IMPORTANT PERSON เสนอ ครูวฒุ ิชัย เชอื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต1
IMPORTANT PERSON สมาชิก (ม.5.6) 1.นายธเนศ เฉลิมศักดิ เลขที 2 2.นายวศิ รตุ ตะก้อง เลขที 5 3.นายสานติ พันธ์แุ ตง เลขที 6 4.นายอตินนั ท์ นมิ จัน เลขที 7 5.นายขจรเกยี รติ นกแสง เลขที 9 6.นายณัฐโชค ไกรทองสุข เลขที 12 7.นายแทนไท คําศักดิ เลขที 13 8.นายสุภทั ร ทองบาง เลขที 16 เสนอ ครูวฒุ ชิ ัย เชอื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สํานักงานเขตพืนทกี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต1
คํานํา หนงั สือเลม นจ้ี ดั ทาํ ขึน้ เพ่ือประกอบการศึกษาวชิ าประวัติศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๕ เรอื่ งบคุ คลสาํ คัญทางประวตั ิศาสตรสาเหตุที่ผูจัด ทาํ เลือกเร่อื งนม้ี านําเสนอเนือ่ งจากตอ งการใหผ ูอานหรือบคุ คลท่ี สนใจในวิชาประวัตศิ าสตรไ ดศ กึ ษาเก่ียวกบั บุคคลทสี่ าํ คัญในอดตี โดย เรียบเรียงใหมดว ยภาษาทเ่ี ขาใจงา ยและมีเนือ้ หาเกี่ยวกับพระราชกรณียกจิ ท่ี บางทา นอาจไมเคยทราบมากอ น ผูจัดทาํ หวงั วาหนังสอื เลม น้ีจะเปน ประโยชนแ กผูอา นหรอื นกั เรยี น นักศกึ ษาท่กี าํ ลังหาขอมูลเก่ียวกับเร่อื งนี้อยหู ากมขี อแนะนาํ หรอื ขอ ผิด พลาดประการใดทางผูจดั ทาํ ชอนอ มรบั ไวและขออภยั มา ณ ท่นี ้ี คณะผจู ัดทาํ
สารบญั หน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว 1 2 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง 3 พระบาทสมเด็จพระปนเกล้าเจ้าอยู่หัว 4 กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ 5 สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง 6 นายวิภาคภูวดล (เจมส์ แมคคาร์ที) พ่อขุนรามคําแหงมหาราช 7 พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 8 พระมหาธรรมราชาที 1 9 สมเด็จพระรามาธิบดีที 1 10 พระบรมไตรโลกนาถ 11 สมเด็จพระสุริโยททัย 12 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 13 พระนารายณ์มหาราช 14 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี 15 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 16 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 17 พระบาทสมเด็จพระนังเกลา้เจ้าอยู่หัว 18 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 19 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 20
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสิ นทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวตั ิ พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เปนพระมหากษตั รยิ ไทยรัชกาลท่ี 10 แหง ราชวงศจกั รี เสด็จข้นึ ครองราชยเ ม่ือวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 จนถงึ ปจ จบุ ันเปนพระราชโอรสพระองคเดียวในพระบาทสมเด็จพระมหา ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจาสิ รกิ ติ ิ์พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปห ลวงพระองคม ี พระเชษฐภคนิ ีและพระขนษิ ฐภคินีรวมพระราชชนนี 3 พระองค ราชาภเิ ษกเมอื่ วนั ท่ี 4 พฤษภาคม พ.ศ.2562 พระราชกรณียกิจ ดา้ นราชกาล ทรงเขาประจําการ ณ กองปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศพิเศษ เมอื งเพิรท รัฐออสเตรเลียตะวันตก ประเทศออสเตรเลยี ทรงเขา รวมปฏบิ ตั ิการรบในการตอตา นการกอ การรา ย บรเิ วณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื รวมทง้ั การคมุ กันพ้ืนท่ีบริเวณ รอบคายผอู พยพชาวกมั พชู า ณ เขาลาน จงั หวัดตราด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ทรงเขารับราชการเปนนายทหาร ประจาํ กรมขา วทหารบกกระทรวงกลาโหม ด้านการขบั เคลอื นโครงการอันเนอื งมาจากพระราชดาํ ริ โดยไดติดตามการขับเคลื่อนใน 2 โครงการ ไดแก 1. โครงการกอสรางอางเก็บนาลาํ นํา้ ชีอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริอําเภอบานเขวา และอาํ เภอหนองบวระเหว จังหวัดชัยภูมิ 2. โครงการกอสรางอางเก็บน้าํ ลําสะพุงอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ อาํ เภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งชวยเหลือประชาชนใหมีนา้ํ ทาํ การเพาะปลูก และเพ่ือการอุปโภคบริโภครวมถึงบรรเทาปญหาอุทกภัย
สมเดจ็ พระนางเจ้าสิ ริกิติ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ประวัติ (เดมิ : หมอ มราชวงศส ริ กิ ิติ์ กิติยากร) พระราชสมภพเมอ่ื วนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2475 เปนสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถในพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร เปนสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปห ลวง ในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจา อยหู วั และโดยพระชนมพรรษา จงึ นบั เปน พระกลุ เชษฐพ ระองคปจจบุ นั ใน พระบรมราชจักรวี งศ พระราชกรณียกิจ ยังทรงพยายามไมใหเ กษตรกรยดึ ติดกับพืชผลทางการเกษตร ดา้ นการเกษตรและชลประทาน เพยี งอยา งเดียวเพราะอาจ เกดิ ปญ หาอนั เน่ืองมาจาก ในดา นการเกษตรจะทรงเนนในเร่อื งของ ความแปรปรวนของสภาพ การคน ควา ทดลอง และวิจัยหาพันธุ ดินฟาอากาศหรอื พืชใหม ๆทั้งพืชเศรษฐกิจพชื สมุนไพร รวมถึงการศกึ ษาเก่ยี ว ความแปรปรวนทางการตลาด กบั แมลงศัตรพู ืช และพนั ธสุ ตั ว แตเ กษตรกรควรจะมีรายได ตา ง ๆ ท่เี หมาะสมกบั จากดานอ่นื นอกเหนือ สภาพทองถ่นิ นนั้ ๆ ซึง่ แตล ะ ไปจากการเกษตรเพ่มิ ข้นึ ดวย โครงการจะเนนใหส ามารถนําไป ปฏบิ ัติไดจ รงิ มีราคาถูก ใชเ ทคโนโลยี เพื่อจะไดพึ่งตนเองไดในระดับหน่ึง งาย ไมสลบั ซับซอ น เกษตรกรสามารถ ดาํ เนินการเองไดนอกจากนี้
พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจา อยหู วั ทรงมีช่ืนชอบ จักรกลและ การรบและไดทรงดาํ รงตําแหนงผูบัญชาการ ทหารเรอื เปน พระองคแ รกหลักจากไดพ ระราชทานบวร ราชาภเิ ษกและทรงดาํ รงตําแหนงนตี้ ลอดชีพในสวนของพระ ราชกรณยี กจิ ดานทหารเรอื นีเ้ ร่ิมเปน ทปี่ ระจักษต้งั แตชว ง ตนของปพ.ศ.2384ซงึ่ ในขณะนน้ั ประเทศไทยไดทําสงคราม ตดิ พันกับญวนตดิ ตอ กนั มาหลายป พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา เจาอยหู ัวไดโปรดเกลาฯใหพ ระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจา อยูหัว (เมอ่ื คร้ังดาํ รงพระยศเปนเจา ฟา พกรรมะขุนรอาศิ เรชศรกังสรรรณค) เปียน แกมทิจพั ใหญคุมกองทพั เรือ ยกทัพไปตเี มืองบนั ทายมาศ ดา้ นการศึกษา เปนผแู ปลหนงั สือเก่ียวกับวชิ าทหารและเครอื่ งจกั รกล จากอังกฤษมาไทยไวห ลายเลม รวม ทัง้ ทรงแปลพจนานุกรมภาษาองั กฤษเปน ไทยดว ย ดา้ นการทหารบก ในพ.ศ.2375 พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลาเจา อยหู ัวไดโ ปรดเกลาฯ ใหสมเดจ็ พระเจา นองยาเธอ เจา ฟากรมขุนอิศเรศรงั สรรคส ราง \"ปอมพฆิ าตขา ศึก\" ข้นึ เพือ่ รักษาปากนาํ้ แมก ลองทสี่ มทุ รสงคราม นับเปน พระราชกรณยี กิจแรกทเี่ กย่ี วกบั ราชการบา นเมอื งซง่ึ ไดมีการบนั ทึกไวใ นพระราชพงศาวดาร
กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ประวัติ กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญเปนพระราชโอรส พระองคใ หญใ นพระบาทสมเด็จพระปน เกลา เจา อยูห วั ประสูตแิ ต เจา คณุ จอมมารดาเอม เม่ือวนั พฤหัสบดี แรม 2 คาํ เดือน 10 ตรงกับวันท่ี 6 กันยายน พ.ศ. 2381 เมื่อแรกประสตู ิพระองค มีพระอสิ รยิ ยศทีห่ มอ มเจา พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจา อยูหวั พระราชทานพระนามวา ยอรชวอชงิ ตนั ตามชือ่ ของจอรจ วอชิงตนั ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรกคนทัว่ ไปออกพระนามวา ยอด ตอมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห ัวพระราชทาน พระนามใหใ หมว า พระเจาวรวงศเธอพระองคเจา ยอดยงิ่ ยศ บวรราโชรสรตั นราชกุมาร และไดร ับการสถาปนาเปนพระองคเจาตา งกรมที่กรมหมน่ื บวรวิไชยชาญ เมื่อ พ.ศ. 2404 และไดเฉลิมพระราชมนเทยี รเปน กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว ปรีชาสามรถ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงเปน เจานายทมี่ คี วามสามารถหลายดาน ดาน นาฏกรรม ทรงพระปรีชา เลนหุน ไทย หุน จนี เชิดหนัง และงิ้ว ดา นการชาง ทรงชํานาญ เครือ่ งจักรกล ทรงตอ เรอื กาํ ปน ทรงทําแผนท่แี บบสากล ทรงสนพระทัยในแรธาตุ ถงึ กับ ทรงสรา งโรงถลงุ แรไ วในพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อ พ.ศ. 2426 ทรงไดร ับ ประกาศนยี บัตรจากฝรัง่ เศส ในฐานะผเู ชย่ี วชาญสาขาวิชาชาง
สมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ประวตั ิ พนั เอกหญงิ สมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปห ลวงมพี ระนามเดมิ วา พระเจาลกู เธอ พระองคเจา เสาวภาผอ งศรเี ปน พระราชธดิ าในพระบาท สมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู ัว พระราชสมภพแตส มเดจ็ พระ ปยมาวดีศรพี ัชรินทรมาตา (เจาจอมมารดาเปย ม) เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2407 เปน พระอคั รมเหสใี นพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว พรอมดวยพระโสทรเชษภคนิ ีอกี 2 พระองค ไดแ ก พระองคเ จา สุนันทากุมารรี ตั น (สมเด็จ พระนางเจาสนุ ันทากุมารรี ตั นพ ระบรมราชเทว)ี และพระองค เจาสวา งวัฒนา (สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศึกษา ด้านการเกษตร สมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรม สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินีนาถ ราชชนนพี นั ปห ลวง สนพระทัยในการพัฒนาสตรีและมีพระ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง ทรงสนพระทัย ราชดาํ รวิ าความรุงเรืองของบานเมืองยอ มอาศัยการ และโปรดดา นการเกษตร โปรดใหเลีย้ งไก ศกึ ษาเลาเรียนทด่ี ีดงั นัน้ ในป พ.ศ. 2444 จึงทรงบริจาค พันธุ ธญั พชื ไมดอก ไมป ระดบั ในบริเวณท่ี พระราชทรพั ยส ว นพระองคจัดตั้งโรงเรียนสําหรบั เด็ก ประทบั หญงิ แหงท่ีสองข้นึ ในกรงุ เทพมหานครพระราชทานช่ือวา “โรงเรียนสตรบี ํารงุ วิชา”
นายวิภาคภวู ดล (เจมส์ แมคคาร์ท)ี ประวัติ พระวภิ าคภูวดล (2396-2462) นามเดิม เจมส ฟตซร อย แมคคารที เปน นักสํารวจรงั วดั และ นักทาํ แผนที่ชาวไอริชซ่งึ มบี ทบาทสําคญั ในการปกปน เขตแดนของไทย(ตอนน้ันรจู กั ในชอ่ื สยาม) ในปลาย ครสิ ตศตวรรษท่ี 19, ซ่งึ ชว ยใหสยามพฒั นาไปสกู าร เปน รัฐชาติ ทีท่ นั สมัย. เขารบั ราชการเปน เจา กรม แผนท่ี (ปจ จบุ ันคือ กรมแผนที่ทหาร) ซึ่งกอต้ังเมอ่ื วนั ท่ี 3 กันยายน พ.ศ. 2428. โดยเขาดาํ รงตาํ แหนง นย้ี าวนานถงึ 16 ปก อ นจะกราบถวายบงั คมลาออก จากราชการเนื่องจากครบกําหนดสญั ญาเมื่อวันท่ี 18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2444 โดยมีนายโรนลั ด เวริ ธ ธี กบิ ลนิ ชาวออสเตรเลยี เปนเจา กรมแผนท่ีสืบ ตอมา คุณงามความดี การทําแผนท่ีแบบตะวันตกในประเทศไทยเรม่ิ ตั้งแตน ายแมคคารท เี ขา รบั ราชการไทย ไดใ ช หลักมลู ฐานขนาดมติ ทิ รงวงรี เอเวอเรสต ใน การสาํ รวจทาํ แผนทีต่ ลอดมา ชื่อทรงวงรี \"เอเวอเรสต\" มาจากชื่อของนายพนั เอกเอเวอเรสต นายทหารชางชาวอังกฤษผเู ปนหัวหนา สถาบนั การแผนทอ่ี นิ เดีย ในสมยั ท่อี นิ เดียยังข้ึนกบั องั กฤษการทาํ แผนทีซ่ ่งึ ไดจ ดั ทาํ กอ นสถาปนาเปน กรมแผนทเี่ ร่ิมแรกในตอน ปลาย พ.ศ. ๒๔๒๔ เปน การสํารวจ สําหรบั วางแนวทางสายโทรเลข ระหวางกรุงเทพฯ และมะละแหมง (Moulmein) ผา นระแหง (ตาก) ในการนี้นายแมคคารทไี ดท าํ การสํารวจสามเหลี่ยมเลก็ โยงยึดกบั สายสามเหลี่ยมของอนิ เดยี ทยี่ อดเขา ซึง่ อยูท างตะวนั ตกของระแหงไว ๓ แหง งานแผนท่ีทใี่ ชส าํ รจ มี การวดั ทางดาราศาสตร และการวางหมุดหลกั ฐานวงรอบ (traverse)
พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช ประวตั ิ พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช หรอื พญารวง หรอื พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เปน พระมหา กษัตรยิ พ ระองคที่ 3 ในราชวงศพระรวงแหงราช อาณาจักรสโุ ขทยั เสวยราชยประมาณ พ.ศ. 1822 ถงึ ประมาณ พ.ศ. 1842 พระองคท รงเปนกษัตริย พระองคแ รกของไทยที่ไดร ับการยกยองเปน \"มหาราช\" ดว ยทรงบําเพญ็ พระราชกรณยี กิจอนั ทรง คณุ ประโยชนแกแผน ดิน ทรงรวบรวมอาณาจกั รไทย จนเปน ปก แผน กวางขวางท้งั ยงั ไดทรงประดิษฐต วั อักษรไทยขน้ึ ทาํ ใหช าติไทยไดส ะสมความรูทางศิลปะ วฒั นธรรม และวิชาการตาง ๆ สบื ทอดกันมากกวา เจ็ดรอ ยป พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการเมืองการปกครอง ด้านศาสนาและวฒั นธรรม การปกครองของกษตั รยิ ส โุ ขทยั ได ทรงคิดประดิษฐอกั ษรไทยขน้ึ ใชแ ทนตวั ใชร ะบบปตุราชาธปิ ไตยหรือ \"พอ ปกครองลกู \" อักษรขอมทเี่ คยใชก ันมาแตเดมิ เม่ือ พ.ศ.1826 ดังขอ ความในศิลาจารกึ พอขนุ รามคําแหงวา เรยี กวา “ลายสือไทย” และไดมกี ารพฒั นาการมา คําพดู \"....เม่อื ชัว่ พอ กู กบู าํ เรอแกพอ กู กไู ดต ัว เปน ลําดับจนถึงอักษรไทยในยุคปจ จบุ นั ทําใหคน เน้ือตัวปลากเู อามาแกพ อ กู กูไดห มากสม หมาก ไทยมอี ักษรไทยใชมาจนถงึ ทกุ วนั นี้ หวาน อนั ใดกินอรอยดี กูเอามาแกพอกกู ไู ปตี หนงั วงั ชา งได กูเอามาแกพ อ กู กูไปทอบา นทอ เมอื ง ไดช า งไดงวงไดปว ไดน าง ไดเ งือนได ทอง กเู อามาเวนแกพอ กู..\"
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ประวตั ิ พอขุนศรอี นิ ทราทติ ย หรอื พระนามเตม็ กมรเต งอญั ศรอี ินทรบดนิ ทราทิตย พระนามเดิม \"พอขุนบาง กลางหาว\" เปนปฐมกษตั รยิ แหง ราชวงศพ ระรวง ตาม ประวัติศาสตรไทย ทรงครองราชยตงั้ แต พ.ศ.1781 ตราบจนเสด็จสวรรคตเม่อื พ.ศ. 1811 พระราชกรณยี กิจ พอ ขนุ ศรอี ินทราทิตยเ ม่อื ครั้งยังเปน พอขนุ บางกลางหาวไดรว มกับพอขุนผาเมอื งเจาเมืองราดแหง ราชวงศศ รีนาวนาํ ถมุ รวมกาํ ลงั พลกัน กระทาํ รฐั ประหาร ขอมสบาดโขลญลําพงโดยพอขุนบางกลางหาวตีเมอื ง ศรีสชั นาลัยและเมอื งบางขลงไดและยกทัง้ สองเมอื งให พอ ขุนผาเมอื ง สว นพอขุนผาเมืองตเี มืองสโุ ขทัยไดก ไ็ ด มอบเมอื งสโุ ขทัยใหพอขนุ บางกลาวหาว พรอมพระขรรค ชัยศรแี ละพระนาม \"ศรีอินทรบดนิ ทราทิตย\" ซงึ่ ไดน ํามา ใชเ ปน พระนาม ภายหลังไดค ลายเปนศรีอินทราทติ ย การเขา มาครองสโุ ขทัยของพระองคส งผลใหราชวงศ พระรว งเขามามีอิทธพิ ลในเขตนครสุโขทยั เพ่มิ ากข้ึนและได แผขยายดินแดนกวา งขวางมากออกไปแตเขตแดนเมอื ง สรลวงสองแควกย็ งั คงเปนฐานกําลงั ของราชวงศศรนี า วนําถุมอยู
พระมหาธรรมราชาที 1 ประวัติ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ทรงเปนพระราชโอรสของ พระเจา เลอไท และเปน พระนัดดาของพระเจา รามคําแหง มหาราชทรงเปนพระมหากษัตริย ราชวงศพ ระรวง ครองกรงุ สโุ ขทยั เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๐ - พ.ศ.๑๙๑๒ (๑๙๑๔) กอนข้นึ ครองราชสมบัติทรงดาํ รงตําแหนงอปุ ราช ครองเมอื งศรสี ัชนาลัยต้ังแต พ.ศ. ๑๘๘๓ - พ.ศ.๑๘๙๐ ใน พ.ศ. ๑๘๙๐ เมือ่ พระยางวั่ นาํ ถมพระมหากษตั ริย ครองราชสมบัติ ณ กรงุ สโุ ขทยั ไดเสดจ็ สวรรคตไดเกิด การจราจลชงิ ราชสมบตั ิกรงุ สุโขทยั ขึน้ พระมหาธรรม ราชาที่ ๑ (พระยาลไิ ท) ทรงสามารถยกกองทพั มาปราบ ปรามศตั รูไดห มดส้ิน และเสดจ็ ขึน้ ครองราชสมบตั ิเปน พระมหากษัตริยองคท่ี ๖ แหงราช วงศพระรว งเฉลิม พระนามวา ศรสี รุ ิยพงศร ามมหาธรรมราชาธิราช พระราชกรณียกิจ ดา้ นการเกษตร ด้านความสมั พันธก์ ับเพอื นบา้ น ในสมยั สโุ ขทยั พระพทุ ธศาสนาไดร บั การเคารพ พระองคทรงใชพระพุทธศาสนามาเปนส่อื กลาง นับถอื มากและเจริญสูงสุดในสมยั ของพระมหา ในดา นการเจรญิ สัมพันธไมตรีและวัฒนธรรมกบั แวน ธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) ซง่ึ เปนหลานของพอ ขนุ แควนตางๆเชน ทรงสงพระสงฆไ ปเผยแพรพระพทุ ธ รามคาํ แหงมหาราชโดยพระยาลิไทยทรงเปน ศาสนาในลา นนา กษตั รยิ ทม่ี ี พระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาเปน อยางยิ่งโดยพระองคทรงพระราชนพิ นธห นังสือ เกย่ี วกับพระพุทธศาสนาเร่ืองไตรภมู ิพระรวง เม่ือ พ.ศ. 1888 หนงั สือเรือ่ งนไ้ี ดถูกนาํ มาใชเ ปน หลกั ในการศึกษาพระพุทธศาสนามาจนปจ จุบนั
สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี 1 ประวตั ิ สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 1 หรอื พระเจา อูท อง เปน พระปฐมบรมกษตั ริยแหง อาณาจักรอยธุ ยา เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื พ.ศ.1855 ทรงสถาปนา กรงุ ศรีอยุธยาเปน ราชธานีของอาณาจักรอยุธยา เมอ่ื จุลศักราช 712 ปข าล โทศก วันศกุ ร เดือนหา ขึ้นหกคํ่า เวลา 3 นาฬกิ า 9 บาท (ตรง กบั วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 1893) มีพระนามเต็มวา สมเด็จพระรามาธบิ ดศี รีสนุ ทรบรมบพติ ร พระพทุ ธเจาอยหู วั รามาธบิ ดีท่ี1 อทู อง และเสด็จ สวรรคต เม่อื ปร ะกา เอกศกจุลศักราช 731 (ตรงกับ พ.ศ. 1912) ครองราชสมบตั ิ 20 ปผสู ืบ ราชพระราชบัลลังกต อคือ สมเด็จพระราเมศวร พระราชกรณียกจิ ในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระองคท รง เจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั แวน แควนตา งๆมากมาย แมก ระทั่งขอม ซึ่งก็เปน มาดวยดจี นกระทั่งกษตั ริย ขอมสวรรคต พระราชโอรสนาม พระบรมลําพงศทรง ขึน้ ครองราชย ซงึ่ พระบรมลําพงศกแ็ ปรพักตรไ มเ ปน ไมตรดี งั แตกอ นสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 จงึ ให สมเด็จพระราเมศวรยกทัพไปตีกัมพชู าและใหส มเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขนุ หลวงพะงั่ว) ทรงยกทพั ไปชว ยจงึ สามารถตเี มอื งนครธมแตกได พระบรมลาํ พงศส วรรคตในศึกครงั้ น้ีสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี 1 จึงแตง ตงั้ ปาสัต พระราชโอรสของพระบรมลาํ พงศเปนกษัตรยิ ขอม
พระบรมไตรโลกนาถ ประวัติ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ หรอื สมเดจ็ พระราเม ศวรบรมไตรโลกนาถบพติ ร มพี ระนามเดิมวา สมเดจ็ พระราเมศวร หมายถงึ \"พระพทุ ธเจา \" หรือ \"พระอศิ วร\" พระราชสมภพทอี่ ยธุ ยาเมอื่ ป พ.ศ.1974 แตเ ตบิ โตและมี ชีวิตในวยั เยาวทีพ่ ษิ ณโุ ลก โดยเปนพระราชโอรสของ สมเด็จพระบรมราชาธบิ ดที ี่ 2 (เจา สามพระยา) กับพระ ราชธดิ าของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แหง สโุ ขทัย พระองคจงึ เปนเชอ้ื สายราชวงศส ุพรรณบุรแี ลราชวงศ พระรว ง พระราชกรณียกจิ การรวมอาณาจักรสโุ ขทัยเข้ากบั อยุธยา เม่อื สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นเสวย ราชยใน พ.ศ. ๑๙๙๑ นั้นทางสุโขทัยไมม ีพระมหา ธรรมราชาปกครองแลว คงมแี ตพ ระยายุทธิ ษเฐยี ร พระโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ ๔ ไดร บั แตง ตง้ั จากอยุธยาใหไปปกครองเมือง พิษณุโลก ถงึ พ.ศ. ๑๙๙๔ พระยายุทธิษเฐียร ไปเขากบั พระเจาตโิ ลกราชแหง ลา นนา พระราช มารดาของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถได ปกครองเมืองพษิ ณโุ ลกตอมาจนส้นิ พระชนม เมอ่ื พ.ศ.๒๐๐๖ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ไดเสดจ็ ไปประทับทพี่ ิษณโุ ลกและถอื วา อาณาจักรสุโขทยั ถกู รวมเขา กับอาณาจักร อยุธยานบั ตัง้ แตนั้นเปนตนมา
สมเดจ็ พระสุริโยททยั ประวตั ิ สจังหวัดกาญจนบรุ แี ละตงั้ คา ยลอ ม พระนคร การศึกครัง้ น้ันเปน ทเี่ ลอ่ื ง สมเดจ็ พระสุริโยทยั สบื เช้ือสายมาจากราชวงศ ลอื ถึงวรี กรรมของ สมเด็จพระศรีสุริ พระรว งดาํ รงตาํ แหนงพระอคั รมเหสีใน โยทยั ซงึ่ ไสชา งพระทนี่ ั่งเขา ขวาง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระเจา แปรดวยเกรงวา สมเดจ็ พระ ในขณะที่สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ มหาจักรพรรดพิ ระราชสวามี จะเปน ขึน้ ครองราชสมบตั กิ รงุ ศรีอยธุ ยาตอ จากขุน อันตรายจนถกู พระแสงของา วฟนพระ วรวงศาธริ าชไดเ พยี ง 7 เดอื น อังสาขาดสะพายแลง ส้ินพระชนมอ ยู เม่อื พ.ศ. 2091 พระเจา ตะเบง็ ชะเวตีแ้ ละ บนคอชา งเพ่ือปกปอ งพระราชสวามี มหาอุปราชาบุเรงนองยกกองทพั พมาเขามา ไว ลอ มกรงุ ศรีอยุธยาคร้งั แรก โดยผานมาทางดา นดา นพระเจดียส ามองค พระราชกรณียกิจ เมอ่ื วันท่ี 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2092 สมเดจ็ พระ มหาจักรพรรดิทรงตดั สนิ พระทัยยกทพั ออกนอกพระนครเพอื่ เปนการบํารงุ ขวัญทหารและทอดพระเนตรจํานวนขา ศึกสมเดจ็ พระสรุ โิ ยทัยพรอ มกบั พระราชโอรส-พระราชธิดารวม 4 พระองคไดเสดจ็ ตดิ ตามไปดวย โดยพระองคทรงแตงกาย อยางมหาอุปราชครัน้ ยกกองทพั ออกไปบริเวณทุงภเู ขาทอง กองทพั อยุธยาปะทะกับกองทัพพระเจา แปรซง่ึ เปน ทัพหนา ของ พมา ชา งทรงของสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิเกิดเสยี ทหี นั หลงั หนี จากขา ศกึ พระเจาแปรกท็ รงขับชางไลตามมาอยา งกระชน้ั ชิด สมเดจ็ พระสรุ โิ ยทัยทอดพระเนตรเหน็ พระราชสวามกี าํ ลังอยูใ น อนั ตรายจึงรบี ขับชา งเขา ขวางพระเจา แปร
สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ประวตั ิ เกดิ : 25 เมษายน 2098 เสยี ชีวติ เมือ่ : 25 เมษายน 2148, อาํ เภอ เวยี งแหง ชอ่ื เต็ม: สมเด็จพระสรรเพชญท ่ี ๒ บิดา/มารดา: สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช, พระวสิ ุทธกิ ษตั รยี พี่นอง: สมเด็จพระเอกาทศรถ, พระสุพรรณกัลยา การครองราชย ราชวงศ ราชวงศส โุ ขทัย ทรงราชย ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ - ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๑๔๘ พระราชกรณยี กิจ นบั ต้ังแตส มเด็จพระนเรศวรประกาศอสิ รภาพเปน ตน มา หงสาวดไี ดเพียรสงกองทัพเขา มาหลายครงั้ แตก็ถกู กองทพั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตีแตกพา ยไปทุกคร้งั เมือ่ สมเด็จพระมหาธรรมราชา เสด็จสวรรคต เมือ่ ป พ.ศ. ๒๑๓๓ พระองคไดเ สดจ็ ขึน้ ครองราชยเม่ือวนั อาทติ ยท ่ี ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ เมอ่ื พระชนมายไุ ด ๓๕ พรรษา ทรงพระนามวา สมเด็จพระนเรศวรหรอื สมเดจ็ พระสรร เพชญท ี่ ๒ และโปรดเกลา ฯ ใหพระเอกาทศรถ พระอนชุ าข้นึ เปน พระมหาอปุ ราช แตมศี กั ดเิ์ สมอ พระมหากษัตริยอกี พระองคหนงึ่ ตลอดรชั สมยั ของพระองคท รงกอบกูกรงุ ศรอี ยุธยาจากหงสาว ดแี ละไดท าํ สงครามกับอริราชศตั รทู ้ังพมา และเขมร จนราชอาณาจกั รไทยเปน ปก แผน ม่ันคงขยาย พระราชอาณาเขตออกไปอยางกวา งใหญไพศาลกวาครัง้ ใดในอดีตท่ผี า นมา
พระนารายณ์มหาราช ประวัติ เกิด: 16 กุมภาพนั ธ 2175 เสยี ชวี ิตเมื่อ: 11 กรกฎาคม 2231, ลพบุรี ชื่อเตม็ : นารายณ บตุ ร: สมเดจ็ พระสรรเพชญท ่ี 8, กรมหลวงโยธาเทพ พ่ีนอง: สมเด็จเจา ฟาไชย, ศรีสพุ รรณ พระราชกรณยี กจิ พระองคเปน พระมหากษัตริยท ่ที รงพระปรชี าสามารถยงิ่ จนไดรบั การเทิดพระเกยี รติเปน \" มหาราช \" และทรงนาํ ความเจริญรุงเรอื งมาสูกรงุ ศรีอยธุ ยาเปนอยางมากทรงมพี ระบรม เดชานุภาพที่ยิ่งใหญ ทําสงครามกับอาณาจกั รตา งๆใกลเคยี งไดรับชัยชนะหลายครั้งมีการเจรญิ สมั พันธไมตรี กบั ประเทศตางๆอยางกวา งขวาง เชน จีน ญ่ปี ุน ฮอลนั ดา อังกฤษ อหิ รา น ทส่ี ําคัญท่ีสดุ คอื ไดส งทตู ไปเจริญสมั พนั ธไมตรีกับราชสํานกั พระเจา หลุยสท่ี 14 แหง ฝร่งั เศสถงึ 4 ครัง้ จนไดร บั การเทดิ ทูนวา ทรงเปนนักการคาและนักการทูตทย่ี ่ิงใหญ นอกจากนน้ั ยังทรง พระปรีชา ในดานวรรณกรรมเปนอยางยิ่งโดยทรงพระราชนิพนธวรรณคดีไวหลายเร่ือง เชน โคลงทศรถสอนพระราม พาลีสอนนอ งราชสวัสดิ์ สมทุ รโฆษคําฉนั ท( ตอนกลาง) คาํ ฉนั ทกลอ ม ชา ง(ของเกา ) และพระราชนพิ นธโคลงโตตอบกับศรปี ราชญแ ละกวี มชี อื่ อ่นื ๆ ทัง้ ยงั ทรงสนบั สนนุ งานกวนี ิพนธใ หเ ฟอ งฟู เชนสมทุ รโฆษคาํ ฉันทของพระมหาราชครู
สมเดจ็ พระเจ้าตากสิ นมหาราช หรือ สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี ประวตั ิ เกดิ : พ.ศ. 2277, เทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยา เสยี ชีวิตเมื่อ: 6 เมษายน 235, พระราชวังเดมิ (พระราชวงั กรุงธนบรุ )ี , กรงุ เทพมหานคร คสู มรส: สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟาฉิมใหญ บุตร: เจา จอมมารดาสาํ ลี ในสมเดจ็ พระบวรราชเจา มหาเสนานรุ ักษ และอกี เยอะมากมาย บิดา/มารดา: หยง แซแต, นกเอยี้ ง พระราชกรณียกจิ ทรงกอบกเู อกราชเริม่ แตใ นวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2309 เห็นวา กรุงศรอี ยธุ ยาคงตองเสียที แกพมา จึงตัดสินใจรวบรวมทหารกลา ราว 500 คน ตฝี า วงลอมทหารพมาโดยตั้งใจวา จะกลับมากู กรุงศรีอยุธยากลบั คืนใหไดโ ดยเร็วทรงเขายึดเมอื งจนั ทบรุ ี เรม่ิ สะสมเสบียงอาหาร อาวุธ กาํ ลัง ทหารเพื่อเขา ทําการกอบกกู รุงศรีอยุธยากรุงศรีอยธุ ยาแตกเมอ่ื วนั องั คาร ขึ้น 9 ค่าํ เดอื น 8 และ สมเดจ็ พระเจา ตากสิน สามารถกกู ลบั คนื มาได เมอ่ื วันศุกร ขึ้น 15 คา่ํ เดอื น 12
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ประวัติ เกดิ : 20 มนี าคม 2280, เทศบาลนคร พระนครศรอี ยธุ ยา เสยี ชีวติ เมอ่ื : 7 กันยายน 2352 ชือ่ เตม็ : พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก คสู มรส: สมเดจ็ พระอมรินทราบรมราชินี (สมรส ไมแ นช ดั –พ.ศ. 2352) บุตร: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั , เพม่ิ เตมิ พระราชกรณียกิจ การสถาปนากรุงรตั นโกสินทร์ โปรดเกลาโปรดกระหมอมใหตงั้ กรงุ รัตนโกสนิ ทร เปน ราชธานีใหม ทางตะวนั ออกของแมน ํา้ เจาพระยาแทน กรงุ ธนบรุ ี ดวยเหตผุ ลทางดา นยทุ ธศาสตรเนอ่ื งจาก กรุงธนบุรตี ง้ั อยบู นสองฝง แมน ํ้า ทาํ ใหก ารลําเลียงอาวุธ ยทุ ธภัณฑและการรกั ษาพระนครเปน ไปไดย าก อกี ทัง้ พระราชวังเดิมมีพ้นื ทีจ่ าํ กัดไมส ามารถขยายได เน่ืองจาก ตดิ วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหารและวดั โมลโี ลกยา รามราชวรวิหาร สวนทางฝง กรงุ รัตนโกสนิ ทรน ั้นมีความ เหมาะสมกวาตรงทมี่ ีพื้นแผน ดนิ เปน ลกั ษณะหวั แหลมมี แมนํา้ เปนคเู มอื งธรรมชาติ มีชยั ภมู ิเหมาะสม และสามารถ รบั ศึกไดเ ปนอยา งดี
พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั มพี ระนามเดมิ วา ฉิม เปนพระราชโอรสพระองค ใหญใ นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก มหาราชพระราชสมภพเม่อื วันพธุ ขนึ้ 7 คํ่า เดอื น 4 ปกุน เวลาเชา 5 ยามซ่ึงตรงกบั วันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2310 เปน พระราชโอรส พระองคท ี่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช เสวยราชสมบตั ิ เม่อื ปมะเส็ง ปพ .ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายไุ ด 42 พรรษา พระราชกรณียกจิ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลานภาลัย ไดร บั การยกยอ งวา เปน ยุคทองของวรรณคดสี มยั หนึ่งเลยทีเดยี ว ดา นกาพยก ลอนเจรญิ สงู สดุ จนมคี ํากลาววา \"ในรชั กาลท่ี 2 นั้น ใครเปน กวีก็เปนคนโปรด\"พระองคมพี ระราชนิพนธท ่เี ปน บทกลอน มากมาย ทรงเปนยอดกวดี า นการแตง บทละครทัง้ ละครในและละคร นอก มหี ลายเรอื่ งทม่ี ีอยเู ดิมและทรงนํามาแตง ใหมเพอ่ื ใหใ ชใ นการ แสดงได เชน รามเกยี รต์ิ อุณรุท และอเิ หนา โดยเรอ่ื งอเิ หนานี้ เรื่องเดิมมีความยาวมาก ไดทรงพระราชนพิ นธใหมต้ังแตตน จนจบ เปนเรื่องยาวที่สุดของพระองค วรรณคดีสโมสรในรชั กาลที่ 6 ได ยกยอ งใหเ ปน ยอดบทละครราํ ท่ีแตงดี ยอดเยย่ี มทั้งเนือ้ ความ ทาํ นองกลอนและกระบวนการเลน ทั้งรอ งและรํา นอกจากนีย้ ังมี ละครนอกอนื่ ๆ เชน ไกรทอง สงั ขท อง
พระบาทสมเดจ็ พระนังเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจา อยหู วั เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั และพระองคแรกทปี่ ระสตู ิแตเ จา จอม มารดาเรียม เสดจ็ พระราชสมภพเม่อื วนั จนั ทรท ี่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัตเิ มอ่ื วนั อาทติ ย เดอื น 9 ขนึ้ 7 คํ่า ปว อก ซ่งึ ตรงกบั วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิรดิ ํารงราช สมบัติได 27 ป พระราชกรณียกจิ เมือ่ ครง้ั ท่ที รงกาํ กับราชการกรมทา (ในสมัยรชั กาลท่ี 2) ไดท รงแตงสาํ เภา บรรทกุ สนิ คา ออกไปคาขายในตางประเทศมรี ายไดเ พม่ิ ขึ้นในทอ งพระคลังเปน อันมาก พระราชบดิ า ทรงเรยี กพระองควา \"เจา สวั \" เม่อื รชั กาลท่ี 2 เสดจ็ สวรรคต มไิ ดต รสั มอบราชสมบตั ิแกผูใ ด ขุนนางและพระราชวงศตางมคี วามเห็นวาพระองค (ขณะทรงดาํ รงพระราชอสิ ริยยศเปน กรมหมื่น เจษฏาบดนิ ทร) ขณะนัน้ มีพระชนมายุ 37 พรรษา ทรงรอบรกู ิจการบานเมอื งดี ทรงปราดเปรือ่ ง ในทางกฎหมาย การคาและการปกครอง จึงพรอมใจกันอัญเชิญครองราชยเปนรัชกาลท่ี 3.
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระราชโอรสองคท ี่ 43 ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลยั ที่ประสตู ิแตส มเด็จพระศรสี รุ ิเยน ทราบรมราชินี ทรงพระราชสมภพเมอื่ วนั พฤหัสบดี ขึ้น 14 คํ่า เดือน 11 ปช วด ฉศก จ.ศ. 1166 ซงึ่ ตรงกับวนั ที่ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 เมอื่ คร้ังยังดํารงพระอสิ รยิ ยศ เปนสมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ เจาฟากรมหลวงอิศรสนุ ทร โดยพระนามกอ นการมพี ระราชพิธีลงสรงเฉลมิ พระนามวา \"ทูลกระหมอมฟา ใหญ\" พระองคมี พระเชษฐาและ พระอนชุ ารว มพระราชมารดา รวมท้ังสิ้น 3 พระองค ไดแ ก สมเดจ็ เจา ฟาชาย (สน้ิ พระชนมเ มอื่ ประสตู )ิ สม เดจ็ ฯ เจา ฟา มงกุฎ และสมเด็จฯ เจาฟา จฑุ ามณี (ภายหลัง ไดรับการสถาปนาขน้ึ เปน พระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจา อยูหัว) พระองคจงึ เปน สมเด็จพระเจาลกู ยาเธอเจาฟา พระองคแ รกทมี่ ีพระชนมในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศ หลานภาลัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู วั เสวย ราชสมบตั ิในวนั พธุ ข้นึ 1 ค่าํ เดือน 5 ปก นุ ยังเปนโทศก พ.ศ. 2394 รวมดาํ รงสริ ริ าชสมบัติ 16 ป 6 เดือน พระราชกรณยี กจิ ด้านการศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา ดา้ นศาสนา เม่ือ พ.ศ. 2411 พระองคทรงคาํ นวณวา จะ พระองคท รงฟน ฟูพระพุทธศาสนาให สามารถเหน็ สุริยุปราคาเตม็ ดวงไดในประเทศสยาม ณ รงุ เรือง โดยทรงต้ังธรรมยุตติกาวงศข ้นึ เปน นกิ าย หมูบา นหวา กอ ตําบลคลองวาฬ จังหวดั ใหมใ นพระพทุ ธศาสนา ที่มีความเครงครัดในพระ ประจวบครี ีขนั ธ พระองคจ ึงโปรดใหตง้ั พลับพลาเพือ่ ธรรมวินยั และระเบียบแบบแผน ดานพระพุทธศาสนา เสดจ็ พระราชดาํ เนินทอดพระเนตรสุรยิ ุปราคาทต่ี ําบล หวากอ ซึ่งเมื่อถึงเวลาทีพ่ ระองคทรงคาํ นวณกเ็ กิด สรุ ิยปุ ราคาเตม็ ดวงดังที่ทรงไดค ํานวณไว พระองค เสดจ็ ประทับอยูท ่หี วากอเปนระยะเวลาประมาณ 9 วนั
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลง กรณฯ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว หรือ พระพุทธเจา หลวง ทรงเปนรชั กาลท่ี 5 แหง พระบรมราชจักรีวงศ พระบรมราชสมภพเมือ่ วันองั คาร เดอื น 10 แรม 3 ค่ํา ปฉ ลู 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 เปนพระราชโอรส องคที่ 9 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว และ เปนที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศริ ินทรามาตย เสวยราช สมบัติ เม่ือวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขนึ้ 15 คํา่ ปมะโรง (พ.ศ. 2411) รวมสิริดาํ รงราชสมบตั ิ 42 ป เสดจ็ สวรรคต เม่อื วนั เสาร เดอื น 11 แรม 4 ค่าํ ปจ อ (23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453) ดวยโรคพระวกั กะ รวม พระชนมพรรษา 58 พรรษา พรราชกรณยี กิจ ทรงยกเลิกระบบไพร โดยใหไ พรเสยี เงินแทน การถูกเกณฑ นบั เปน การเกิดระบบทหารอาชพี ใน ประเทศไทย นอกจากนี้ พระองคย ังทรงเลิกทาสแบบ คอ ยเปน คอ ยไป เรม่ิ จากออกกฎหมายใหล ูกทาสอายุ ครบ 20 ปเ ปน อิสระ จนกระทั่งออกพระราชบัญญตั ิ เลกิ ทาส ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ซง่ึ ปลอยทาสทุกคน ใหเ ปน อสิ ระและหามมีการซื้อขายทาส
บรรณานุกรม วกิ ิพีเดยี .//(2564).//กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ.//สบื คนเมอ่ื 18 กุมภาพนั ธ 2564.// จาก http://gg.gg/ogsmu/1 วกิ พิ เี ดยี .//(2564).//พระบรมไตรโลกนาถ.//สืบคน เมอื่ 18 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogsn0 วิกิพเี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั .//สบื คนเม่อื 18 กุมภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtvl วิกพิ เี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั .//สืบคนเม่อื 18 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtvz วกิ ิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจา อยูหัว.//สืบคนเม่อื 20 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtwm วกิ พิ เี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลา เจา อยูหัว.//สบื คนเม่อื 20 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogspa วิกิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช.//สบื คน เม่อื 20 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtxy วิกพิ เี ดยี .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลัย.//สบื คนเม่อื 20 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtyd วกิ ิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลาเจา อยหู ัว.//สืบคนเม่ือ 21 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtzfy วิกิพเี ดยี .//(2564).//พระมหาธรรมราชาที่๑.//สบื คน เม่ือ 21 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogu04
วิกพิ ีเดีย .//(2564).//พระวภิ าคภูวดล.//สบื คน เม่อื 21 กมุ ภาพันธ 2564.// จาก http://gg.gg/oh1ju วกิ ิพเี ดยี .//(2564).//พอขุนรามคําแหงมหาราช.//สืบคนเม่อื 21 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1ko วกิ ิพีเดีย .//(2564).//พอ ขนุ ศรีอินทราทติ ย. //สบื คน เมือ่ 24 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1ky วกิ ิพีเดยี .//(2564).//สมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปห ลวง.// สบื คน เมอื่ 24 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1nr วิกิพีเดีย .//(2564).//สมเด็จพระนารายณมหาราช.//สบื คนเมื่อ 24 กมุ ภาพันธ 2564.// จาก http://gg.gg/oh1lw วกิ พิ เี ดยี .//(2564).//สมเด็จพระนเรศวรมหาราช.//สืบคนเมอื่ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1mo วกิ ิพีเดีย .//(2564).//สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1//สืบคน เม่ือ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1on วิกพิ เี ดยี .//(2564).//สมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง.// สืบคนเมอื่ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1pu วกิ พิ ีเดีย .//(2564).//สมเด็จพระสรุ โิ ยทัย.//สบื คน เม่อื 27 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1p3
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: