Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 73196_01การบริหารจัดการหลักสูตรฯ

73196_01การบริหารจัดการหลักสูตรฯ

Published by Charun Charun, 2019-12-22 23:30:58

Description: 73196_01การบริหารจัดการหลักสูตรฯ

Search

Read the Text Version

การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รและสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ แขนงวิชาบริหารการศึกษา สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

กรอบการนาเสนอ การจดั การเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร 1. ความหมายของการจัดการเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี น เปน็ สาคัญ 1. ความหมายของการบริหารหลักสตู ร 2. หลกั ในการบริหารหลกั สตู ร 2. ตวั บ่งชก้ี ระบวนการเรียนร้ขู องผู้เรียน 3. กระบวนการบริหารหลกั สตู ร 3. ตัวบง่ ชกี้ ระบวนการสอนของครู 4. เทคนคิ การจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 3.1 การวางแผนหลักสตู ร 5. ประเภทของการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี น 3.2 การนาหลักสูตรไปใช้ 3.3 การประเมินหลักสตู ร เป็นสาคญั 4. บทบาทของผบู้ ริหารในการบรหิ าร 6. การวัดและประเมนิ ผลผ้เู รยี นตามสภาพจริง หลักสตู ร 7. บทบาทของผ้บู รหิ ารในการส่งเสริมการจัดการ เรียนรทู้ ่เี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั

1. การบริหารหลักสตู ร 1.1 ความหมายของการบริหารหลกั สูตร การบริหารหลักสตู ร หมายถงึ กระบวนการจดั กจิ กรรมต่างๆ ทน่ี าหลกั สูตรไปใชใ้ หเ้กดิ ประโยชนส์ ูงสุดแก่ผูเ้รยี น โดยการบรหิ ารหลกั สูตรประกอบดว้ ย การวางแผนหลกั สูตร การนา หลกั สูตรไปใช้ และการประเมนิ ผลหลกั สูตร 1.2 หลกั ในการบรหิ ารหลักสตู ร 1) หลักแหง่ ประสิทธิภาพ (efficiency) หมายถึง 2) หลักแห่งประสิทธผิ ล (effectiveness)

1.3 กระบวนบริหารหลกั สตู ร ใช้หลัก PIE (Planning, Implementing, Evaluation) การวางแผน หลักสตู ร (Curriculum planning) การประเมิน การนาหลักสูตรไป หลกั สูตร ใช(้ Curriculum (Curriculum implementation) evaluation)

1.3.1. การวางแผนหลักสูตร (Curriculum planning) 1.1 การตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสตู ร (ความเหมาะสมกบั สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม นโยบาย ฯ) 1.2 การประชาสมั พันธ์หลักสูตร 1.3 การเตรียมงบประมาณ 1.4 การเตรยี มความพรอ้ มของบุคลากรท่เี กยี่ วขอ้ งกับการใช้หลักสตู ร(ใชห้ ลกั KASJT: Knowledge, Attitude, Skills, Judgement, Teamwork) 1.5 การเตรียมวสั ดุหลกั สูตร (ค่มู อื ครู เอกสารหลกั สตู ร แผนการสอน แบบเรียน สอื่ การสอน ฯลฯ) 1.6 การเตรยี มอาคารสถานท่ี (ห้องเรยี น หอ้ งกจิ กรรม สนามกีฬา สง่ิ แวดล้อมอื่นๆ) 1.7 การเตรยี มระบบบรหิ ารของสถานศกึ ษา 1.8 การฝึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการให้กับผสู้ อน 1.9 การประเมินความพร้อมกอ่ นนาหลกั สตู รไปใช้

1.3.2. การนาหลกั สูตรไปใช้ (Curriculum Implementation) การนาหลกั สูตรไปใช้เป็นกระบวนการนาหลกั สตู รใดหลกั สตู รหนง่ึ ที่สร้างเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้ ไปใช้ในสถานศึกษา โดยมขี น้ั ตอนสาคญั ดงั นี้ 1. การศกึ ษาทาความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลักสูตรและเอกสารประกอบหลกั สูตรใหก้ ระจา่ ง 2. การเตรยี มความพร้อมของบุคลากร (โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ คือ ครูผู้สอน) 3. การจัดครเู ข้าสอน (ตรงกับความรู้ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและประสบการณ์) 4. การใหบ้ ริการและสนบั สนนุ การสอนของครู (จดั หาเอกสารหลกั สูตร เอกสารประกอบ หลักสูตร งบประมาณ วัสดอุ ปุ กรณ์ ส่ือการเรยี นการสอน การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนการสอน) 5. การนเิ ทศติดตามและประเมนิ ผลการใช้หลกั สตู รอยา่ งสมา่ เสมอ (ใชเ้ ทคนคิ วิธแี ละเครอ่ื งมือที่ เหมาะสมเพื่อปรบั ปรงุ การเรียนการสอน) 6. ใหข้ วัญและกาลงั ใจแก่ครูและบคุ ลากร

ปจั จยั ท่สี ง่ เสรมิ การนาหลกั สูตรไปใช้ 1. การเตรยี มความพร้อมของผู้สอน 2. การเตรยี มความพร้อมของบุคลากรและผ้ทู เี่ ก่ยี วข้องกับการใชห้ ลักสูตร (บคุ ลากรอ่ืนในสถานศึกษา ชุมชน ท้องถ่นิ ผู้ปกครอง องค์กรในชุมขน ฯ) 3. การแปลงหลักสูตรสกู่ ารเรยี นการสอน (วเิ คราะห์หลักสูตร, พัฒนาวัสดุ หลักสูตร, ตรวจสอบความพรอ้ มของทรัพยากร, จดั ตารางสอนและเตรยี มความ พรอ้ มสิ่งตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั การสอน) 4. การทาแผนการสอน 5. การสง่ เสริมสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการเรียนรู้

ปจั จยั ท่ที าใหก้ ารนาหลกั สูตรไปใชป้ ระสบความสาเรจ็ 1) ปจั จยั ดา้ นผูเ้รยี น (สตปิ ญั ญา, พฒั นาการทางสมอง, ทศั นคต,ิ ภมู หิ ลงั ทางการเรยี น, ภูมหิ ลงั ทางเศรษฐกจิ , ความถนดั , ความสนใจฯ) 2) ปจั จยั ดา้ นผูบ้ รหิ าร (เป็นผูน้ าดา้ นวชิ าการ ใหค้ วามสาคญั กบั การบรหิ ารหลกั สูตร อานวยความ สะดวก นเิ ทศตดิ ตาม ใหข้ วญั กาลงั ใจฯ) 3) ปจั จยั ดา้ นผูส้ อน (ความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะ เจตคติ การทางานร่วมกบั ผูอ้ ่นื ฯ) 4) ปจั จยั ดา้ นเน้อื หาวชิ า (ความยาก ความซบั ซอ้ น ความใกลเ้คยี งกบั เน้อื หาเดมิ เวลาทใ่ี ชใ้ นการ จดั การเรยี นการสอนเหมาะสมกบั เน้อื หา รวมถงึ ความสะดวกในการจดั กจิ กรรมและการมสี อ่ื การสอนท่ี เหมาะสม เพยี งพอ) 5) ปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม (บรรยากาศของโรงเรยี น, การไวว้ างใจกนั , การไดร้ บั การสนบั สนุนจาก ชมุ ชน, วฒั นธรรมการทางาน เป็นตน้ )

1.3.3 การประเมินหลักสูตร (Curriculum evaluation) การประเมนิ หลกั สูตร เปน็ การ การหาคาตอบวา่ หลกั สตู รสัมฤทธิ์ผลตามท่ีกาหนดไวใ้ นจดุ ประสงค์ ของหลกั สูตรมากน้อยเพยี งใด โดยมขี อบเขตของ การประเมนิ คอื การวิเคราะหต์ ัวหลักสูตร การวิเคราะห์ กระบวนการของการนาหลักสตู รไปใช้ การวิเคราะห์สมั ฤทธิ์ผลในการเรยี นของผเู้ รียน และการวิเคราะห์ โครงการประเมินหลักสตู ร (สุมิตร คุณากร, 2523, น.198) การประเมินหลักสูตร 3 ระยะ ระยะที่ 1 การประเมินหลกั สูตรกอ่ นนาหลกั สตู รไปใช้ (Project Analysis) - การประเมินตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สูตรฉบับรา่ ง และองค์ประกอบตา่ งๆ ของ หลกั สูตร ประเมินโดยผเู้ ชีย่ วชาญทางดา้ นพฒั นาหลักสูตร ดา้ นเนอื้ หาวิชาชีพครู - การประเมินหลักสูตรในขั้นการทดลองใช้ เพือ่ ปรับปรุงสว่ นที่ขาดตกบกพร่องและเป็น ปญั หา ใหม้ ีความสมบูรณ์เพื่อประสิทธิภาพในการนาไปใชต้ อ่ ไป

ระยะที่ 2 คอื การประเมินหลกั สตู รระหวา่ งการดาเนินการใชห้ ลักสตู ร (Formative Evaluation) เพื่อตรวจสอบประเมินวา่ หลักสูตรสามารถนาไปใชไ้ ดด้ เี พยี งใด หรือบกพร่องในจุดไหน เพ่ือจะได้แกไ้ ข ปรับปรุงให้เหมาะสม สง่ิ ท่ีควรประเมิน คอื - กระบวนการใชห้ ลกั สูตร - การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร - การจดั การเรยี นการสอน - การนเิ ทศกากับดแู ล ระยะท่ี 3 การประเมนิ หลกั สตู รหลงั การใชห้ ลักสตู ร (Summative Evaluation) เปน็ การประเมนิ หลกั สูตรท้งั ระบบ ซ่งึ ไดแ้ ก่ - เอกสารหลกั สตู ร - วสั ดหุ ลักสตู ร - บุคลากรที่เกีย่ วกบั การใชห้ ลกั สตู ร - การบรหิ ารหลักสตู ร - การนิเทศกากบั ตดิ ตาม - การจดั กระบวนการเรยี นการสอน เปา้ หมาย เพ่ือสรปุ ผลตัดสนิ วา่ หลกั สตู รทจ่ี ดั ทาขึ้นนัน้ ควรดาเนนิ การใชต้ ่อไป หรือควรปรับปรงุ ใหด้ ีขึ้น หรือควรจะยกเลกิ

2.4 บทบาทของผบู้ รหิ ารในการบริหารหลักสูตร 1. ศึกษาขอ้ มลู รายละเอียดเก่ียวกับหลักสตู ร 2. แปลงหลกั การและจดุ หมายของหลกั สตู รออกเป็นแนวปฏบิ ตั ิ 3. สร้างความเขา้ ใจกบั ครเู ก่ียวกบั หลักสตู ร 4. สนับสนุนการใช้หลกั สตู ร 5. กากับการใชห้ ลักสตู ร 6. ประเมินการใช้หลกั สตู ร

2. การจัดการเรียนรทู้ ี่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั 2.1 ความหมายของการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ คือแนวการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ให้ ผ้เู รียนสรา้ งความรู้ใหมแ่ ละส่งิ ประดิษฐ์ใหมโ่ ดยการใช้กระบวนการทางปญั ญา(กระบวนการ คิด) กระบวนการทางสงั คม (กระบวนการกลุ่ม) และใหผ้ ูเ้ รียนมปี ฏสิ มั พนั ธ์และมีส่วนรว่ มใน การเรียนสามารถนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ โดยผสู้ อนมีบทบาทเปน็ ผ้อู านวยความสะดวกจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ใหผ้ ู้เรยี น การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ต้องจดั ให้ สอดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความสามารถและความถนดั เน้นการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ สาขาต่างๆ ใช้หลากหลายวธิ ีการสอน หลากหลายแหล่งความรู้ สามารถพัฒนาปญั ญาอยา่ ง หลากหลายคอื พหปุ ญั ญา รวมทงั้ เน้นการวัดผลอยา่ งหลากหลายวธิ ี (พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์, 2550)

สรา้ งความรู้ หลากหลายวชิ าการ (บูรณาการ) กระบวนการ หลากหลายปญั ญา (พหปุ ญั ญา) นาความรู ้ การจดั การเรยี นรูท้ ่ี ทางปญั ญา หลากหลายวธิ สี อน (กระบวน หลากหลายวธิ วี ดั และประเมนิ ผล ไปใช้ เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั การคิด) หลากหลายแหลง่ ความรู้ หลากหลายความสนใจ ( Child - centered ความสามารถ / ความถนดั มปี ฏสิ มั พนั ธ์ instruction ) กระบวนการ ทางสงั คม ( กระบวน มีสว่ นร่วม การกลมุ่ ) ในการเรยี น แผนภาพ การจดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั 17 (ปรบั จาก พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต,์ 2553) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์

ปิระมดิ แห่งการเรยี นรู้ (Learning Pyramid)

2.2 ตวั บ่งชก้ี ระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน 1. นกั เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพนั ธก์ บั ธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมและ เทคโนโลยี 2. นกั เรียนฝกึ ปฏิบตั แิ ละทากิจกรรมหลากหลายจนคน้ พบความถนัด และวธิ กี ารของตนเอง 3. นกั เรยี นเห็นแบบอยา่ งที่ดี และ ฝกึ เผชิญสถานการณจ์ นเกดิ จติ สานึก และคณุ ธรรม 4. นักเรยี นฝกึ คดิ หลายวิธี สรา้ งสรรค์จนิ ตนาการและแสดงออกได้อย่าง ชัดเจนมเี หตุผล

2.2 ตัวบ่งชกี้ ระบวนการเรียนร้ขู องผู้เรยี น (ต่อ) 5. นกั เรียนได้รบั การเสริมแรงใหท้ ดลองวิธีการแกป้ ัญหาทงั้ ด้วยตนเอง และแลกเปล่ยี นเรียนรู้จากกลมุ่ 6. นกั เรยี นได้ฝึกคน้ คว้ารวบรวมขอ้ มูลและสรา้ งสรรคค์ วามรจู้ ากแหลง่ วทิ ยาการในโรงเรยี นและชมุ ชน 7. นกั เรยี นสนใจใฝ่รมู้ ีสว่ นรว่ มในการเรียนอยา่ งมีความสขุ

2.2 ตวั บ่งชกี้ ระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน (ตอ่ ) 8. นกั เรียนฝึกระเบียบวินัยและรบั ผิดชอบในการทางานจนสาเรจ็ 9. นักเรยี นฝกึ ประเมินผลงาน ฝึกประเมนิ และปรบั ปรุงตนเองและ ยอมรับผู้อนื่

2.3 ตวั บ่งชกี้ ระบวนการสอนของครู 1. ครเู ตรยี มการสอนทงั้ เนอ้ื หาและวิธีการทีผ่ สมผสานภมู ปิ ัญญาไทยและ ความรสู้ ากล 2. ครจู ดั สิง่ แวดล้อมและบรรยากาศทปี่ ลกุ เรา้ จูงใจและเสริมแรงให้นักเรียน เกิดการเรียนรูเ้ ตม็ ตามศักยภาพ 3. ครเู ขา้ ใจและเอาใจใส่นักเรยี นเปน็ รายบคุ คลและแสดงความเมตตาต่อ นกั เรียนอย่างทว่ั ถงึ

2.3 ตัวบง่ ชกี้ ระบวนการสอนของครู (ตอ่ ) 4. ครจู ัดกจิ กรรมและสถานการณ์ใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงออกอย่างสร้างสรรค์ 5. ครสู ่งเสริมให้นักเรียนฝึกคดิ ฝกึ ทา และฝกึ ปรบั ปรงุ ตนเอง 6. ครสู ง่ เสรมิ กจิ กรรมแลกเปล่ียนเรียนรจู้ ากกลุม่ พร้อมทั้งสังเกตสว่ นดีและ ปรับปรงุ ส่วนดอ้ ยของนกั เรียน 7. ครใู ช้ส่ือการสอนเพือ่ ฝกึ การคิด การแก้ปัญหา และค้นพบความรู้

2.3 ตัวบ่งชกี้ ระบวนการสอนของครู (ตอ่ ) 8. ครูใชแ้ หลง่ เรยี นรูท้ ห่ี ลากหลายและเชอ่ื มโยงประสบการณก์ บั ชวี ติ โดยร่วมมอื กบั ชมุ ชน 9. ครูปลูกฝงั ระเบยี บวนิ ยั ค่านิยมและคุณธรรมตามวถิ วี ฒั นธรรมไทย 10. ครูประเมนิ ตนเองอยู่เสมอตลอดจนสงั เกตและประเมนิ พฒั นาการของนกั เรยี น อย่างต่อเน่อื ง

ตารางการเปรยี บเทยี บการเรยี นการสอนท่เี นน้ ครูเป็นศูนยก์ ลาง และการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็ นศูนยก์ ลาง รายการ การเรียนการสอนทเ่ี น้นครู การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียน เป็ นศูนย์กลาง เป็ นศูนย์กลาง ผเู้ รียน (child-centered) ผสู้ อน (teacher-centered) เน้ือเร่ือง ไม่ต่ืนตวั เป็นผฟู้ ัง ตื่นตวั เป็นผสู้ ร้างความรู้ การวดั และ ผสู้ อน (teacher) ผอู้ านวยความสะดวก (facilitator) การประเมิน เนน้ เร่ืองหาความรู้ เนน้ ความรู้คูก่ บั กระบวนการเรียนรู้ วดั กระบวนการ วดั พฤติกรรมหรือ วดั ความรู้ ความจาส่วนมาก การปฏิบตั ิและวดั ผลงานซ่ึงเป็นการใช้ ใชแ้ บบทดสอบ การประเมินตามสภาพจริง ทม่ี า: พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต,์ 2553 3ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์

2.4 เทคนคิ การจดั การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ การจัดกิจกรรมท่สี ง่ เสรมิ การจัดกจิ กรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนทางานร่วมกบั ใหผ้ เู้ รยี นสร้างความร้ดู ้วย คนอ่ืน ตนเอง เทคนิคการจัดการ เรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียน เป็นสาคญั การจดั กจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นนาความรไู้ ป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ตั ิ ประจาวนั

2.5 ประเภทของการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั 2.5.1 การสอนแบบเนน้ กจิ กรรมการเรยี นการสอนเป็นหลกั 1) การสอนแบบใช้ปญั หาเป็นหลัก(PBL: Problem Base Learning) 2) การสอนใหส้ ร้างความรู้ดว้ ยตนเอง (Constructivism) 3) การสอนให้เกดิ ความคิดรวบยอด (Concept Attainment) 4) การเรยี นแบบร่วมมอื สอนด้วยการใหท้ างานร่วมกนั (Cooperative Learning) 5) การสอนให้เกิดการเรยี นรจู้ ากกระบวนการคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) 2.5.2 กาเรยี นการสอนแบบเน้นสื่อ เช่น บทเรยี นสาเร็จรูป ศูนย์การเรยี น CAI และ e-Learning เป็นตน้

2.6 การวดั และประเมนิ ผลท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็ นสาคญั ใช้ “การวดั และประเมนิ ผล ตามสภาพจรงิ ” เป็นวธิ กี ารหลกั เทคนิควธิ กี ารประเมินตามสภาพจรงิ ไดแ้ ก่ 1) การสงั เกต ใชเ้ ก็บขอ้ มลู พฤติกรรมดา้ นการใช้ความคิด การปฏิบตั ิงาน และ โดยเฉพาะด้านอารมณ์ ความรูส้ กึ และลักษณะนสิ ัยสามารถทาไดท้ ุกเวลา ทกุ สถานที่ทั้ง ในหอ้ งเรียน นอกหอ้ งเรียน หรือในสถานการณอ์ ่นื นอกโรงเรยี น 2) การสัมภาษณ์ ใช้เกบ็ ข้อมูลหรือพฤติกรรมด้านความคิด (สติปญั ญา) ความรสู้ กึ กระบวนการขั้นตอนในการทางาน วธิ ีแกป้ ัญหา ฯลฯ อาจใช้ประกอบการสงั เกตเพอ่ื ให้ได้ ข้อมูลทีม่ นั่ ใจมากย่ิงขึ้น .

เทคนิควธิ กี ารประเมนิ ตามสภาพจรงิ (ต่อ) 3) การตรวจงาน เป็นการวดั และประเมินผลที่เนน้ การนาผลการประเมนิ ไปใชท้ นั ทีใน 2 ลกั ษณะ คอื เพ่อื การชว่ ยเหลอื นกั เรยี นและเพ่ือปรับปรุงการสอนของครู 4) การรายงานตนเอง เป็นการใหน้ ักเรยี นเขียนบรรยายหรือตอบคาถามสั้น ๆ หรอื ตอบแบบสอบถามท่คี รูสรา้ งขึน้ เพื่อสะท้อนถึงการเรยี นรู้ของนกั เรยี นทง้ั ความรู้ ความเขา้ ใจ วิธีคดิ วธิ ที างานความพอใจในผลงาน ความต้องการพัฒนาตนเองใหด้ ยี ิ่งขึ้น

2.7 บทบาทของผู้บรหิ ารในการส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ 1) บทบาทด้านการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 2) บทบาทด้านการพฒั นากระบวนจัดการเรยี นรู 3) บทบาทด้านการจัดหาแหล่งเรียนรู 4) บทบาทด้านการสง่ เสรมิ การวิจยั ในชนเรยี น 5) บทบาทดา้ นการจดั หาสอื่ การเรียนการสอน 6) บทบาทดา้ นการพฒั นาบคุ ลากร 7) บทบาทด้านการสร้างขวัญกาลังใจ 8) บทบาทด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล

สสววสััสดดี ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook