไมเ หลา นท้ี ีส่ ุก เอาผาหอ บิดผาใหตึง อัดเนื้อผลไม ใหคายนํ้าออกจากผา เติมน้ําลงไปใหพอดี เติมนํ้าตาลและเกลือพอเขารส ใหใชของสด หามตม ดวยไฟ อนุปสัมบันทําจึงควรในวิกาล ภิกษุทําเองมีคติอยางยาวกาลิก เพราะรับประเคนท้ังผล เม่ือลว งกําหนดคนื หนึ่ง หา มมิใหฉนั ปรับอาบัติทุกกฏ สตั ตาหกาลกิ สัตตาหกาลิก ไดแก เภสัช ๕ ชนิด คือ (๑) เนยใส (๒) เนยขน (๓) น้ํามัน (๔) น้ําผึ้ง (๕) นํา้ ออย วัตถุที่อนุญาตทํานํ้ามัน มี ๓ ชนิด คือ (๑) มันเปลวแหงสัตว (๒) พืชอันมีกําเนิดเปน ยาวกาลิก เชน เม็ดงา (๓) พชื อนั มีกําเนิดเปน ยาวชีวิก เชน เม็ดพนั ธุผกั กาด มันเปลวสัตว มี ๕ ชนิด คือ (๑) เปลวหมี (๒) เปลวปลา (๓) เปลวปลาฉลาม (๔) เปลวหมู (๕) เปลวลา มันเปลวสัตวเหลานี้ทานอนุญาตใหรับประเคนแลวเจียวเปนน้ํามันได แตตองทาํ ใหเ สร็จภายในกาล ถา ทํานอกหรอื คาบกาล หามมิใหฉัน น้ํามันท่ีสกัดจากพืชอันเปนยาวกาลิก ภิกษุทําเอง มีคติอยางยาวกาลิก เท่ียงแลวไป หา มมใิ หฉนั สว นนาํ้ มันที่สกัดจากพชื อนั เปนยาวกาลกิ ภิกษทุ ําเองได ยาวชวี ิก ของท่ีใชประกอบเปนยานอกจากกาลิก ๓ อยางน้ัน จัดเปนยาวชีวิก ทานแบงไว ๖ ประเภท ดังน้ี (๑) รากไม เรียกมูลเภสัช (๒) น้ําฝาด เรียกกสาวเภสัช (๓) ใบไม เรียก ปณณเภสชั (๔) ผลไมเ รียกวา ผลเภสัช (๕) ยางไม เรียกชตเุ ภสัช (๖) เกลอื เรียกโลณเภสชั กาลิกระคนกัน กาลิกอยางหน่ึงระคนกับกาลิกอีกอยางหน่ึง มีกําหนดใหใชไดชั่วคราวของกาลิก มอี ายสุ ั้น เวชชิ นา วนนิ ้ําัยผบงึ้ญั เญปตั น ิ สตั ตาหกาลิก ผสมกบั ธญั ชาติ เชน ขาว เปน ตน ซ่ึงเปนยาวกาลิก น้ํ๓าผ๓้ึง๗ ก็กลายเปนยาวกาลิกดวย ดังนี้เปนตน สัตตาหกาลิกและยาวชีวิกที่รับประเคนไวคางคืน ทาน หามไมใ หเ อาปนกบั ยาวกาลกิ ปรบั เปน อาบัตปิ าจติ ตยี  340

341 341 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 342 342

 3๓4๓๙3 วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ กณั ฑที่ ๒๑ วนิ ยั กรรม วิธแี สดงอาบตั ิ การแสดงอาบัตนิ ัน้ คอื การเปดเผยโทษของตนแกภิกษุอ่นื มวี ธิ ีดงั นี้ ๑. วิธแี สดงอาบตั ิตัวเดียว ผแู สดงวา “อหํ อาวโุ ส ปาจิตฺติยํ อาปตฺตึ อาปนโฺ น ตํ ปฏเิ ทเสมิ” แปลวา “แนะคุณ ผมตองอาบัตปิ าจิตตยี  ผ“มอแหสํ ดองาอวาุโบสตั ปินาั้นจ”ิต(ตฺ สยิ มํ มอตาปวิ าตตฺตอึ งออาาปบนัตฺโิปนาตจํิตปตฏียเิ ตทัวเเสดมียิ ว) ผูรบั วา “ปสสฺ ถ ภนเฺ ต” (ทา น เห็นหรอื ) ผแู สดงวาป“สอฺสาถมภอนาฺเวตุโส ปสสฺ ามิ” (เออ คุณ ผมเหน็ ) ผรู ับวา “อายอาตมึ ภอนาเฺ วตโุ สวํ ปเรสยฺสยฺาามถิ ” (ทา นจงสํารวมตอ ไป) ผูแสดงวาอา“สยาตธึ ุภสนฏุ เฺ ตุ อสาํววเุโรสยฺยสาวํ ถร”สิ สฺ ามิ” (ดลี ะ คณุ ผมจักสาํ รวมดวยดี) ๒. ตอ งอาบตั “อิสยาธา ุงสเุฏดยี ุวอกาันวุโหสลสาวํยรติสวั ฺสามิ ผแู สดงวา “อหํ อาวโุ ส สมพฺ หุลา นานาวตฺถุกาโย ทุกฺกฏาโย อาปตฺติโย อาปนฺโน ตา ปฏิเทเสมิ” อหํ อาวโุ ส สมฺพหุลา นานาวตฺถุกาโย ทุกฺกฏาโย อาปตฺติโย อาปนฺโน ตา ปฏเิ ทเสมิ”(ถา ๒ ตัว ใช “เทวฺ นานาวตฺถุกาโย” ตั้งแต ๓ ขึน้ ไปใช “สมพฺ หุลา”) อาบตั นิ นั้ ทา นใเหทแวฺ สนดางนโดายวคตวฺถรุกแากโชยื่อวัตถแุ ละจาํ นวน แสดงผิดชอ่ื ใชไ มได ผิดวัตถุ และผิดจาํ นวนขางมาก แสดงเปน นอย ใชไมได ขางนอ ยแสดงเปน มาก ใชไ ด ถา สงสยั อาบตั บิ างตวั ทา นใหบอก ดังนี้ “อหํ อาวโุ ส อติ ถฺ นนฺ ามาย อาปตฺตยิ า เวมตโิ ก ยทา นพิ ฺเพมติโก ภวสิ ฺสามิ ตาทา ตํ อาปตฺตึ ปฏิก“ฺกอรหิสํ อฺสาาวมุโิส” แอปิตลถฺ วนาฺนา“มแานยะคอุณาปตผฺตมยิมาีคเววามมตสโิ งกสยั ทในาอนาพิ บเฺ ัตพิชม่ือตนโิ ก้ี จภักวสสิ้นฺสสางมสิ ัยตเามท่ือาใดตํ จอกัาทปําตคฺตืนึ อปาฏบิกตั ฺกนิ รัน้ ิสเฺมส่ือานมิั้น” ” แบบคําบาลีบอกช่อื อาบัติ ดังนี้ อาบัติตัวเดียว “ถุลฺลจฺจยํ นิสฺสคฺคิยํ ปาจิตฺติยํ ทุกฺกฏํ ทุพฺภาสิตํ” อาบตั หิ ลายตวั “ถลุ ฺลจจฺ ยาโย นสิ สฺ คฺคยิ าโย ปาถจุลิตฺลตฺ จิยฺจายโยํ นทิสกฺุสกฺคฏฺคาิยโํ ยปาทจุพิตภฺ ฺตาิยสํ ิตทาุกโฺกยฏ” ํ ทุพฺภาสิตํ” “ถุลลฺ จฺจยอาาโบยัตนิวสิัตสฺ ถคุเดฺคีิยาวโกยันปภาิกจิตษฺตุ ยิอางโเยหมทือุกนฺกกฏันาโเยชนทุพฉฺภันาอสาติ หาาโรยใ”นเวลาวิกาลรวมกัน เรียกวา สภาคาบัติ แปลวา อาบัติมีสวนเสมอกัน หามมิใหแสดงและมิใหรับแสดง ใหแสดงกับภิกษุอ่ืน ถาสงฆตองสภาคาบัติทั้งหมด เชน ขุดดินรวมกัน ทานใหสงภิกษุรูปหนึ่งไปแสดงในที่อื่น แลว ภิกษุท่ีเหลอื พึงแสดงกับภกิ ษรุ ูปนั้น เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 343

๓3๔4๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 แลว ภิกษทุ ่เี หลอื พึงแสดงกบั ภิกษุรูปนั้น อธิษฐาน อธิษฐาน แปลวา ตั้งเอาไว ในทางพระวินัยหมายถึงการตั้งเอาไวหรือต้ังใจกําหนด เอาไว คอื ต้งั เอาไวเปนของน้นั ๆ หรอื ตงั้ ใจกาํ หนดเอาไวว าจะใชเ ปน ของประจําตวั ชนิดนนั้ ๆ เชน ไดผามาผืนหน่ึงตั้งใจวาจะใชเปนสังฆาฏิ สบง จีวร ก็อธิษฐานเปนอยางน้ันๆ เมื่ออธิษฐานแลว ผาน้ัน เรียกวาเปนผาอธิษฐาน หรือผาครอง วิธีอธิษฐานมี ๒ ลักษณะ โดยใชกายคือมือสัมผัส แลวกาํ หนดนกึ คาํ อธษิ ฐานในใจ หรือเปลง วาจาก็ได บรขิ ารทภ่ี กิ ษุตอ งอธษิ ฐาน คอื (๑) สงั ฆาฏิ (๒) อตุ ตราสงค (๓) อนั ตรวาสก อธิษฐาน ไดผ นื เดยี ว (๔) บาตร อธิษฐานไดใ บเดียว (๕) ผาปูน่ัง (๖) ผาปูนอน (๗) ผาเช็ดหนาหรือผาเช็ด ปาก (๘) ผาใชเปนบริขารอื่นเล็กๆนอยๆ เชนถุงบาตร ยาม (๙) ผาปดฝ อธิษฐานไดผืนหนึ่ง คราวอาพาธ (๑๐) ผา อาบน้าํ ฝน อธษิ ฐานได ๑ ผืน ตลอด ๔ เดือนฤดฝู น คําอธิษฐานบริขารสิ่งเดียว แสดงสังฆาฏิเปนตัวอยาง ดังน้ี “อิมํ สงฺฆาฏึ อธิฏฐามิ” แปลวา “เราตง้ั เอาไวซงึ่ ผา สังฆาฏผิ นื น้ี” อธิษฐานบริขารอ่ืนพึงเปล่ียนช่ือ ดังนี้ อุตฺตราสงฺคํ สําหรับผาอุตตราสงค (ผาหม) อนฺตรวาสกํ สําหรับผา อันตรวาสก (ผา นุง) นิสที นํ สําหรับผานิสสีทนะ (ผาปูนั่ง)กณฺทุปฏิจฺฉาทึ สําหรับผาปดฝ วสฺสิกสาฏิกํ สําหรับผาอาบนํ้าฝน ปจฺจตฺถรณํ สําหรับผาปูนอน มุขปุฺฉนโจลํ สาํ หรับผา เชด็ ปาก ปรกิ ฺขารโจลํ สําหรบั ผา เปน บริขาร ผืนเลก็ ๆ นอยๆ ปตฺตํ สําหรบั บาตร ถาจะอธิษฐานผาหลายผืนรวมกัน พึงวาดังน้ี เชน อธิษฐานผาปูนอนวา “อิมานิ ปจจฺ ตถฺ รณานิ อธิฏฺฐามิ” อธิษฐานมี ๒ อยา ง คอื (๑) อธษิ ฐานดวยกาย โดยเอามือลูบคลําบริขารท่ีอธิษฐานนั้น (๒) อธิษฐานดว ยวาจา โดยเปลงวาจาอธษิ ฐานไมต องถูกตอ งดว ยกายกไ็ ด อธิษฐานดว ยวาจานั้น แยกเปน ๒ คือ (๑) อธิษฐานในหัตถบาสวา “อิมํ” หรือ “อิมานิ” (๒) อธษิ ฐานนอกหัตถบาสวา “เอต”ํ หรอื “เอตานิ” เม่อื อธษิ ฐาน ตองถอนบรขิ ารเกากอ นเสมอ ซ่ึงเรยี กวา ปจ จทุ ธรณ ตัวอยางการปจจุทธรณสังฆาฏิวาดังนี้ “อิมํ สงฺฆาฏึ ปจฺจุทฺธรามิ” แปลวา “เรายกเลิก สงั ฆาฏผิ นื น้ี” คาํ พินทวุ า “อิมํ พินฺทุกปฺป กโรมิ” แปลวา “เราทําเคร่อื งหมายจุดน้ี” 344

 3๓4๔5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ เหตขุ าดอธษิ ฐาน บริขารท่ภี กิ ษุอธษิ ฐานแลว จะละหรือขาดอธษิ ฐานไปดว ยเหตุ ๙ ประการ คือ (๑) ใหแก ผอู ื่น (๒) ถูกโจรแยง ชิงเอาไปเสีย (๓) มิตรถือเอาไปดวยวสิ าสะ (๔) เจาของหันไปเพื่อความเปน คนเลว (๕) เจาของลาสิกขา (๖) เจาของทํากาลกิริยา (๗) เพศกลับ (๘) ถอนเสียจากอธิษฐาน (๙) เปน ชอ งทะลุ (เฉพาะจีวรและบาตร) วิกัป คําวา วิกัป หมายถึง การทําใหเปนสองเจาของ คือขอใหภิกษุสามเณรอ่ืนรวมเปน เจา ของจวี รหรอื บาตรน้ันๆ ดว ย ซงึ่ มีผลทําใหไ มต อ งอาบตั เิ พราะเก็บอดิเรกจีวรหรืออดิเรกบาตร ไวเกินกําหนด มี ๒ ลกั ษณะ (๑) สัมมุขาวิกัป วิกัปตอหนา คือการนําผาอดิเรกจีวรเขาไปหาภิกษุท่ีตนตองการ จะวิกัปดว ยแลว กลา วคาํ วกิ ปั ตอหนา (๒) ปรัมมุขาวิกัป วิกัปลับหลัง คือการเอาอดิเรกจีวรไปฝากใหภิกษุรูปอื่นชวยวิกัป กบั ภิกษุอีกรูปหนงึ่ บรขิ ารทจ่ี ะวิกัปไดน ้ัน ไดแก อดิเรกจวี รและอดเิ รกบาตร คําวิกัปตอหนาในหัตถบาส จีวรผืนเดียว วาดังนี้ “อิมํ จีวรํ ตุยฺหํ วิกปฺเปมิ” แปลวา “ขา พเจา วิกัปจีวรผนื น้ีแกทาน” จีวรหลายผนื วา “อมิ านิ จีวรานิ” บาตรใบเดยี ววา “อิมํ ปตฺตํ ตยุ ฺหํ วิกปเฺ ปมิ” บาตรหลายใบวา “อิเม ปตฺเต” จีวรท่ีวิกัปไวจ ะใชสอยตองขอใหผรู ับถอนกอน ไมท ําอยางนน้ั ใชส อย ตอ งอาบัติปาจติ ตยี  คําถอนในหัตถบาส วา ดังน้ี “อิมํ จีวรํ มยฺหํ สนฺตกํ ปริภุฺช วา วิสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจยํ วา กโรหิ” แปลวา “จีวรผืนนี้ของขาพเจา ทานจงใชสอยก็ตาม จงสละก็ตาม จงทําตามปจจัย ก็ตาม” บาตรท่ีวิกัปไวไมกําหนดใหถอนกอน พึงใชสอยเปนของวิกัป แตเมื่อจะอธิษฐาน พงึ ถอนกอน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 345

3๓๔4๒6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑท ่ี ๒๒ ปกิณณกะ มหาปเทส ๔ ส่งิ ของบางอยางมีเฉพาะถนิ่ บางอยา งยอมเกดิ ข้นึ ใหม ภกิ ษุเกดิ ภายหลังยอมไดพบเห็น วตั ถแุ ละกจิ การตางๆ นานา จากที่กลาวไวในคัมภีร พระบรมศาสดาผูมีพระญาณเห็นการณไกล ไดท รงประทานแบบไวเ พ่ือเปน หลกั สันนษิ ฐาน เรียกวา มหาปเทส แปลวา ขอสําหรับอางใหญ จําแนกเปน ๔ ประการ ดังนี้ ๑. สิ่งใดไมไดทรงหามไววาไมควร แตเขากันกับสิ่งเปนอกัปปยะ ขัดกันตอสิ่งเปน กปั ปยะส่ิงนั้นไมควร ๒. สิ่งใดไมไดทรงหามไววาไมควร แตเขากันกับส่ิงเปนกัปปยะ ขัดกันตอสิ่งเปน อกัปปยะส่ิงน้นั ควร ๓. สิ่งใดไมไดทรงอนุญาตไววาควร แตเขากันกับสิ่งเปนอกัปปยะ ขัดกันตอสิ่งเปน กัปปย ะสิง่ น้ันไมค วร ๔. สิ่งใดไมไดทรงอนุญาตไววาควร แตเขากันกับสิ่งเปนกัปปยะ ขัดกันตอสิ่งเปน อกัปปยะสงิ่ นั้นควร ตัวอยาง เชน ฝนไมไดทรงหามไว แตเขาไดกับสุราท่ีทรงหามไว จึงเปนของไมควร นํา้ ตาลไมไดทรงอนญุ าตไว แตเขากนั ไดกบั นํ้าออยทีท่ รงอนญุ าต จึงเปนของควร พระพทุ ธานญุ าตพเิ ศษ ขอที่ทรงหามไวในบางขอไดทรงอนุญาตยกเวนเปนพิเศษไวก็มี ในท่ีนี้จักกลาวเฉพาะ ท่ที รงอนญุ าตเปนพิเศษแทๆ ซึ่งสรุปได ๕ ขอ คือ ๑. ทรงอนญุ าตเฉพาะอาพาธ เชน ยามหาวิกัฏ ๔ คือมูตร คูถ เถา ดิน ทรงอนุญาต เฉพาะภิกษุผูถูกงูกัด แมไมไดรับประเคน ก็ฉันได ไมเปนอาบัติ น้ําขาวใสหรือนํ้าขาวตมที่ไมมี กากและน้ําเนือ้ ตมทไ่ี มม กี าก เปน ของทรงอนญุ าตแกภิกษุไขท ่จี าํ จะตองไดอ าหารในเวลาวิกาล 346

 3๓4๔7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๒. ทรงอนุญาตเฉพาะบุคคล เชน ทรงอนุญาตอาหารที่เรอหรือสํารอกออกมาถึง ลาํ คอแลว กลบั เขา ไปแกภกิ ษุผมู ักเรออวก ไมเปนอาบัติเพราะวิกาลโภชนสกิ ขาบท ๓. ทรงอนุญาตเฉพาะกาล เชน ทรงอนญุ าตใหเ จยี วมนั เปลวสตั วท ําเปนน้าํ มนั ไดเ อง แตต อ งทาํ ใหเ สรจ็ ในกาล คือเชา ถึงเที่ยง ๔. ทรงอนุญาตเฉพาะถิ่น เชน ทรงอนุญาตใหอุปสมบทไดดวยสงฆปญจวรรค (๕ รูป) ใหอ าบน้ําไดเปนนิตย ใหใชรองเทาสชี่ ้ันเปน ของใหมๆ ไดใ นปจจันตชนบท ๕. ทรงอนุญาตเฉพาะยา เชน ทรงอนุญาตใหด่ืมน้ํามันเจือนํ้าเมาท่ีไมมากจนถึงมีสี และกลิ่นปรากฏได และทรงอนญุ าตใหใชก ระเทยี มเปนยาได แตหามฉนั เปน อาหาร ขออารักขา ขออารักขา หมายถึง การขอความคุมครองปองกันจากบานเมือง โดยปกติบรรดา ภิกษุยอมไมชอบที่จะเปนความกับใคร ไมแสหาเหตุเล็กนอยเปนเครื่องปลูกคดีข้ึน พอจะอดได น่งิ ไดก ็อดก็น่ิง แตเมื่อถึงคราวจาํ เปน คือถกู คนอืน่ ฟองรอง ก็เปน จําเลยวา ความเพื่อเปล้ืองตนได เมื่อถูกคนอื่นขมเหงเหลืออดเหลือทน ก็บอกขออารักขา แมเจาะจงช่ือก็ได หรือเมื่อถูกทําราย แตไมรูวาใครทํา จะบอกใหถอยคําไวแกเจาหนาที่ตํารวจก็ได หรือบริขารสูญหาย แตไมรูวาใครลัก จะบอกตราสิน (แจงความ) ไวแกเขากไ็ ด ไมมีโทษในเพราะเหตเุ หลา น้ี วิบัติ ๔ วิบตั ิ หมายถึง ความเสอ่ื มเสียหายของภกิ ษุ มี ๔ อยาง คือ ๑. สีลวิบัติ ความเสียหายแหงศีล หมายถึงการตองอาบัติปาราชิก หรือสังฆาทิเสส ซ่ึงจัดเปน อาบัติหนัก ๒. อาจารวิบัติ ความเสียมารยาท หมายถึง อาการท่ีตองลหุกาบัติ ตั้งแตอาบัติ ถลุ ลัจจัย ลงมาจนถึงอาบัติทพุ ภาสติ ๓. ทฏิ ฐิวิบตั ิ คอื ความเหน็ ผิดธรรมผดิ วินัย และมีความเหน็ ท่ีสดุ โตงเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ๔. อาชีววิบัติ ความเสียหายแหงการเลี้ยงชีพ หมายถึง อาการท่ีตองอาบัติบางอยาง เพราะเหตแุ หงการเลยี้ งชีพ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 347

๓3๔4๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อโคจร บคุ คลหรือสถานทท่ี ภ่ี กิ ษไุ มควรไปมาหาสูลาํ พงั อยา งไมเปนกิจจะลักษณะ หรือผิดเวลา เรยี กวา อโคจร มี ๖ ประเภทคือ ๑. หญิงแพศยา คอื หญงิ ทหี่ ากนิ ในทางกามคุณทกุ ประเภท ๒. หญงิ หมา ย คอื หญงิ ทีส่ ามตี ายหรอื หยารา ง ทเี่ รียกวา แมหมาย แมรา ง ๓. สาวเทอ้ื คอื หญิงโสด ไมมสี ามี อยลู ําพังตนจนเปน สาวแก ๔. ภิกษุณี เปนพรหมจารินี จัดวาเปนหญิงโสด เปนสหธรรมิกดวยกันก็ยังสมควร จะคบกันแตพอดีพองาม ๕. บัณเฑาะก คือบุรุษท่ีเขาตอนเสียแลว (อน่ึง หมายถึงชาย ๓ ประเภท คือชายท่ีมี ราคะกลา ชายทถี่ กู ตอน และกระเทยโดยกาํ เนิด) ๖. รา นสุรา คอื ท่ขี ายสรุ าและโรงกล่ันสรุ า (รวมถงึ สถานบนั เทิงตา งๆ) ภิกษุผูเวนจากอโคจรทั้ง ๖ น้ี ควรเลือกบุคคล เลือกสถานท่ีอันสมควรไปอยางเปน กิจจะลักษณะ ในเวลาอันควร ไมไปพรํ่าเพรื่อ กลับในเวลา ประพฤติตนไมเปนที่รังเกียจของ เพ่ือนสหธรรมิกเพราะการเที่ยวไป เรียกวา โคจรสมปฺ นฺโน ผูถึงพรอมดวยโคจร ซึ่งเปนหลักคู กับมารยาท ท่ีรวมเรียกวา อาจารโคจรสมปฺ นฺโน ผูถึงพรอมดวยมารยาทและโคจร เปนคูกับ คุณบทวา สีลสมปฺ นฺโน ผูถึงพรอมดวยศีล ภิกษุผูถึงพรอมดวยคุณธรรมดังกลาวนี้ ยอมประดับ พระศาสนาใหรุง เรืองแล 348

 3๓4๔9๕ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ¢ÍŒ Êͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅÑ¡ÊÙμùѡ¸ÃÃÁªÑ¹é â· ÇªÔ ÒÇԹѠ: Ç¹Ô ÑºÞÑ ÞμÑ Ô »‚ ¾.È. òõõö - òõõø เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 349

3๓๔5๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒÇ¹Ô ÑºÞÑ ÞÑμÔ ¹¡Ñ ¸ÃÃÁªé¹Ñ â· Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Çѹ¨Ñ¹·Ã ·Õè óð ¾ÄȨԡÒ¹ ¾.È. òõõø ๑. ภกิ ษุผูป้ ฏบิ ตั พิ ระวนิ ัยสว่ นอภสิ มาจารใหด้ ีงาม จะตอ้ งปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ? เฉลย ตอ้ งปฏิบตั ิโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่งครดั อย่างงมงาย จนเป็นเหตุทาํ ตนให้ ลาํ บากเพราะเหตธุ รรมเนียมเลก็ ๆ นอ้ ยๆ อนั ขดั ต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ามกั งา่ ย ละเลยต่อธรรมเนียมของภกิ ษุ จนถงึ ทาํ ตนใหเ้ป็นคนเลวทราม ฯ ๒. ภกิ ษุผูล้ ะเมดิ สกิ ขาบทนอกพระปาตโิ มกข์ ตอ้ งอาบตั อิ ะไรไดบ้ า้ ง ? เฉลย ตอ้ งอาบตั ถิ ลุ ลจั จยั และ ทกุ กฏ ฯ ๓. ผา้ สาํ หรบั ทาํ จวี รนุ่งห่มนัน ทรงอนุญาตไวก้ ชี นิด ? อะไรบา้ ง ? เฉลย ๖ ชนิด ฯ คือ ๑. โขมะ ผา้ ทาํ ดว้ ยเปลอื กไม้ ๒. กปั ปาสกิ ะ ผา้ ทาํ ดว้ ยฝ้าย ๓. โกเสยยะ ผา้ ทาํ ดว้ ยใยไหม ๔. กมั พละ ผา้ ทาํ ดว้ ยขนสตั ว์ ยกเวน้ ผมและขนมนุษย์ ๕. สาณะ ผา้ ทาํ ดว้ ยเปลอื กป่าน ๖. ภงั คะ ผา้ ทที าํ ดว้ ยของ ๕ อยา่ งนนั แต่อย่างใดอยา่ งหนึงปนกนั ฯ 350

 3๓5๔1๗ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๔. ในบาลแี สดงเหตนุ ิสสยั ระงบั จากอปุ ชั ฌายะไว้ ๕ ประการ มอี ะไรบา้ ง ? เฉลย มีอุปชั ฌายะหลีกไปเสีย ๑ สึกเสีย ๑ ตายเสีย ๑ ไปเขา้ รีตเดียรถียเ์ สีย ๑ สงั บงั คบั ๑ ฯ ๕. ภกิ ษุผูอ้ าพาธควรปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร จงึ ไม่เป็นภาระแกผ่ ูพ้ ยาบาล ? เฉลย ควรปฏบิ ตั ิตนใหเ้ป็นผูพ้ ยาบาลง่าย คือทาํ ความสบายใหแ้ ก่ตน (ไมฉ่ นั ของแสลง) รูจ้ กั ประมาณในการบริโภค ฉนั ยาง่าย บอกอาการไขต้ ามเป็นจริงแก่ผูพ้ ยาบาล เป็นผูอ้ ดทนต่อทกุ ขเวทนา ฯ ๖. การลกุ ยนื ขนึ รบั เป็นกจิ ทผี ูน้ อ้ ยพงึ ทาํ แกผ่ ูใ้ หญ่ จะปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรจงึ ไม่ขดั ตอ่ พระวนิ ยั ? เฉลย นงั อยูใ่ นสาํ นกั ผูใ้ หญ่ ไมล่ ุกรบั ผูน้ อ้ ยกว่าทา่ น นงั เขา้ แถวในบา้ น เขา้ ประชมุ สงฆ์ ในอาราม ไมล่ ุกรบั ท่านผูใ้ ดผูห้ นึง ฯ ๗. ธุระเป็นเหตไุ ปดว้ ยสตั ตาหกรณียะทที า่ นกลา่ วไวใ้ นบาลี มีอะไรบา้ ง ? เฉลย มี ๑. สหธรรมกิ หรอื มารดาบดิ าเจบ็ ไข้ รูเ้ขา้ ไปเพอื รกั ษาพยาบาล ๒. สหธรรมกิ กระสนั จะสกึ รูเ้ขา้ ไปเพอื ระงบั ๓. มีกิจสงฆ์เกิดขึน เป็นตน้ ว่า วิหารชํารุดลงในเวลานัน ไปเพือหาเครือง ทพั พสมั ภาระมาปฏสิ งั ขรณ์ ๔. ทายกตอ้ งการจะบาํ เพ็ญกุศล ส่งมานิมนต์ ไปเพือบาํ รุงศรทั ธาของเขา หรอื แมธ้ ุระอนื นอกจากนี ทเี ป็นกจิ ลกั ษณะ อนุโลมตามนี ฯ ๘. บพุ พกรณ์และบพุ พกจิ ในการทาํ อโุ บสถสวดปาตโิ มกข์ ตา่ งกนั อย่างไร ? เฉลย ต่างกนั อย่างนี บุพพกรณ์เป็นกิจทภี กิ ษุพึงทาํ ก่อนแต่ประชุมสงฆ์ มกี วาดบริเวณ ทีประชุมเป็ นตน้ ส่วนบุพพกิจเป็ นกิจทีภิกษุพึงทําก่อนแต่สวดปาติโมกข์ มนี าํ ปารสิ ุทธขิ องภกิ ษุผูอ้ าพาธมาเป็นตน้ ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 351

3๓๔5๘2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๙. อปุ ปถกริ ยิ า คอื อะไร ? มีกอี ย่าง ? อะไรบา้ ง ? เฉลย คือการทาํ นอกรีตนอกรอยของสมณะ ฯ มี ๓ อย่าง ฯ คืออนาจาร ไดแ้ ก่ความ ประพฤติไม่ดีไม่งาม ปาปสมาจาร ไดแ้ ก่ความประพฤติเลวทราม และอเนสนา ไดแ้ ก่ความหาเลยี งชพี ไมส่ มควร ฯ ๑๐. มหาปเทส แปลวา่ อะไร ? ทรงประทานไวเ้ พอื ประโยชน์อะไร ? เฉลย แปลว่า ขอ้ สาํ หรบั อา้ งใหญ่ ฯ เพือเป็นหลกั แห่งการวินิจฉัยทงั ในทางธรรมทัง ในทางวนิ ยั ฯ ********* 352

 3๓5๔๙3 วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ »˜ÞËÒáÅÐà©ÅÂÇªÔ ÒÇÔ¹ÂÑ ºÞÑ ÞμÑ Ô ¹Ñ¡¸ÃÃÁª¹éÑ â· Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Ç¹Ñ Íѧ¤Òà ·Õè ññ ¾ÄȨ¡Ô Ò¹ ¾.È. òõõ÷ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 353

3๓๕5๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 354

 3๓5๕5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ .. เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 355

3๓๓๔๕5๖๒6 คคมูมู ืออื กกาารรศศกึกึ ษษาานนกักั ธธรรรรมมชชน้ันั้ โโทท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ปญ หาและเฉลยวชิ าวนิ ยั นกั ธรรมชัน้ โท สอบในสนามหลวง วนั ศุกร ที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๑. อภิสมาจาร คืออะไร ? เปนเหตุใหตองอาบตั ิอะไรบาง ? ๑. คอื ขนบธรรมเนยี มของภกิ ษุ ฯ อาบตั ถิ ลุ ลจั จยั และอาบตั ทิ กุ กฏ ฯ ๒. ขอวา อยา พึงนงุ หมผาอยางคฤหัสถ นัน้ มีอธิบายอยางไร ? ๒. มอี ธบิ ายว่า หา้ มนุ่งห่มเครอื งนุ่งห่มของคฤหสั ถ์ เช่น กางเกง เสอื ผ้าโพก หมวก ผา้ นุ่ง ผา้ หม่ สตี ่าง ๆ ชนดิ ต่าง ๆ และหา้ มอาการนุ่งหม่ ต่าง ๆ ทไี มใ่ ชข่ องภกิ ษุ ฯ ๓. บริขาร ๘ มีอะไรบา ง ? ทจ่ี ดั เปน บรขิ ารบริโภคและบรขิ ารอุปโภคมีอะไรบา ง ? ๓. มี ไตรจวี ร คอื ผา้ นุ่งผา้ หม่ และผา้ ทาบ บาตร ประคดเอว เขม็ มดี โกน และผา้ กรองนํา ฯ ไตรจวี ร บาตร ประคดเอว รวม ๕ อยา่ ง จดั เป็นบรขิ ารบรโิ ภค เขม็ มดี โกน และผา้ กรองนํา จดั เป็นบรขิ ารอปุ โภค ฯ ๔. คําวา ถือนิสัย หมายความวาอยางไร ? ภิกษุผูเปนนวกะจะตองถือนิสัยเสมอไป หรอื ไมประการใด ? ๔. หมายความว่า ยอมตนอย่ใู นความปกครองของพระเถระผมู้ คี ุณสมบตั คิ วรปกครองตนได้ ยอมตนใหท้ า่ นปกครอง พงึ พงิ พาํ นกั อาศยั ทา่ น ฯ ตอ้ งถอื นสิ ยั เสมอไป แตม่ ขี อ้ ยกเวน้ ภกิ ษุผยู้ งั ไมต่ งั เป็นหลกั แหล่ง คอื ภกิ ษุเดนิ ทาง ภกิ ษุผู้ เป็นไข้ ภกิ ษุผู้พยาบาลภกิ ษุไว้ผูไ้ ด้รบั การขอร้องของคนไขเ้ พอื ใหอ้ ยู่ ภิกษุผู้เขา้ ป่าเพอื เจรญิ สมณธรรมชวั คราว และกรณที ใี นทใี ดหาทา่ นผใู้ หน้ สิ ยั มไิ ด้ และมเี หตุขดั ขอ้ งทจี ะไปอยู่ ในทอี นื ไมไ่ ด้ จะอยใู่ นทนี นั ดว้ ยผกู ใจว่าเมอื ใดมที า่ นผใู้ หน้ ิสยั ไดม้ าอยู่ จกั ถอื นิสยั ในท่าน ก็ ใชไ้ ด้ ฯ 356

 3๓5๕7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๕. ภิกษเุ มอ่ื จะน่ังลงบนอาสนะ ทรงใหปฏิบัติอยา งไรกอ น ? ท่ีทรงใหป ฏิบัติอยางน้ันเพื่อ ประโยชนอะไร ? ๕. ทรงใหพ้ จิ ารณากอ่ น อยา่ ผลนุ ผลนั นงั ลงไป ฯ เพือว่าถ้ามีของอะไรวางอยู่บนนัน จะทับหรือจะกระทบของนัน ถ้าเป็นขนั นําก็จะหก เสยี มารยาท พงึ ตรวจดูดว้ ยนัยน์ตา หรอื ดว้ ยมอื ลบู ก่อน ตามแต่จะรไู้ ดด้ ว้ ยอย่างไร แลว้ จงึ คอ่ ยนงั ลง ฯ ๖. วันเขาพรรษาในบาลีกลาวไว ๒ วัน คือวันเขาพรรษาตน และวันเขาพรรษาหลัง ใน แตล ะอยา งกําหนดวันไวอยา งไร ? ๖. วนั เขา้ พรรษาตน้ กาํ หนดเมอื พระจนั ทรเ์ พญ็ เสวยฤกษ์อาสาฬหะล่วงไปแลว้ วนั หนึง คอื วนั แรม ๑ คาํ เดอื น ๘ วนั เขา้ พรรษาหลงั กาํ หนดเมอื พระจนั ทรเ์ พญ็ เสวยฤกษ์อาสฬหะนัน ล่วงแล้วเดอื น ๑ คอื วนั แรม ๑ คาํ เดอื น ๙ ฯ ๗. ในวดั หนง่ึ มภี ิกษุอยูกัน ๔ รปู ๓ รูป ๒ รูป ๑ รปู เมอ่ื ถงึ วนั อุโบสถพึงปฏิบตั ิอยางไร ? ๗. มภี กิ ษุ ๔ รปู พงึ ประชมุ กนั ในโรงอโุ บสถ สวดปาตโิ มกข์ มภี กิ ษุ ๓ รปู พงึ ประชมุ กนั ทาํ ปารสิ ทุ ธอิ ุโบสถ รปู หนึงสวดประกาศญตั ติ จบแลว้ แต่ละรปู พงึ บอกความบรสิ ทุ ธขิ องตน มภี กิ ษุ ๒ รปู ไมต่ อ้ งตงั ญตั ติ พงึ บอกความบรสิ ทุ ธแิ กก่ นั และกนั มภี กิ ษุ ๑ รปู พงึ อธษิ ฐาน หรอื มภี กิ ษุตาํ กวา่ ๔ รปู จะไปทาํ สงั ฆอโุ บสถกบั สงฆใ์ นอาวาสอนื กค็ วร ฯ ๘. ภิกษุไดช่ือวาผูประทุษรายสกุล กับภิกษุไดช่ือวาผูยังสกุลใหเลื่อมใส เพราะมีความ ประพฤติตางกนั อยา งไร ? ๘. ต่างกนั อย่างนี ภกิ ษุผปู้ ระทษุ รา้ ยสกุล เป็นผปู้ ระพฤตใิ หเ้ ขาเสยี ศรทั ธาเลอื มใส ประจบเขา ด้วยกิรยิ าทําตนอย่างคฤหสั ถ์ ให้ของกํานัลแก่สกุลอย่างคฤหสั ถ์เขาทํา ยอมตน ให้เขา ใชส้ อย หรอื ดว้ ยอาการเอาเปรยี บโดยเชงิ ใหส้ งิ ของเล็กน้อยดว้ ยหวงั ไดม้ าก สว่ นภกิ ษุผยู้ งั สกลุ ใหเ้ ลอื มใส เป็นผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยอาจาระ ไมท่ อดตนเป็นคนสนิทของสกุลโดยฐานเป็นคน เลว ไมร่ กุ รานตดั รอนเขา แสดงเมตตาจติ ประพฤตพิ อดงี าม ทาํ ใหเ้ ขาเลอื มใสนบั ถอื ตน ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 357

๓๔๘ คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓3๕5๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๙. กอนหนาปรินิพพาน ตรัสส่ังภิกษุทั้งหลายใหแสดงความเคารพดวยการเรียกกันวา อยา งไร ? ๙. ตรสั ใหภ้ กิ ษุผอู้ ่อนพรรษากว่าเรยี กผแู้ ก่พรรษากว่าว่า ภนั เต และใหภ้ กิ ษุผแู้ ก่พรรษากว่า เรยี กผอู้ อ่ นพรรษากวา่ วา่ อาวโุ ส ฯ ๑๐. อนามฏั ฐบณิ ฑบาต ไดแกโภชนะเชนไร ? มขี อ หามตามพระวนิ ัยไวอ ยา งไร ? ๑๐. ไดแ้ กโ่ ภชนะทภี กิ ษุไดม้ ายงั ไมไ่ ดห้ ยบิ ไวฉ้ นั ฯ มขี อ้ หา้ มไมใ่ หภ้ กิ ษุใหแ้ กค่ ฤหสั ถอ์ นื นอกจากมารดาและบดิ า ฯ 358


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook