ก
ข คำนำ เอกสาร สรปุ ผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้าง ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่ และในการ ดำเนินกิจกรรมโครงการมีปัญหาอุปสรรคใดบ้าง มีแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างไร เพื่อใช้ในการ ปรับปรงุ พัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหม้ ีคณุ ภาพทีด่ ยี งิ่ ขน้ึ เอกสาร สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ประจำปงี บประมาณ 2562 (1 ตลุ าคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้าง ฉบับนี้ ซ่ึง ประกอบไปด้วย 7 องค์ประกอบ (1) สารจากผู้อำนวยการ (2) ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของอำเภอ (3) ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา (4) ตอนที่ 3 ทิศทางการดำเนินงาน (5) ส่วนที่ 4 สรุป งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2562 (6) ส่วนที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานประจำปี งบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) (7) ภาคผนวก ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอทา่ ช้าง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าชา้ ง ขอขอบคุณ วัดพิกุล ทอง หน่วยงานภาคีเครือข่าย ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และผู้รับบริการการเรียนรู้ที่ได้มีส่วนร่วมให้ การดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ประสบ ผลสำเร็จดังปรากฏรายละเอียดในรายงานฉบับนี้ ซึ่งจะเป็นข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญ และหวังเป็น อย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์และเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ให้มี ประสทิ ธิภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ต่อไป (นางสาวณัฏฐพ์ ัชร์ สายไทย) ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอท่าช้าง
ค สารบญั เรอื่ ง หน้า คำนำ............................................................................................................................. .......................ก สารบญั ......................................................................................................................... ........................ข สารจากผอู้ ำนวยการ...........................................................................................................................ค สว่ นที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของอำเภอ...................................................................,......................................1 ส่วนท่ี 2 ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศกึ ษา............................................................................................10 ส่วนท่ี 3 ทิศทางการดำเนินงาน.......................................................................................................33 ส่วนท่ี 4 สรุปงบประมาณรายจา่ ยประจำป.ี .....................................................................................33 ส่วนที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2562 (1 ตุลาคม 2561 – 30 กนั ยายน 2562).33 ภาคผนวก............................................................................................................................................ข ก รูปภาพกิจกรรม..............................................................................................................ข สารจากผู้อำนวยการ
ง กศน.อำเภอทา่ ช้าง ตลอดระยะเวลา 8 เดือนที่ข้าพเจ้าได้มาปฏิบัติราชการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้าง ได้ดำเนินการภายใต้ กรอบนโยบาย ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดสิงห์บรุ ี สังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ จากผลการดำเนินงาน ที่เกิดขึ้น บ่งบอกถึงความตั้งใจ ความทุ่มเท และเสียสละของบุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้างทุกคน ที่ช่วยกันขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติจน ประสบความสำเร็จ โดยมีการประสานความร่วมมือจากส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย และคณะกรรมการสถานศึกษา ที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาสนองตอบ กับความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ท่ีและคำนึงถงึ ประโยชนข์ องประชาชนทจี่ ะไดร้ ับอย่างแทจ้ ริง ในการนี้ ขอขอบคุณ บุคลากร ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ท่าช้าง และคณะกรรมการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ท่าช้างและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนที่ได้ร่วมมือ ร่วมใจกันพัฒนาคุณภาพการศึกษา สู่มาตรฐาน การศกึ ษาในอนาคตตอ่ ไป (นางสาวณัฏฐ์พัชร์ สายไทย) ผูอ้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอทา่ ชา้ ง
1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของอำเภอ ข้อมลู พน้ื ฐานอำเภอทา่ ช้าง 1. ความเป็นมาของอำเภอท่าชา้ ง คำวา่ “ท่าชา้ ง” เน่อื งจากแต่เดิมพน้ื ที่บริเวณอำเภอท่าชา้ งมคี วามอุดมสมบรู ณ์ มี แหล่งน้ำสำคญั คือแม่นำ้ น้อยไหลผ่าน มหี าดกว้างขวาง เหมาะกับการเลยี้ งช้าง จึงมีการนำชา้ งหลวง มาเล้ยี งในพื้นที่นี้เป็นจำนวนมาก จึงเรยี กพื้นทีบ่ รเิ วณน้ีวา่ “ทา่ ช้าง” อาจารย์พุฒ ชมจันทร์ เขียนไว้ในประวัติอำเภอท่าช้างว่า ที่เรียกว่าท่าช้างนั้นหมาย เอาตรงตลาดเหนือ (บริเวณที่สร้างสะพานหลวงพ่อแพ 90 ในปัจจุบัน) เพราะตรงนั้นเป็นท่าน้ำใหญ่ เลา่ กนั วา่ ขุนพเิ ชษฐก์ ับขุนขจร ซง่ึ เป็นคนเลยี้ งช้างหลวง มบี า้ นอยูท่ างเหนอื ขึ้นไปเล็กน้อย ตอนเช้าจะต้อนโขลงช้างมาลงนำ้ ท่ที ่าน้ำ ให้ชา้ งอาบนำ้ แลว้ จึงพาออกไปหาอาหารตาม บริเวณทุ่งลาด บึงกะดีแดง บ้านละเมาะยุบ กล่าวกันว่าดงตาลที่บ้านกะดีแดงนั้นเป็นตาลขี้ช้าง พอ ตกเย็นก็จะต้อนช้าง มาลงที่ท่าน้ำนัน้ อีก ต่อมามีผู้คนมาอาศัยอยู่และใช้ท่านำ้ เป็นท่ีสำหรับข้ามไปมา อยู่เสมอ จึงกลายเป็นตลาด เรียกว่า ตลาดท่าช้าง ต่อมาตลาดเหนือซึ่งเป็นท่าน้ำเดิมนั้นถูกโจรปล้น เมื่อวันแรม 2 ค่ำ เดือน 10 ปี 2490 จับชาวจีนไปเป็นตัวประกัน 5 คน และเถ้าแก่ร้านทองผู้หนึ่ง ถูกโจรยงิ ดาย ตลาดเหนอื จึงซบเซาลงในเวลาตอ่ มา ในปี พ.ศ.2489 หลงั สงครามโลกครั้งท่ี 2 มกี ารสรา้ งตลาดแห่งใหม่บริเวณวัดโบสถ์ขึ้น ตอนน้นั เรยี กว่า ตลาดใตบ้ า้ ง ตลาดใหม่บา้ ง ตลาดวดั โบสถบ์ า้ ง และเรียกวา่ ตลาดทา่ ช้างในทสี่ ดุ เดิมอำเภอท่าช้างขึ้นกับอำเภอพรหมบุรี แต่อยู่ห่างไกลจากที่ว่าการอำเภอมากเพราะมี ทุ่งกว้างกั้นกลางทำให้การติดต่อไปมาไม่สะดวก หลวงพ่อแพ เจ้าอาวาสวัดพิกุลทอง จึงติดต่อไปทาง กระทรวงมหาดไทยขอต้ังเป็นกิ่งอำเภอท่าช้าง ต่อมาในปี พ.ศ.2503 กระทรวงมหาดไทยประกาศต้ัง กิ่งอำเภอท่าช้างขึ้น โดยแบ่งเป็นตำบลถอนสมอ ตำบลวิหารขาว และตำบลโพประจักษ์ จากอำเภอ พรหมบรุ ี 2. คำขวญั อำเภอท่าช้าง
2 ถ่ินช้างศึกครั้งกรุงศรี บารมีหลวงพ่อแพ 3. ลักษณะภมู ิศาสตร์ของอำเภอทา่ ช้าง 3.1 ทต่ี งั้ และขนาดพน้ื ท่ี อำเภอท่าช้างอยู่ ทางทศิ ใต้ของจงั หวัดสิงห์บรุ ี มีเนือ้ ทป่ี ระมาณ 34.97 ตารางกิโลเมตร หรือ 21856.25 ไร่ 3.2 อาณาเขต อำเภอทา่ ช้าง มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั อำเภอ จังหวดั อน่ื ดงั นี้ ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับอำเภอคา่ ยบางระจันและอำเภอเมืองสงิ หบ์ รุ ี ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับอำเภอโพธท์ิ อง จังหวดั อา่ งทอง ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กับอำเภอพรหมบรุ ี จงั หวดั สิงหบ์ รุ ี ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กับอำเภอแสวงหา จงั หวัดอา่ งทองและอำเภอค่ายบางระจนั จังหวดั สงิ ห์บรุ ี 4. ลกั ษณะทางกายภาพ 4.1 สภาพภมู ปิ ระเทศ ลักษณะภมู ปิ ระเทศโดยทั่วไปของอำเภอท่าชา้ งเป็นพ้ืนทรี่ าบลุ่มมแี มน่ ้ำไหลผา่ น ลักษณะของดินสว่ นใหญ่เปน็ ดนิ เหนยี วปนทรายมีความอดุ มสมบูรณเ์ หมาะสมแกก่ ารเพาะปลกู การทำ เกษตรกรรม 4.2 สภาพภมู ิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศโดยทั่วไป โดยทั่วไปคล้ายกับพื้นท่ีอื่นในจังหวัดสิงห์บุรีและใกล้เคียง ในภาคกลาง แบ่งเป็น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ฤดูฝน ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม –ตุลาคม และฤดหู นาว ตัง้ แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน – มกราคม 4.3 ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติของอำเภอท่าช้าง มีความคล้ายคลึงกับอำเภอที่อยู่ใกล้เคียง คือ เป็นอำเภอที่ไม่มีทรัพยากรป่าไม้ มีทรัพยากรดินและน้ำอุดมสมบูรณ์ ดินในอำเภอท่าช้างเกิดจาก ตะกอนที่แม่น้ำพัดพามาทับถมกันทุกปี ปลูกพืชได้ติดต่อกันโดยไม่ต้องปรับปรุงดิน ลักษณะของเน้ือ ดนิ เปน็ ดินรว่ นปนดินเหนียว ดนิ รว่ นเหนยี วปนทรายแปง้ ถงึ ดนิ เหนยี ว ชาวอำเภอท่าชา้ งจึงนำดินไปใช้ ประโยชนท์ างดา้ นการเกษตร การเพาะปลกู การทำนาและทำสวน 4.4 ทรัพยากรแหลง่ นำ้ ทรัพยากรแหลง่ น้ำ อำเภอทา่ ช้าง มีแม่น้ำสายหลกั ทส่ี ำคัญ ได้แก่ แม่นำ้ น้อยซงึ่ ไหลผ่าน พื้นที่ ตำบลวหิ ารขาว ตำบลโพประจักษ์ ตำบลพกิ ุลทอง และตำบลถอนสมอ ซงึ่ แม่น้ำน้อยสายหลักน้ี อยู่ในระบบบริหารจัดการน้ำของโครงการชลประทานชัณสูตร และโครงการชลประทานยางมณี เป็น แหลง่ นำ้ เลี้ยงปลาในกระชัง มีลำบงึ กระดแี ดง 5 แหง่ เน้อื ท่ี 60,315 ไร่ อยู่ในพืน้ ท่ี หมู่ท่ี 2 และหมทู่ ่ี 4 ตำบล โพ ประจักษ์ เป็นบงึ กักเกบ็ น้ำไว้ใชเ้ พอ่ื การเกษตร 4.5 ทรพั ยากรดนิ
3 ทรพั ยากรดิน อำเภอทา่ ชา้ งส่วนใหญ่ทำนา และบางส่วนอยใู่ นเขตจดั รปู ที่ดินของ สำนักงานจัดรปู ที่ดินจังหวัดสิงหบ์ รุ ี เกษตรกรสามารถรบั น้ำจากชลประทานเพื่อการเกษตรได้เปน็ อย่างดี ร้อยละ 100 ข้อมลู การถอื ครองทำประโยชน์ - โฉนดทด่ี ิน จำนวน 7,447 แปลง - หนงั สอื รับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3) จำนวน 511 แปลง - หนังสือสำคญั สำหรับท่ีหลวง(น.ส.ล.) จำนวน 17 แปลง 5. ขอ้ มูลดา้ นการปกครอง 5.1 เขตการปกครอง อำเภอท่าช้าง แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำบล 23 หมู่บ้าน โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประกอบด้วยเทศบาลตำบล 1 แห่ง และองค์การบริหาร สว่ นตำบล 2 แหง่ ดงั น้ี การแบ่งเขตการปกครอง ตำบล พ้นื ท่ี (ตร.กม.) หมู่บา้ น เทศบาล/อบต. 1. ถอนสมอ 11.895 8 เขตเทศบาล 2. พิกุลทอง 5.575 5 เขตเทศบาล 3. โพประจักษ์ 11.450 5 อบต.โพประจักษ์ 4. วหิ ารขาว 6.050 5 อบต.วหิ ารขาว รวม 34.97 23 ตำบล หมู่บา้ น กำนนั /ผู้ใหญ่บ้าน ถอนสมอ หม่ทู ี่ 1 บ้านทา่ หาด นางลักษมี พงษ์แพทย์ 2 บา้ นสวนกล้วย นางสรุ างค์ แกว้ คำ 3 บ้านดอนกระถนิ นายสมหมาย รักษาสขุ 4 บา้ นจำปาทอง นายรุ้ง วงษส์ นธิ 5 บ้านเสมาทอง นายชูชาติ ผลทบั ทิม (กำนนั ) 6 บ้านท่าช้าง นายศักดิช์ ัย ใจสนทิ 7 บ้านท่าชา้ งเกา่ นายสมชาติ ฤทยั แชม่ ชื่น 8 บา้ นขนุ โลก นายนรนิ ทร์ ปาลวัฒน์ พิกุลทอง หมูท่ ี่ 1 บ้านอกโรย นายทรงกลิ่น ดอนเจดีย์ 2 บา้ นหาดยายส้นั นายประกิจ ศรรี ักษา 3 บา้ นพกิ ุลทองสามัคคี นางสาวสหสั ศรี พระเนตร 4 บา้ นพกิ ุลทอง นายสเุ ทพ เพช็ รแสงศรี 5 บ้านคลองท่าแค นางสาววาสนา ท้วมพดั (กำนนั )
4 ตำบล หมู่บา้ น กำนนั /ผู้ใหญ่บา้ น โพประจักษ์ หมทู่ ่ี 1 บ้านโพประจักษ์ นายแสวง มซี อง 2 บา้ นกระดีแดง นายจรญู ใจชำนิ 3 บา้ นกระทุ่มลาย นายวชิ ัย คงพิทกั ษ์ 4 บ้านละเมาะยบุ นายพรชัย ชอบธรรมดี (กำนนั ) 5 บ้านจำปาทอง นายมหา ขำศรี วหิ ารขาว หม่ทู ี่ 1 บ้านวิหารขาว นางเพ็ญศรี จกู ระจ่าง 2 บา้ นวหิ ารขาว นางพชั รี วงษ์สวุ รรณ 3 บา้ นวิหารขาว นางณรรฐชนก เจริญสุข 4 บา้ นวิหารขาว นายไพรตั น์ พูลศรี (กำนนั ) 5 บ้านวิหารขาว นางรตั นากร ทองใส ขอ้ มูลด้านการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน หมบู่ า้ น จำนวน นายกเทศมนตร/ี นายกองค์การบริหาร ลำดบั ท่ี หนว่ ยงาน พนื้ ท่ี (ตร. ราษฎร ส่วนตำบล 13 9,010 กม.) 5 3,525 นายอดุ ร พาศริ ายธุ 1. ทต.ถอนสมอ 17.47 5 1,945 นางน้ำทิพย์ โตสงดั 2. อบต.โพประจักษ์ 11.45 นายสมปอง ฟุ้งพงษ์ 3. อบต.วิหารขาว 6.05 6. สภาพทางสงั คม 6.1 ดา้ นประชากร /ครวั เรอื น จำนวนประชากรอำเภอท่าช้าง มีประชากรทง้ั สน้ิ 14,392 คน ชาย 6,832 คน หญิง 7,560 คน มคี รวั เรอื นท้งั สนิ้ 5,053 หลังคาเรอื น ตำบล ชาย(คน) หญิง(คน) รวม (คน) ครวั เรือน(หลัง) 2,194 1. ถอนสมอ 2,799 3,035 5ล834 1,067 1,155 2. พิกุลทอง 1,450 1,618 3,068 637 5,053 3. โพประจกั ษ์ 1,658 1,892 3,550 4. วิหารขาว 925 1,015 1,940 รวม 6,832 7,560 14,392 ตารางท่ี 1 จำนวนประชากร จำแนกชายหญงิ ท่มี า : ระบบสถติ ิทางการทะเบยี น กรมการปกครอง อำเภอทา่ ชา้ ง ตำบลพกิ ลุ ทอง
5 หมทู่ ี่ ชอื่ หมบู่ า้ น ช่อื ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน จำนวนประชากร รวมท้งั สนิ้ ครวั เรอื น (จำนวนคน) 1 บา้ นอกโรย นายทรงกล่ิน ดอนเจดีย์ ชาย หญิง 274 340 372 712 2 บา้ นหาดยายสั้น นายประกิจ ศรีรกั ษา 163 229 259 488 203 288 302 590 3 บา้ นพกิ ุลทองสามัคคี น.ส.สหัชศรี พระเนตร 199 319 358 677 228 274 327 6001 4 บ้านพิกลุ ทอง นายสุเทพ เพ็ชรแสงศรี 3,068 5 บ้านคลองท่าแค น.ส.วาสนา ทว้ มพดั (กำนันตำบลพกิ ุลทอง) 1,067 1,450 1,618 รวม ตำบลถอนสมอ หม่ทู ่ี ชือ่ หมูบ่ า้ น ชอื่ ผใู้ หญบ่ า้ น ครวั เรอื น ประชากร (คน) รวมประชากร 1 บ้านท่าหาด นางลกั ษมี พงษ์แพทย์ 231 ชาย หญิง 539 2 บา้ นสวนกลว้ ย นางสุรางค์ แก้วคำ 348 278 261 1,061 3 บา้ นดอนกระถิน นายสมหมาย รักษาสขุ 117 500 561 584 4 บา้ นจำปาทอง นายรุ้ง วงษ์สนธิ 190 283 301 888 5 บ้านเสมาทอง นายชูชาติ ผลทบั ทิม 310 262 293 919 (กำนันตำบลถอนสมอ) 438 481 6 บ้านท่าชา้ ง นายศักดช์ิ ยั ใจสนทิ 814 7 บา้ นท่าชา้ งเกา่ นายสมชาติ ฤทัยแชม่ ชื่น 497 401 413 631 8 บ้านขุนโลก นายนรนิ ทร์ ปาลวฒั น์ 243 289 342 731 258 348 383 5,834 ยอดรวมทง้ั ส้นิ 2,194 2,799 3,035 ตำบลวิหารขาว หมทู่ ี่ ช่ือหมบู่ า้ น ชื่อผ้ใู หญ่บ้าน ครวั เรอื น ประชากร (คน) รวมประชากร 1 บา้ นวิหารขาว นางเพ็ญศรี จูกระจ่าง 80 ชาย หญิง 226 2 บา้ นวิหารขาว นางพชั รี วงษ์สวุ รรณ 143 102 124 437 3 บา้ นวิหารขาว นางณรรฐชนก เจรญิ สุข 157 212 225 461 4 บา้ นวิหารขาว นายไพรตั น์ พลู ศรี 179 205 256 558 237 271 (กำนนั ตำบลวหิ ารขาว) 258 5 บา้ นวหิ ารขาว นางรตั นากร ทองใส 78 119 139 1,940 637 925 1,015 รวม
6 ตำบลโพประจักษ์ ชื่อผู้ใหญบ่ ้าน ครวั เรอื น ประชากร (คน) รวมประชากร ชาย หญิง หมู่ที่ ชื่อหมบู่ ้าน นายแสวง มีซอง 190 237 283 520 นายจรูญ ใจชำนิ 279 436 490 926 1 บา้ นโพประจักษ์ 208 715 2 บา้ นกะดแี ดง นายวชิ ยั คงพิทกั ษ์ 293 343 375 878 3 บ้านกระท่มุ ลาย 4 บ้านละเมาะยบุ นายพรชยั ชอบธรรมดี 404 474 508 (กำนนั ตำบลโพประจักษ)์ 3,550 5 บ้านจำปาทอง นายมหา ขำศรี 185 238 270 รวม 1,155 1,658 1,892 7. โครงสร้างพืน้ ฐาน 7.1 ดา้ นการศกึ ษา อำเภอท่าช้าง มีสถานศึกษา 13 แห่ง ดงั น้ี 1. ระดับอาชวี ศึกษา จำนวน 1 แห่ง 2. ระดับมัธยมศกึ ษา จำนวน 1 แหง่ 3. ระดบั ประถมศกึ ษา จำนวน 7 แหง่ 4. ถานศกึ ษาขยายโอกาส จำนวน 1 แห่ง 5. ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก จำนวน 4 แหง่ 7.2 ด้านสาธารณสุข อำเภอท่าชา้ ง มีการให้บรกิ ารดา้ นการสาธารณสขุ ดังน้ี 1. โรงพยาบาล ขนาด 30 เตยี ง จำนวน 1 แหง่ 2. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจำตำบล (รพ.สต.) จำนวน 3 แหง่ 3. ร้านขายยาแผนปจั จุบัน จำนวน 7 แห่ง 4. คลนิ ิกเอกชน จำนวน 2 แห่ง 7.3 ดา้ นศาสนาและวัฒนธรรม 7.3.1 ศาสนา 1) มวี ดั จำนวน 8 แห่ง 2) มีคริสตจกั ร จำนวน 1 แห่ง 7.3.2 วัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ที่สำคัญ ประชากรอำเภอทา่ ช้างยังรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณขี องท้องถนิ่ ไว้ได้ งานประเพณีท่จี ัดขึ้น เป็นประจำทกุ ปี เช่น การแขง่ ขันเรือยาวประเพณี ประเพณีรดนำ้ ขอพรผู้สงู อายุ งานประเพณลี อยกระทง เปน็ ตน้ 7.4 ด้านการคมนาคม ทางบก - ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3454 ถนนสายสิงหบ์ ุรี - สพุ รรณบรุ ี แยกตลาดท่าขา้ ม (อ. คา่ ยบางระจัน)
7 - ทางหลวงชนบท หมายเลข สห 3008 ถนนสายทา่ ช้าง - กระทุ่มโพรง (อ. พรหมบุรี) - ทางหลวงชนบท หมายเลข สห 4013 ถนนสายคา่ ยบางระจัน - โพประจักษ์ - ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข 3509 ถนนสายทา่ ช้าง - แสวงหา - ถนนเสน้ ทางคมนาคมระหว่างหม่บู า้ น ตำบล จำนวน 30 สาย 7.5 ด้านเศรษฐกจิ 7.6 ดา้ นการเกษตร ประชากรอำเภอทา่ ชา้ ง ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปน็ อาชีพหลัก มีพื้นทีท่ ่ี ทำการเกษตร ทำนา ทำสวน ฯลฯ จำนวน 21,462 ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 90 ครอบครวั เกษตรกร จำนวน 2,165 ครัวเรือน สภาพการผลิตพืชเศรษฐกจิ สำคัญ ๆ แยกได้ดังน้ี ลำดับที่ พืชเศรษฐกิจ พ้ืนทีป่ ลกู (ไร่) จำนวนเกษตรกร (ราย) 1. ข้าว 14,641 1,700 2. พชื สวน (ผลไม้) 705 120 3. พชื ผัก 180 155 อาชีพประมง เกษตรกรประมาณ 146 ราย พ้ืนทป่ี ระมาณ 162,134 ไร่ อาชีพปศุสัตว์ ขอ้ มูล มีดงั น้ี - โคเนื้อ 91 ราย 250 ตวั - ไกเ่ นื้อ 9 ราย 63,000 ตวั - สุกร 35 ราย 2,000 ตัว - ไก่พื้นเมือง 516 ราย 14,650 ตัว - แพะ 4 ราย 270 ตวั - กระบอื 4 ราย 4 ตวั - เป็ดไข่ 85 ราย 9,822 ตวั นอกจากนกี้ ม็ ีอาชีพรอง เช่นรับจา้ ง ทำงานในโรงงานอตุ สาหกรรม รับราชการและ อน่ื ๆ ประชากรมรี ายไดเ้ ฉล่ยี ต่อปีประมาณ 76,601 บาท/คน/ปี 7.7 ดา้ นการพาณิชย์ - มีร้านอาหาร 14 แห่ง - มรี ้านสะดวกซ้อื 1 แห่ง - มรี ้านคา้ ของเก่า 3 แหง่ - มีสถานบริการนำ้ มนั เชื้อเพลิง จำนวน 3 แห่ง - มีสหกรณ์ จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรท่าชา้ ง จำกัด 7.8 ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชนและท้องถิน่ OTOP ร้านค้าทข่ี ้ึนทะเบยี น จำนวน 34 ราย 1) กนุ เชยี งปลา 2) ไขเ่ ค็ม
8 3) ขนมถว้ ยฟนู ้ำตาลสด 4) ผดั ไทยโบราณ 5) กลุ่มตัดผา้ ลายไทย 6) กลุ่มทำกระเปา๋ /ตระกรา้ /เปลญวญ 7) กลุ่มแปรรูปกล้วย 8) ไอศกรีมมะพร้าวอ่อน 7.9 ด้านการทอ่ งเท่ียว มีสถานท่ีท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ วดั พกิ ลุ ทอง พระอารามหลวง เปน็ ทีป่ ระดษิ ฐาน พระพุทธสุวรรณมงคลมหามุนี ซึง่ เปน็ พุทธลกั ษณะเปน็ พระปางประทานพร หนา้ ตักกว้าง 9 วา 9 นว้ิ สงู 19 วา ในวนั สำคญั ทางศาสนาและวันหยดุ จะมีนักท่องเทย่ี วมาไหว้พระเพิ่มขึ้นอยา่ งต่อเน่อื ง - แม่น้ำนอ้ ย วิถีชีวติ ของประชาชนสองฝ่งั แม่นำ้ น้อย - มีแหล่งเท่ียวเชิงเกษตร ดา้ นสวนผลไม้ เช่น สวนกระท้อน กลว้ ยหอม
9 - โครงการฟารม์ ตัวอยา่ งตามพระราชดำริในสมเดจ็ ระนางเจา้ สริ กิ ิตพ์ิ ระบรมราชนิ นี าถ (หนองลาด) 7.10 ด้านอตุ สาหกรรม มผี ปู้ ระกอบการโรงสีข้าว 4 แหง่
10 7.11 ด้านสังคม สวัสดิการสงั คม สำนักงานก่งิ กาชาด 1 แหง่ 7.12 ด้านความม่นั คงและสงบเรียบร้อย มีสถานีตำรวจ จำนวน 1 แห่ง คือสถานีตำรวจภูธรทา่ ช้าง มีเจ้าหน้าท่ีตำรวจ จำนวน 59 นาย มีกองร้อย อส.อ.ท่าช้าง ท่ี 5 จำนวน 5 นาย มีกลมุ่ พลังมวลชนในพนื้ ท่ี กลุ่มกองทนุ ฟ้นื ฟเู กษตรกรพนื้ ท่อี ำเภอทา่ ชา้ ง ปัญหายาเสพติด ชมุ ชน/หมู่บ้าน อยใู่ นระดบั เบาบาง 7.13 หน่วยงานตา่ ง ๆ ในพื้นที่ 1) อำเภอท่าช้างมีหน่วยงานราชการสว่ นภูมิภาคและหน่วยงานรฐั วิสาหกจิ จำนวน 14 แหง่ ได้แก่ - ท่ีทำการปกครองอำเภอท่าชา้ ง - สถานตำรวจภธู รทา่ ช้าง - สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอท่าชา้ ง - สำนักงานเกษตรอำเภอท่าช้าง - สำนกั งานปศสุ ตั วอ์ ำเภอท่าชา้ ง - สำนักงานที่ดนิ อำเภอท่าชา้ ง - หนว่ ยสัสดอี ำเภอท่าช้าง - สำนักงานทอ้ งถิน่ อำเภอทา่ ชา้ ง - สำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอท่าชา้ ง - สำนกั งานสรรพากรพนื้ ทส่ี าขาอำเภอท่าช้าง - สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอท่าชา้ ง - การไฟฟา้ ส่วนภมู ิภาคสาขาทา่ ชา้ ง - ทที่ ำการไปรษณยี ท์ า่ ชา้ ง 2) ธนาคารหรอื สถาบันการเงนิ - ธนาคารออมสิน - สถาบันการเงนิ บา้ นจำปาทอง - มีตู้ ATM 6 แห่ง
11 สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา 1. สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา 1. ชอ่ื สถานศกึ ษา : ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอท่าชา้ ง 2. ทอี่ ยู่ : ถนนพิกลุ ทอง-ยางมณี หมูท่ ่ี 3 ตำบลพิกุลทอง อำเภอ/เขต : อำเภอท่าช้าง จังหวัด : จังหวัดสงิ หบ์ ุรี รหัสไปรษณยี ์ 16140 เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 036-817427 โทรสาร : 036-817427 E-mail ตดิ ตอ่ : [email protected] 3. สังกัด : สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด สงิ หบ์ รุ ี สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ปรชั ญาสถานศึกษา “ คิดเปน็ เน้นคุณธรรม นำชุมชนสูช่ วี ติ พอเพยี ง” วิสยั ทัศน์ “กศน.อำเภอท่าชา้ ง มุ่งพฒั นาผู้เรียน ผรู้ บั บริการ ให้มคี วามรู้ คู่คุณธรรม เนน้ วิถชี ีวิต ชุมชนบนพ้ืนฐานชวี ิตพอเพียง” คำขวญั องค์กร กศน.ท่าชา้ ง นา่ อยู่ ผู้คนน่ารกั ชุมชนรู้จัก ร่วมมอื รว่ มใจ เอกลักษณ์ “หลากหลายแหล่งเรยี นรู้ เชิดชคู ณุ ธรรม นำชมุ ชนสูช่ ีวิตพอเพยี ง” อัตลกั ษณ์ “มีคณุ ธรรม นำเทคโนโลยี ชีวีเปน็ สุข” 2. ประวัติความเป็นมาของสถานศกึ ษา ประวัติสถานศึกษา : ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอท่าช้าง ได้รับความ อนุเคราะห์จาก พระธรรมมุนี (พระมหาแพ เขมังกะโร ป.ธ.4) อนุญาตให้จัดตั้งห้องสมุด ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอท่าช้าง จังหวัดสิงห์บุรีภายในวัดพิกุลทอง พระอารามหลวง ลักษณะอาคาร 2 ชั้น กว้าง 6 เมตร ยาว 18 เมตร พ.ศ.2550 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน อำเภอท่าช้าง ไดร้ ับความอนเุ คราะห์จากพระวิมลสุตตาภรณ์ เจา้ อาวาสวัดพิกุลทอง พระอารามหลวง ในการสนับสนุนงบประมาณและที่ดินในการสร้างอาคารสำนักงาน จำนวน 1 หลัง ลักษณะอาคาร 1 ชั้น มคี วามกวา้ ง 8 เมตร ยาว 20 เมตร ต่อมา วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2551 มีการประกาศใช้ พ.ร.บ.การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอท่าช้าง ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “ศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้าง” สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั สิงหบ์ ุรี วนั ท่ี 26 มีนาคม พ.ศ.2551 จนถึงปจั จุบนั
12 3. ทำเนยี บผู้บริหาร ลำดับท่ี ชื่อ -นามสกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ำรงตำแหน่ง (วัน/เดอื น/ปี - วนั /เดอื น/ปี) ๑. นางสายหยดุ ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา หัวหน้าศนู ย์ พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2543 ๒. นางสายหยุด ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ผอ.ชำนาญการ พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2545 ๓. นายประพนั ธ์ สนุ ทรนนั ท์ ผอ.ชำนาญการพเิ ศษ พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2552 4. นางณฐั ธภา ปาลกะวงศ์ ณ อยธุ ยา ผอ.ชำนาญการพิเศษ พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2556 5. นายกิตติภพ อว่ มม่ัน ผอ.ชำนาญการ พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2559 6. นางปุณนภา เชดิ เพชรรตั น์ ผอ.ชำนาญการพิเศษ พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2560 7. นายสนั ติ ต่วนชะเอม ผอ.สำนักงาน กศน. พ.ศ. 2560 – พ.ศ.2560 8. นายสาธิต ทองสพุ รรณ์ ผอ.ชำนาญการพิเศษ พ.ศ. 2560 – พ.ศ.2561 9. นายภาณุ วงษ์ถาวรเรือง ผอ.ชำนาญการ พ.ศ. 2561 – พ.ศ.2561 10. นางสาวณฏั ฐ์พชั ร์ สายไทย ผู้อำนวยการ พ.ศ. 2562 – ปจั จบุ ัน 4. อาณาเขตท่ตี ้งั สถานศึกษา อาณาเขต ลักษณะภูมิประเทศอำเภอท่าช้างมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำน้อยไหลผ่าน ซึ่งเป็นแม่น้ำสายเล็กขนานกับแม่น้ำเจ้าพระยา ยาวประมาณ 10 กิโลเมตร และเป็นแนวแบ่งพื้นท่ี อำเภอท่าช้างออกเป็นสองฝั่ง ฝั่งตะวันตกเป็นพื้นที่ตำบลโพประจักษ์กับตำบลถอนสมอ ฝ่ัง ตะวันออกเป็นพื้นที่ตำบลวิหารขาวกับตำบลพิกุลทอง แต่ละฝั่งคลองขนานเป็นคลองชลประทาน ทำ ให้อำเภอท่าช้างมีน้ำตลอดปี เหมาะแก่การทำการเกษตร ทำนาและทำสวนผลไม้เป็นอย่างมาก อำเภอท่าช้างอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดสิงห์บุรี มีเนื้อที่ประมาณ 35.73 ตารางกิโลเมตร หรือ 21,856.24 ไร่ ทศิ เหนอื ตดิ กบั อำเภอคา่ ยบางระจนั และอำเภอเมืองสงิ ห์บรุ ี ทิศใต้ ตดิ กับอำเภอโพธทิ์ อง จงั หวดั อา่ งทอง ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กับอำเภอพรหมบรุ ี จังหวดั สงิ ห์บุรี ทิศตะวนั ตก ติดกับอำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง และอำเภอค่ายบางระจัน จังหวัด สงิ หบ์ ุรี 5. สภาพของชุมชน อำเภอทา่ ชา้ งเดิมเปน็ ส่วนหน่งึ ของอำเภอพรหมบุรี จังหวดั สงิ หบ์ รุ ี โดยแยกตำบลถอนสมอ ตำบลพิกุลทอง ตำบลวิหารขาว และตำบลโพประจักษ์ รวมเป็นอำเภอท่าช้าง สาเหตุที่แยกออกเป็น อำเภอทา่ ช้างเพราะการคมนาคมไม่สะดวกในการติดต่อราชการ ตอ้ งตดิ ตอ่ ทางน้ำเสน้ ทางเดยี ว ทำให้ การเดนิ ทางเสียเวลามากทางราชการจงึ ตัง้ เปน็ กง่ิ อำเภอท่าชา้ ง เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2503 และ วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2506เป็นอำเภอท่าช้าง ที่เรียกว่าอำเภอท่าช้าง เพราะสมัยก่อนพื้นที่อุดม
13 สมบูรณไ์ ปดว้ ยต้นไม้ ต้นหญ้า มแี มน่ ำ้ น้อยไหลผ่าน มีหาดทรายกวา้ งเหมาะต่อการเล้ียงช้าง จึงมีการ นำชา้ งหลวงมาเลี้ยง จึงเรยี กบริเวณน้ีว่า “ท่าช้าง” อำเภอท่าช้าง มหี ้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอท่าช้าง 6. อตั รากำลังของสถานศึกษา จำนวนบคุ ลากร ๑๒ คน ประกอบดว้ ย ท่ี ชื่อ – สกลุ ตำแหนง่ วฒุ ิ สาขา การศกึ ษา ขา้ ราชการครู จำนวน 2 คน 1. นางสาวณฏั ฐพ์ ัชร์ สายไทย ผอู้ ำนวยการศึกษา ปรญิ ญาโท การบรหิ ารการศึกษา 2. นางสาวพุทธชาติ เพ็ญบำรงุ ครู (ชำนาญการ) ปริญญาโท การบริหารการศึกษา 3. นายศาตพรพงษ์ สงวนสินวฒั นา ครูผชู้ ่วย ปริญญาตรี คอมพิวเตอร์ธุรกิจ พนักงานราชการ (ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน) จำนวน 1 คน 4. นางสาวเยาวลกั ษ์ จนั ทพนั ธุ์ พนักงานราชการ ปรญิ ญาโท การบรหิ ารการศึกษา พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล) จำนวน 4 คน 5. นางสาวกฤศณฐั ฐกิ า ขำเจริญ ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี นเิ ทศศาสตร์ 6. นางศรัณย์กร กนั ภัย ครู กศน.ตำบล ปริญญาตรี นิเทศศาสตร์ 7. นางสาวสุพรรษา ไลเ้ ลศิ ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี วิศวกรรมเคมสี ิ่งทอ 8. นางสาวปาริชาต นักฆ้อง ครู กศน.ตำบล ปรญิ ญาตรี การออกแบบ ผลติ ภัณฑ์อตุ สาหกรรม พนกั งานราชการ (บรรณารักษ์) จำนวน 1 คน 9. นางสาวชตุ ิมา มว่ งศรี พนักงานราชการ ปรญิ ญาตรี บรรณารักษศาสตรแ์ ละ สารนเิ ทศศาสตร์ บรรณารกั ษ์ (อตั ราจ้าง) จำนวน 1 คน 10. นางสาวกญั ณชั ตา มว่ งหมู บรรณารกั ษ์อัตราจา้ ง ปรญิ ญาตรี การพัฒนาชุมชน ลกู จา้ งช่วั คราว (นักการภารโรง) จำนวน 1 คน 11. นายทวีชัย เณรน้อย พนกั งานบริการ ม.3 โรงเรียนวัดพิกลุ ทอง
14 ที่ ช่อื – สกลุ ตำแหน่ง วฒุ ิ สาขา การศึกษา ลกู จา้ งชั่วคราว (ยามรกั ษาความปลอดภยั ) จำนวน 1 คน 12. นายจักกริช ฉายชูวงศ์ ยามรักษาความ ปวส. คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ ปลอดภยั 7. แหลง่ เรยี นรู้ กศน.ตำบล ชอ่ื กศน. ตำบล สถานทตี่ ้งั ผู้รับผดิ ชอบ กศน.ตำบลพิกุลทอง หมทู่ ี่ 3 ตำบลพกิ ุลทอง อำเภอ ท่าช้าง จังหวดั สงิ ห์บรุ ี นางศรณั ย์กร กันภยั กศน.ตำบลถอนสมอ หมทู่ ี่ 5 ตำบลถอนสมอ อำเภอทา่ ช้าง จังหวดั สิงห์บุรี นางสาวกฤศณัฐฐกิ า ขำเจริญ กศน.ตำบลวหิ ารขาว หมูท่ ่ี 2 ตำบลวหิ ารขาว อำเภอทา่ ชา้ ง จงั หวดั สิงห์บรุ ี นางสาวปารชิ าต นกั ฆ้อง กศน.ตำบลโพประจักษ์ หมทู่ ่ี 2 ตำบลโพประจักษ์ อำเภอท่าชา้ ง จังหวดั สิงหบ์ ุรี นางสาวสุพรรษา ไลเ้ ลิศ รวมจำนวน 4 แห่ง 8. แหล่งเรียนรู้อนื่ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทีต่ ้งั ชื่อแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ด้านศาสนาวัฒนธรรม ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี ตำบลถอนสมอ แหลง่ เรยี นรู้ดา้ นศาสนาวัฒนธรรม ม. 5 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สงิ หบ์ ุรี วัดโบสถ์ แหล่งเรยี นร้ดู ้านเกษตรชีวภาพ ม. 5 ต.ถอนสมอ อ.ทา่ ช้าง จ.สิงห์บรุ ี วดั เสมาทอง แหล่งเรยี นรดู้ ้านเกษตรชวี ภาพ ม. 5 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ ุรี ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนตำบลถอนสมอ ศนู ย์การเรียนร้โู ครงการอนั แหล่งเรียนรดู้ ้านวิชาการ ความรู้ ม. 8 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี เนอื่ งมาจากพระราชดำริ แหล่งเรียนรดู้ า้ นสขุ ภาพ ม. 8 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี ชมรมผ้สู ูงอายตุ ำบลถอนสมอ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพประจำ แหล่งเรียนรดู้ า้ นศาสนาวฒั นธรรม ม. 2 ต.วหิ ารขาว อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี ตำบลถอนสมอ แหลง่ เรียนรู้ด้านเกษตร/ ม. 4 ต.วหิ ารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สิงห์บุรี ตำบลวิหารขาว ศิลปหัตถกรรม/การประมง วดั วหิ ารขาว ม. 3 ต.วิหารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บุรี โครงการฟาร์มตัวอยา่ งตาม แหล่งเรียนรดู้ ้านสุขภาพ พระราชดำริ พระบรมราชินีนาถ ม. 2 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ช้าง จ.สิงห์บุรี (หนองลาด) แหล่งเรยี นรู้ดา้ นศาสนาวฒั นธรรม ม. 1 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพประจำ แหล่งเรยี นรูด้ า้ นศาสนาวฒั นธรรม ม. 5 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ รุ ี ตำบลวหิ ารขาว แหล่งเรยี นรดู้ า้ นศาสนาวฒั นธรรม ตำบลโพประจกั ษ์ วัดโสภา วดั เสาธงหนิ วดั จำปาทอง
15 ช่อื แหล่งเรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ท่ตี ั้ง โรงพยาบาลทา่ ชา้ ง แหล่งเรยี นรดู้ า้ นสขุ ภาพ ม. 5 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี โรงเรยี นวดั โสภา แหล่งเรียนรดู้ า้ นวิชาการ ความรู้ ม. 2 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงห์บรุ ี โรงเรียนชุมชนวดั เสาธงหิน แหลง่ เรียนรดู้ ้านวิชาการ ความรู้ ม. 1 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บุรี ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยี แหล่งเรียนร้ดู ้านเกษตร ม. 2 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ช้าง จ.สิงห์บรุ ี การเกษตรตำบลโพประจักษ์ บึงกระดีแดง แหลง่ เรยี นรดู้ ้านสงิ่ แวดล้อม ม. 2 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงห์บรุ ี ตำบลพกิ ุลทอง วัดพกิ ุลทอง พระอารามหลวง แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นศาสนาวฒั นธรรม 93 ม.3 ต.พกิ ลุ ทอง อ.ทา่ ช้าง จ.สิงหบ์ ุรี โรงเรียนวดั พิกลุ ทอง แหล่งเรยี นรูด้ า้ นวิชาการ ความรู้ ม. 3 ต.พกิ ุลทอง อ.ท่าชา้ ง จ.สิงห์บุรี สถานอี นามยั เฉลิมพระเกยี รติ 60 แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นสุขภาพ ม. 3 ต.พกิ ลุ ทอง อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี พรรษานวมินทราชินีตำบลพิกุลทอง หอ้ งสมดุ ประชาชน”เฉลมิ ราช แหล่งเรียนรดู้ ้านวิชาการ ความรู้ ม. 3 ต.พกิ ุลทอง อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บุรี กุมารี”อำเภอทา่ ช้าง 9. ภมู ิปญั ญา ความรคู้ วามสามารถ ท่ีอยู่ อาหารและผกั พื้นบ้าน 87/1 ม. 3 ต.วิหารขาว อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงห์บุรี ภปู ญั ญาท้องถ่นิ นางช้าม ประภารัตน์ ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา ประเพณี 87/1 ม. 3 ต.วหิ ารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ รุ ี ศิลปวัฒนธรรมศาสนา ประเพณี 76 ม. 3 ต.วหิ ารขาว อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ หบ์ ุรี นายบุญเลศิ ประภารัตน์ อาหารและผกั พนื้ บา้ น 68 ม. 2 ต.วิหารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ รุ ี นายประทุม สุขศิริ เกษตรกรรม และอาหารและผักพน้ื บา้ น 101/9 ม.8 ต.ถอนสมอ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ ุรี นางทวี มาอยู่ อาหารและผักพน้ื บ้าน 157/3 ม.3 ต.ถอนสมอ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ ุรี นางถวัลย์ ชา้ งยอด เกษตรกรรมและการดำรงชีวติ ตาม 56/4 ม.5 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี นางเบญจาง นาคขาว สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ นายชูชาติ ผลทับทมิ อาหารและผักพื้นบา้ น 29/1 ม.1 ต.พิกุลทอง อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี อาหารและผกั พื้นบา้ น 106/1 ม.4 ต.พิกลุ ทอง อ.ท่าช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี นางสวุ รรณา สรอ้ ยสุวรรณ์ การแพทย์แผนไทยและตำรายาพืน้ บา้ น ม.4 ต.พกิ ลุ ทอง อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี นางสาวสมบัติ สุดใจ ศิลปะพนื้ บา้ น 42/2 ม.2 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี นางดารณิ ี เจริญวงษ์ อาหารและผกั พน้ื บา้ น 51 ม.2 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงหบ์ รุ ี นายหนาม พันไม้ หัตถกรรม 32 ม.3 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี นางเฉลียง ล่ำสัน การแพทย์แผนไทยและตำรายาพื้นบา้ น 14/1 ม.3 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บุรี นายประเสรฐิ กองแกว้ การแพทยแ์ ผนไทยและตำรายาพื้นบา้ น 23 ม.3 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บุรี นางละเอียด โพธงิ์ าม เกษตรกรรม 109 ม.3 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ ุรี นายเฉลย ศรรี ักษา ศลิ ปะพน้ื บา้ น 113/1 ม.4 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงหบ์ รุ ี นายวชิ ยั จันทร์เศรษฐี การแพทย์แผนไทยและตำรายาพนื้ บา้ น 122/1 ม.4 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี นางแฉล้ม แสงทอง ศิลปวฒั นธรรม ศาสนา และประเพณี 71/1 ม.5 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงห์บุรี นายสมศกั ด์ิ มุกทอง นายลำพอง ขลุย่ ดี
16 ภปู ัญญาท้องถิ่น ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่ นายบำเรอ เขยี วหวาน อาหารและผกั พ้นื บา้ น 84/4 ม.5 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี นายประเสริฐ เทียนแกว้ อนุรักษเ์ รือโบราณ 83/3 ม.5 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ ห์บุรี นายจนั จวนสาง หัตถกรรม 91 ม.5 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี นายสมวงษ์ นำ้ รักษ์ หัตถกรรม 80/1 ม.5 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บุรี นายพวน โคกอ่อน ศลิ ปะพน้ื บา้ น 91/1 ม.5 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ ุรี 10. ภาคีเครอื ข่าย ท่ตี ้งั / ที่อยู่ ท่ี ชือ่ ภาคเี ครอื ขา่ ย ม. 1 ต.โพประจกั ษ์ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สิงห์บรุ ี ม. 2 ต.วหิ ารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ รุ ี 1. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลโพประจกั ษ์ ม. 1 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บรุ ี 2. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลวหิ ารขาว ม. 1 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี 3. เทศบาลตำบลถอนสมอ ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี 4. โรงพยาบาลท่าช้าง ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงห์บุรี 5. สถานีตำรวจภธู รอำเภอท่าช้าง ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บรุ ี 6. สำนกั งานเกษตรอำเภอท่าช้าง ม. 8 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บรุ ี 7. สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนอำเภอท่าช้าง ม. 3 ต.พกิ ลุ ทอง อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี 8. โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลถอนสมอ ม. 3 ต.วหิ ารขาว อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี 9. สถานอี นามยั เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี ตำบลพกิ ลุ ทอง ม. 1 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ รุ ี 10. โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลวหิ ารขาว ม. 2 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี 11. โรงเรียนทา่ ช้างวิทยาคาร ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี 12. โรงเรยี นอนบุ าลท่าช้าง ม. 1 ต.ถอนสมอ อ.ทา่ ชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี 13. โรงเรยี นวดั โบสถ์ ม. 3 ต.พิกลุ ทอง อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ ุรี 14. โรงเรียนวดั ถอนสมอ ม. 2 ต.วิหารขาว อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ รุ ี 15. โรงเรยี นวดั พกิ ลุ ทอง ม. 1 ต.โพประจักษ์ อ.ท่าช้าง จ.สิงหบ์ รุ ี 16. โรงเรียนวดั วิหารขาว ม. 2 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี 17. โรงเรียนชมุ ชนวดั เสาธงหิน 93 ม. 3 ต.พกิ ลุ ทอง อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ ุรี 18. โรงเรยี นวดั โสภา ม. 2 ต.วหิ ารขาว อ.ท่าช้าง จ.สิงหบ์ รุ ี 19. วดั พิกลุ ทอง พระอารามหลวง ม. 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงห์บุรี 20. วดั วหิ ารขาว ม. 5 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ หบ์ ุรี 21. วัดโบสถ์ ม. 2 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงห์บรุ ี 22. วัดจำปาทอง ม. 1 ต.โพประจักษ์ อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ หบ์ รุ ี 23. วัดโสภา ม.8 ต.ถอนสมอ อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี 24. วดั เสาธงหนิ ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าช้าง จ.สงิ หบ์ รุ ี 25. ศนู ย์ผูส้ ูงอายตุ ำบลถอนสมอ ม.3 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงหบ์ รุ ี 26. คณะกรรมการกองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีอำเภอทา่ ชา้ ง ม.3 ต.โพประจกั ษ์ อ.ท่าชา้ ง จ.สิงหบ์ รุ ี 27. คณะกรรมการกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรตี ำบลถอนสมอ ม.5 ต.วหิ ารขาว อ.ทา่ ช้าง จ.สงิ ห์บรุ ี 28. คณะกรรมการกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรตี ำบลโพประจักษ์ 29. คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรตี ำบลวหิ ารขาว
17 11. โครงสร้างสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา คณะกรรม การสถานศกึ ษา กลุ่มงานอำนวยการ กลุ่มสง่ เสรมิ ปฏบิ ัติการ กลมุ่ ภาคีเครือขา่ ยและกจิ การพิเศษ งานบริหารทัว่ ไป งานสง่ เสรมิ การเรยี นรหู้ นังสือ งานสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคีเครือข่าย งานธรุ การและงานสารบรรณ งานพฒั นาหลกั สูตร ส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยี งานกองทุนกูย้ ืมเงนิ เพอ่ื การศกึ ษา งานการเงิน งานบัญชี งานศูนยบ์ ริการใหค้ ำปรึกษาแนะแนว งานกจิ การพเิ ศษ งานบคุ ลากร งานนิติกรของสถานศกึ ษา งานการศกึ ษาพืน้ ฐาน งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก งานสวสั ดิการ งานกิจการนกั ศึกษา พระราชดำริ งานพสั ดุ งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ งานทะเบียนและวัดผล งานป้องกัน แก้ไขปญั หายาเสพตดิ / สถานศกึ ษา งานพฒั นาผเู้ รยี น โรคเอดส์ ศนู ย์ราชการใสสะอาด งานการศกึ ษาต่อเนอื่ ง(งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนา งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา อาชพี ,งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ ,งาน งานสนบั สนุน สง่ เสรมิ นโยบาย งานนิเทศภายในและตดิ ตามผล การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คม และชุมชน,งานจัด จงั หวัด/อำเภอ) งานอาคารสถานที่ กระบวนการเรียนรตู้ ามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง) งานกิจการลกู เสือและยวุ กาชาด งานแผนงานและโครงการ งานการศกึ ษาตามอธั ยาศยั งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร (งานจัดพัฒนาแหลง่ เรียนร้แู ละภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ 1. กศน.ต.พกิ ลุ ทอง งานบ้านหนงั สอื ชมุ ชน งานประชาสัมพันธ์ งานขอ้ มูล งานจัดและพฒั นาศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน/กศน.ตำบล 2. กศน.ต.ถอนสมอ ( บ้านหนังสืออจั ฉริยะ) สารสนเทศ งานห้องสมุดประชาชน งานส่งเสริม นิทรรศการ 3. กศน.ต.วิหารขาว และเผยแพร่ งานการศึกษาทางสือ่ สารมวลชน) 4. กศน.ต.โพประจักษ์
18 สว่ นท่ี ๓ ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ผลการดำเนินงานยอ้ นหลงั จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถนำมากำหนดทศิ ทางการดำเนินงานเพื่อ การพฒั นาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 1. ขอ้ มูลผลการดำเนินงาน 1.1 การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (ย้อนหลงั ๓ ปี) ระดบั ปงี บประมาณ ๒๕๕๙ ปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จำนวน นศ. จำนวนผ้จู บ จำนวน นศ. จำนวนผจู้ บ จำนวน นศ. จำนวนผู้จบ ภาคเรยี น ๒/๕๘ ๑/๕๙ ๒/๕๘ ๑/๕๙ ๒/๕๙ ๑/๖๐ ๒/๕๙ ๑/๖๐ ๒/๖๐ ๑/๖๑ ๒/๖๐ ๑/๖๑ ประถมศกึ ษา 11 10 - 1 7 5 1 - 5 6 - - มัธยมศกึ ษา 71 76 9 5 78 73 12 17 61 58 9 6 ตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอน 166 167 20 21 146 136 27 16 123 124 11 25 ปลาย 1.2 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง (ย้อนหลัง ๒ ปี) พฒั นาอาชพี พัฒนาสังคมและชุมชน ทักษะชวี ิต/เศรษฐกิจพอเพยี ง ที่ กจิ กรรม/โครงการ ปี ๒๕๖1 ปี ๒๕๖2 ปี ๒๕๖1 ปี ๒๕๖2 ปี ๒๕๖1 ปี ๒๕๖2 เปา้ ผู้จบ เป้า ผ้จู บ เปา้ ผู้จบ เปา้ ผจู้ บ เป้า ผจู้ บ เปา้ ผู้จบ หมาย หมาย หมาย หมาย หมาย หมาย ๑. พฒั นาอาชพี โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน 40 46 40 89 - - -- - - - - - กิจกรรม 1 อำเภอ 1 ชมุ ชน - กจิ กรรมกลุ่มสนใจ (ไม่เกนิ 30 152 193 152 203 - - - - - - - - ชม.) - กิจกรรมชั้นเรียนวิชาชีพ (31 120 154 120 147 - - - - - - - - ชม.ข้ึนไป) ๒. พัฒนาสงั คมและชุมชน โครงการจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นา - - - - 140 172 120 180 - - - - สังคมและชุมชน ๓. ทักษะชวี ติ โครงการจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนา - - --- - - - 200 212 200 212 ทกั ษะชวี ติ ๔. เศรษฐกิจพอเพียง โครงการจดั การศกึ ษาตามหลกั - - --- - - - 64 94 48 59 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1.3 การศึกษาตามอธั ยาศยั (ย้อนหลัง ๒ ป)ี
19 ปีงบประมาณ ๒๕๖1 ปีงบประมาณ ๒๕๖2 ที่ กจิ กรรม/โครงการ เป้าหมาย ผเู้ ข้ารว่ ม เปา้ หมาย ผู้เข้ารว่ ม (คน) กจิ กรรม (คน) กจิ กรรม ๑ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น(เปา้ หมายตำบลละ 300 คน) 120 164 160 162 - กจิ กรรมห้องสมุดประชาชน 2 - กจิ กรรมหนว่ ยบริการเคล่ือนที(่ รถโมบาย) 400 662 400 753 3 - กจิ กรรมอาสาสมัครสง่ เสริมการอา่ น 40 40 46 38 4 - กิจกรรมบา้ นหนังสอื ชมุ ชน 400 1,150 400 1,462 5 - กจิ กรรมห้องสมุดเคลื่อนท่ชี าวตลาด 240 371 240 367 6 โครงการบรรณสัญจร 4,000 4,000 7 โครงการสรา้ งการอา่ นเสริมการเรียนร้(ู ห้องสมุดประชาชน) 200 408 - จำนวนสมาชกิ ห้องสมุด 12,000 12,327 - จำนวนผูร้ บั บรกิ าร 2. ข้อมูลผลการประเมนิ ตนเองและแนวทางการพัฒนา ป2ี 561 นำ้ หนัก ผลการประเมินตนเอง มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี (คะแนน) คะแนนท่ไี ด้ ระดบั คุณภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน/ผรู้ ับบรกิ าร 35 27.50 ดี การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน 5 4.50 ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 ผู้เรยี นการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานมีคุณธรรม ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.2 ผู้เรยี นการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานมที กั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ 4 ดี 5 เรียนรู้อยา่ งต่อเนอ่ื ง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวติ ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.3 ผเู้ รยี นการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมีความรพู้ ้ืนฐาน 5 3 พอใช้ การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 54 ดี ตวั บ่งชี้ที่ 1.4 ผู้เรยี นหรือผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบ 54 ดี อาชีพ 54 ดี ตวั บ่งช้ีที่ 1.5 ผเู้ รยี นหรอื ผเู้ ขา้ รับการอบรมปฏิบัตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั บ่งชี้ที่ 1.6 ผ้เู รียนหรือผเู้ ขา้ รับการอบรมสามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อย่างเหมาะสม 54 ดี การศึกษาตามอัธยาศัย 45 36 ดี ตวั บ่งชี้ที่ 1.7 ผู้รับบริการไดร้ บั ความรู้และ/หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม/โครงการ 54 ดี การศึกษาตามอธั ยาศัย 54 ดี 5 3.50 ดี มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ตัวบง่ ช้ีที่ 2.1 คุณภาพครูการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ตัวบ่งชี้ท่ี 2.2 คุณภาพของหลกั สูตรสถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ีท่ี 2.3 คณุ ภาพส่อื ตามหลกั สูตรสถานศึกษา
20 มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ น้ำหนัก ผลการประเมนิ ตนเอง ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.4 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตรสถานศึกษา (คะแนน) คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ การศกึ ษาตอ่ เน่ือง 5 3.50 ดี ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.5 คณุ ภาพวิทยากรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง 54 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 คุณภาพหลักสตู รและส่ือการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง 55 ดมี าก ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.7 คณุ ภาพการจดั กระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาต่อเนื่อง 54 ดี การศกึ ษาตามอัธยาศยั 54 ดี ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.8 คุณภาพผจู้ ดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั 54 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 คุณภาพกระบวนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 20 16.50 ดมี าก มาตรฐานท่ี 3 ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการการศกึ ษา 5 4.50 ดมี าก ตัวบ่งช้ีท่ี 3.1 การบริหารสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและหลกั ธรรมาภิบาล 55 ดีมาก ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.2 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษาของภาคีเครอื ขา่ ย 55 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ที่ 3.3 การมีสว่ นรว่ มของคณะกรรมการสถานศึกษา 54 ตวั บง่ ช้ีที่ 3.4 การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ดี 100 80 รวม ดี เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตารางที่ 1 เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ ค่านำ้ หนกั 5 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรับปรงุ เรง่ ด่วน ต้องปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 4.50 5.00 คะแนน 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 ตารางที่ 2 เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ ค่าน้ำหนกั 20 คะแนน ระดับคุณภาพ ตอ้ งปรบั ปรงุ เร่งดว่ น ตอ้ งปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 16.01 – 20.00 ช่วงคะแนน 0.00 – 4.00 4.01 – 8.00 8.01 – 12.00 12.01 – 16.00 ตารางท่ี 3 เกณฑร์ ะดับคุณภาพ คา่ นำ้ หนัก 35 คะแนน ระดบั คุณภาพ ต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ต้องปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 28.01 – 35.00 ช่วงคะแนน 0.00 – 7.00 7.01 – 14.00 14.01 – 21.00 21.01 – 28.00 ตารางท่ี 4 เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ คา่ นำ้ หนกั 45 คะแนน ระดับคณุ ภาพ ต้องปรบั ปรงุ เร่งดว่ น ตอ้ งปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก ชว่ งคะแนน 0.00 – 9.00 9.01 – 18.00 18.01 – 27.00 27.01– 36.00 36.01 – 45.00 ตารางท่ี 5 เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ ค่าน้ำหนกั 100 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรบั ปรงุ เร่งด่วน ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก 80.01 – 100.00 ช่วงคะแนน 0.00 – 20.00 20.01 – 40.00 40.01 – 60.00 60.01 – 80.00 3. สรุปผลการวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนา
21 สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา จุดเดน่ สถานศึกษาจดั กิจกรรมตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตามแผนการจัดการเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องตามความ ต้องการของผู้เรียน เช่น การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้ ด้วยการทำโครงงาน การเขียนโครงการ การทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษาดูงานนอก สถานที่ การศึกษาเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชนอำเภอจักราช แหล่งเรียนรู้ กศน. ตำบล ภูมิปัญญาชาวบ้าน การเรียนรู้จากการใช้ส่ือและเทคโนโลยี สื่ออินเทอร์เน็ตด้วยตนเองอย่าง ต่อเนอ่ื งรวมไปถึงผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการสรา้ งสภาพแวดล้อม ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมี ทักษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ อย่างต่อเนื่อง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ติ พฒั นางานของตนเอง และยกระดับคุณภาพชีวติ ของตนเองได้ จุดทค่ี วรพฒั นา 1. สถานศกึ ษาควรจัดทำหลกั สูตรรายวิชาเลอื กของสถานศึกษาเอง โดยการจดั อบรมให้ ความรกู้ บั ครู และบคุ ลากรทุกระดบั ได้มสี ว่ นร่วมในการจัดทำหลกั สูตรรายวชิ าเลือก 2. สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้ครูจดั ทำสื่อ โดยการจัดอบรมใหค้ วามรู้กบั ครู มีการ ประกวดส่อื มีการมอบรางวัลสำหรบั ผู้ชนะอยา่ งต่อเน่อื ง 3. สถานศึกษาควรส่งเสริมสนบั สนนุ จดั ทำแผนการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ได้จริง มีการ ตรวจบันทึกหลังการสอนของครอู ยา่ งต่อเน่ือง มีการนิเทศติดตามการจัดการเรียนร้ขู องครู และ ใหค้ รูทำวิจยั เพื่อแก้ไขปญั หาของผู้เรยี นจากการบนั ทกึ หลงั การสอน 4. สถานศกึ ษาควรมีการจัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมใหว้ ิทยากรการศึกษาต่อเนื่องไดพ้ ัฒนา ตนเอง เชน่ การประชมุ ชแี้ จงทำความเข้าใจบทบาทหนา้ ที่ของวทิ ยากร การนำไปศึกษาดงู าน การนเิ ทศติดตามการจัดการเรยี นรู้ การประเมนิ การจัดการเรียนรู้ของวิทยากร เปน็ ต้น 5. สถานศึกษาควรจัดทำหลักสตู รการศึกษาต่อเนอื่ ง โดยเชิญวิทยากร หรือผเู้ รียน ภูมิ ปัญญา เข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดทำหลักสตู ร และผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรรมการ สถานศกึ ษา มีการนิเทศติดตาม ประเมินการใชห้ ลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ือง เพ่ือนำผลการ ประเมินมาพฒั นาและปรับปรุงหลักสูตรใหต้ รงตามความต้องการของผเู้ รยี น 6. สถานศึกษาควรมีการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา ระดับอำเภอ ระดบั ตำบล เพ่ือสร้างความรคู้ วามเข้าใจในบทบาทหนา้ ที่ตามทรี่ ะเบยี บกำหนด 7. สถานศึกษาควรมีการประชุม ตดิ ตาม ทบทวน ระบบงานประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา อยา่ งต่อเนอื่ ง เพื่อสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจให้กบั ครแู ละบุคลากรทุกคนเห็นความสำคัญของการ ประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา วิธีปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี วธิ ปี ฏบิ ัติทดี่ ี หรือนวัตกรรม 1. ประชุมชแ้ี จงสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการปฏบิ ัตงิ านให้กับครู และบุคลากร หรือตวั อย่างท่ี ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ดี หรือต้นแบบ 2. สถานศกึ ษาจดั ทำแผน โครงการ กิจกรรม กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดเปา้ หมาย การปฏิบัตงิ าน 3. จัดกจิ กรรมตามแผนให้ตรงตามเวลาทีก่ ำหนด 4. นเิ ทศตดิ ตาม ประเมินผล สรปุ ผล รายงานผลการดำเนินงาน
22 สรุปผลการวเิ คราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเพอ่ื การพัฒนา 5. ประชุมทบทวนการปฏบิ ตั ิงาน และนำผลการประเมนิ การจดั กจิ กรรมมาแก้ไข ปญั หา พฒั นางานใหบ้ รรลุตามเปา้ หมายทีก่ ำหนดไว้ทกุ กิจกรรม ตวั อยา่ งทด่ี ี ผเู้ รียนการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมีคณุ ธรรม จำนวน 54 คนเปน็ ไปตามค่าเป้าหมายท่ี กำหนด 4. แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เห็นควรให้สถานศึกษาจัดโครงการ/ กิจกรรม เพื่อการปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตามลำดับความสำคัญ ดงั นี้ 1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนรายวิชา เลือกเสรี วิชาบังคบั (สอบซ่อม) และการจัดทำแผนลงทะเบียนระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 2. โครงการจัดทำสื่อการเรียนการสอนรายวชิ าเลือกเสรี ผ่าน VDO ประกอบการเรยี น การสอน 3. โครงการสอนเสริมนกั ศึกษารายวิชาบังคบั เพ่ือเพ่ิมผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 4. โครงการพัฒนาศักยภาพครูในการจดั ทำระบบประกันคุณภาพ และการรายงานการ ประเมินตนเอง 5. โครงการอบรมพฒั นาบุคลากรเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ าน 5. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม บุคลากรของสถานศึกษาได้ร่วมกัน ประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้การ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากการ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา การกำหนดโอกาสและอุปสรรคจากการรวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไป ใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งได้ผลการประเมินสถานการณ์ของ สถานศึกษา ดงั น้ี
23 การวเิ คราะหส์ ภาพการณ์ (สภาพแวดลอ้ มปจั จยั ภายใน สภาพแวดล้อมปจั จยั ภายนอกองค์กร) เพ่ือระบุ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น โอกาส และอุปสรรค ประเมนิ สถานศกึ ษาและสภาพแวดลอ้ ม (SWOT) จดุ แขง็ (Strengths) 1. การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับความต้องการ และความจำเป็นพื้นฐาน ของประชาชน ชุมชน และสังคม 2. ผบู้ ริหาร ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษา มคี วามรูค้ วามสามารถ มมี นุษย์สมั พนั ธ์ ทด่ี ี สามารถทำงานรว่ มกบั เครอื ขา่ ยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 3. ผู้บริหาร ข้าราชการ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ สร้างขวัญ กำลังใจในโอกาสต่าง ๆ เช่น การศึกษาดูงาน การได้รับการส่งเสริมให้เรยี นรูป้ ระสบการณ์ ใหม่ ๆ 4. มีสอื่ เอกสาร อุปกรณ์ และส่ือเทคโนโลยี สนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านอย่างเพียงพอ และมี ประสิทธิภาพ 5. มกี ารเบิกจ่าย งบประมาณ เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี 6. มีการบริหารแบบมีส่วนร่วม และมีระบบการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีและ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มีการดำเนินงานตามแผนงาน โครงการและติดตามผล การปฏบิ ัติงาน มกี ารกำหนดบทบาท หนา้ ท่ีของบุคลากรอยา่ งชดั เจน จุดออ่ น (Weaknesses) 1. ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นต่ำกวา่ เกณฑ์มาตรฐาน 2. บุคลากรมีภาระงานมากนอกเหนือจากงานในหน้าที่ทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างเต็มความสามารถ 3. ไมม่ ีครูท่จี บเอก ในสาระรายวิชาพนื้ ฐาน เชน่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โอกาส (Opportunities) 1. ชุมชน และองค์กรชุมชนเห็นความสำคัญของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย จึงไดร้ บั การสนบั สนนุ ทห่ี ลากหลายจากภาครัฐ ภาคเอกชน และศิษยเ์ กา่ 2. ภาคเี ครือขา่ ย มีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย 3. การคมนาคมและการติดตอ่ สอื่ สารทส่ี ะดวก 4. มที รพั ยากรธรรมชาติทเี่ ป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี และภูมิ ปัญญาทหี่ ลากหลาย 5. รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกระบวนการ เรยี นรู้ และการเรยี นร้ทู ักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 6. ไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ จากภาคีเครือขา่ ย อปุ สรรค (Threats)
24 1. นโยบายของต้นสังกัดเปลี่ยนแปลงอย่เู สมอ 2. นโยบายปรบั ลดอัตราของภาครฐั ทำใหส้ ถานศึกษาขาดแคลนบคุ ลากร 3. ระเบยี บการจดั การศึกษาตอ่ เน่ือง ไมเ่ อื้อต่อการปฏิบัติงานหน้าท่ี 4. กลุม่ เป้าหมายไม่มเี วลาเรยี นและฝึกทักษะอาชพี ในหลกั สตู รระยะยาว เน่ืองจาก กลมุ่ เปา้ หมายสว่ นใหญ่ไมม่ ีอาชีพทแ่ี น่นอน ไม่เปน็ หลักแหลง่ และตอ้ งประกอบอาชีพ 5. กลุม่ เปา้ หมายใหค้ วามสำคัญกับการประกอบอาชพี มากกวา่ การศึกษา 6. กลุ่มเป้าหมายเปน็ ผสู้ ูงอายุ ค่อนขา้ งมาก ทำให้เปน็ อุปสรรคต่อการจดั กิจกรรม พนั ธกจิ 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผูเ้ รียน มีความรแู้ ละทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียน มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี วิจารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รองและมีวสิ ยั ทัศน์ 3. จัดกจิ กรรมส่งเสริมให้ผเู้ รียน ผูร้ ับบริการมีความรู้ และทักษะดา้ นอาชพี ตามวถิ ชี วี ติ ชุมชน 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียน ผู้รับบริการมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก เรียนรู้ มีคุณธรรมและพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5. พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษาและกระบวนการเรยี นการสอน ท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 6. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหส้ ามารถปฏบิ ัติงานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 7. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรยี น ผ้รู ับบริการ ใชแ้ หล่งเรยี นรใู้ นชุมชน ท่หี ลากหลาย 8. พฒั นาระบบบริหารจัดการภายในของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ 9. ส่งเสริมสนบั สนุนประสานภาคีเครือข่ายมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย เป้าประสงคแ์ ละตัวช้ีวัดความสำเรจ็ เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ัดความสำเร็จ 1. ผู้เรียน ผู้รับบริการมคี วามรูแ้ ละทกั ษะทจี่ ำเป็น 1. ร้อยละของผูเ้ รยี น ผ้รู ับบริการมคี วามรู้และทักษะท่ี ตามหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน จำเปน็ ตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 2. ผู้เรยี น ผู้รบั บริการมคี วามสามารถในการคดิ 2. รอ้ ยละของผูเ้ รียน ผู้รบั บริการมคี วามสามารถในการ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ มวี จิ ารณญาณ มีความคิด คิดวเิ คราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิด สรา้ งสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวสิ ัยทศั น์ สรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ 3. ผูเ้ รียน ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรู้ และทักษะดา้ น 3. ร้อยละของผเู้ รียน ผู้รบั บริการมีความรู้ และทักษะด้าน อาชพี ตามวิถชี ีวติ ชุมชน อาชีพ ตามวถิ ชี วี ติ ชมุ ชน 4. ผู้เรยี น ผูร้ ับบรกิ ารมีทกั ษะในการแสวงหา 4. ร้อยละของผูเ้ รยี น ผ้รู บั บริการมีทักษะในการแสวงหา ความร้ดู ว้ ยตนเอง รักเรียนรู้ มคี ณุ ธรรมและ ความรดู้ ว้ ยตนเอง รักเรียนรู้ มีคุณธรรมและพฒั นาตนเอง พฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง อย่างต่อเนือ่ ง
25 5. สถานศกึ ษามีหลักสูตรสถานศึกษาและ 5. สถานศกึ ษามีหลักสตู รสถานศึกษาทเี่ ป็นรูปเล่ม กระบวนการเรยี นการสอน ท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ สามารถตรวจสอบได้ 6. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีความร้แู ละ 6. รอ้ ยละของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีความรู้และ ทักษะในการปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ทกั ษะในการปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 7. สถานศกึ ษามรี ะบบบรหิ ารจดั การภายในทม่ี ี 7. สถานศึกษามรี ะบบบรหิ ารจดั การภายในท่ีมีคณุ ภาพ คุณภาพ อย่างน้อย 2 ระบบ 8. ผเู้ รียน ผู้รบั บริการ ใช้แหลง่ เรยี นร้ใู นชุมชน ท่ี 8. รอ้ ยละของผ้เู รยี น ผู้รับบริการ ใชแ้ หลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน หลากหลาย ทหี่ ลากหลาย 9. ภาคเี ครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา 9. ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาและ และสถานศึกษา สถานศึกษาอยา่ งน้อยปลี ะ 10 โครงการ กลยุทธ์ 1. พฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 2. พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา 3. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 4. พัฒนาระบบบริหารการจัดการศึกษา 5. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครจู ัดการศึกษาทีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั 6. เสรมิ สรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ เป้าหมายหลักของการบริหารและจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ๑. ผู้เรยี นมคี วามรู้พื้นฐาน เพ่ือการศึกษาต่อ พฒั นาอาชีพ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ๒. ผ้เู รยี นมีทกั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นร้อู ยา่ งต่อเน่ือง และ สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวติ ๓. ผู้เรียนมีสมรรถนะและทักษะในการดำรงชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั ช่วงวยั สอดคล้องกบั หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี ๒๑ ๔. ผเู้ รยี นหรอื ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการประกอบอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใชใ้ นการลดรายจา่ ย หรือเพม่ิ รายได้ หรือประกอบอาชพี หรือพัฒนาต่อยอด อาชพี หรอื เพิ่มมลู คา่ ของสนิ ค้าหรอื บริการ ๕. ผเู้ รียนหรอื ผเู้ ข้ารับการอบรม มีความรู้ในการใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม และ สามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและพฒั นาการดำรงชวี ิต หรอื การประกอบอาชีพได้ ๖. ระบบบริหารจดั การมีประสิทธิภาพเป็นไปตามหลกั ธรรมาภิบาล ๗. ภาคเี ครอื ข่าย ทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการจดั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรม การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างต่อเนื่อง
26
27 สว่ นที่ 4 สรุปงบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ 2562 สรุปรวมทกุ งาน / โครงการ : => กศน.ท่าชา้ ง รหัส ชื่องาน / โครงการ จดั สรร เบกิ จา่ ย จ่าย% คงเหลอื 03111101 101 งบอดุ หนนุ คา่ จัดการเรียนการสอน 331,190.00 282,342.62 85.25 48,847.38 03222102 202 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 492 54,500.00 54,472.00 99.95 28.00 03222201 201 งบอุดหนุน คา่ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 52,030.00 51,930.54 99.81 99.46 03333102 302 ค่าหนงั สอื เรยี น 021 43,380.00 36,572.00 84.31 03333301 301 งบอุดหนนุ คา่ หนังสอื เรยี น 42,590.00 42,590.00 100.00 6,808.00 03444401 401 ผลผลติ 4 งบบรหิ าร 18,000.00 17,978.00 99.88 0.00 03444405 405 ผลผลติ 4 กจิ กรรมพัฒนาสงั คมและชุมชน 48,000.00 47,669.00 99.31 22.00 03444406 406 ผลผลติ 4 กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชีวติ 23,000.00 23,000.00 100.00 03444407 407 ผลผลติ 4 กจิ กรรมเศรษฐกิจพอเพียง 19,200.00 19,200.00 100.00 331.00 03444413 408 ผลผลติ 4 กิจกรรมส่งเสริมการรูห้ นงั สือ 1,100.00 0.00 03555501 501 ผลผลติ 5 งบบริหาร 30,000.00 0.00 0.00 0.00 03555502 502 ผลผลติ 5 ค่าตอบแทนจ้างเหมาบรกิ าร 396,000.00 29,969.41 99.90 03555505 505 ผลผลติ 5 (หสม.)ค่าสาธารณปู โภค 11,000.00 390,600.00 98.64 1,100.00 03555506 506 ผลผลติ 5 (หสม.)คา่ หนงั สือพมิ พ์-วารสาร 19,300.00 10,996.76 99.97 30.59 03555507 507 ผลผลติ 5 (หสม.)คา่ หนงั สอื สื่อ 50,000.00 15,360.00 79.59 03555508 508 ผลผลติ 5 (กศน.ตำบล)คา่ หนังสือพิมพ์ 9,800.00 50,000.00 100.00 5,400.00 03555514 514 ผลผลติ 5 ค่าบรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ต(หน่วยงาน/ 14,004.00 9,720.00 99.18 3.24 สถานศกึ ษา) 11,663.00 83.28 03555515 515 ผลผลติ 5 ค่าบรกิ ารอินเตอรเ์ น็ต(ห้องสมดุ 8,406.00 3,940.00 เฉลิมราชกมุ าร)ี 8,400.01 99.93 0.00 03666101 601 งบรายจ่ายอ่ืน โครงการ Smart ONIE 19,985.00 80.00 03666301 603 งบรายจา่ ยอื่น ศูนยฝ์ กึ อาชพี (ช้นั เรยี นวชิ าชพี ) 108,000.00 18,492.00 92.53 03666302 604 งบรายจา่ ยอ่นื ศนู ยฝ์ ึกอาชพี (กลมุ่ สนใจ) 106,400.00 107,495.00 99.53 2,341.00 03666303 605 งบรายจา่ ยอืน่ ศนู ย์ฝึกอาชพี (1 อำเภอ 1 36,000.00 99,231.00 93.26 อาชพี ) 35,995.00 99.99 5.99 03666501 607 งบรายจ่ายอน่ื โครงการดจิ ทิ ัลชุมชน 35,040.00 03666601 608 งบรายจ่ายอื่น ภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สาร 48,000.00 35,000.00 99.89 1,493.00 03666709 609 โครงการพฒั นาครู กศน.ต้นแบบการสอน 29,500.00 47,992.00 99.98 505.00 ภาษาองั กฤษเพื่ 29,500.00 100.00 7,169.00 5.00 40.00 8.00 0.00
28 รหสั ช่ืองาน / โครงการ จัดสรร เบิกจ่าย จา่ ย% คงเหลอื 03999801 981 การรณรงคป์ ระชาสมั พนั ธ์การเลือกตง้ั 4,000.00 4,000.00 100.00 0.00 03999901 901 งบลงทุน คา่ ซ่อมแซมห้องสมดุ 500,000.00 500,000.00 100.00 0.00 2,058,425.00 1,980,168.34 96.20 78,256.66 รวม
29 สว่ นที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งานประจำปงี บประมาณ 2562 (1 ตลุ าคม 2561 – 30 กันยายน 2562) ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าช้าง แผนงานโครงการและกิจกรรม 1. ยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน และการวดั ผล ประเมนิ ผล ที่ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตัวชวี้ ัดโครงการ งบประมาณ กลุ่มงาน โครงการ (บาท) รบั ผดิ ชอบ 1. โครงการนเิ ทศ 1.เพ่อื นิเทศ ติดตาม 1.ผู้บริหาร 1.ร้อยละ 80 ของ กล่มุ นเิ ทศ ติดตามผลการจดั สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรม ติดตามและ การศึกษานอก ประเมนิ ผล รายงานผลการ 2.ขา้ ราชการครู กศน.ไดต้ ามแผนและ ประเมนิ ผล ระบบและ นโยบายอยา่ งมีคณุ ภาพ การศึกษาตาม จดั การศึกษานอกระบบ 3.บลุ ากร กศน. ตามมาตรฐานการศึกษา อธั ยาศยั ตามระบบการประกัน และการศกึ ษาตาม อำเภอทา่ ชา้ ง คณุ ภาพ 2.ร้อยละ 80 ของ อัธยาศัย ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา บคุ ลากร กศน. มศี กั ยภาพ 2.เพือ่ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ในการปฏิบัติการตาม เปา้ หมาย สถานศึกษาให้สามารถ พัฒนาคณุ ภาพตาม นโยบายมาตรฐาน การศึกษาตามระบบ ประกันคณุ ภาพ 3.เพอ่ื ประมวลปญั หา และข้อเสนอแนะเพื่อ ปรบั ปรงุ และพฒั นา กิจกรรม กศน. 2 โครงการประชุมเชิง 1.เพ่ือจดั ทำข้อสอบ 1.ผู้บรหิ าร งบอุดหนนุ กลมุ่ ส่งเสริม ปฏบิ ัติการสร้าง วัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 2.ข้าราชการครู การศกึ ษา นอกระบบ ข้อสอบวดั นกั ศกึ ษา กศน.จงั หวดั 3.ครูอาสมัคร ผลสมั ฤทธ์ิปลาย สงิ ห์บรุ ี รายวิชาเลือกเสรี กศน. ภาคเรยี นรายวชิ า รายวิชาบงั คบั 4.ครู กศน.ตำบล เลือกเสรี วชิ าบังคับ 2.เพื่อจัดทำแผน 5.ครู ศรช. (สอบซ่อม)และการ ลงทะเบยี นเรียนหลกั สตู ร 6.บคุ ลากร กศน. จดั ทำแผน อำเภอ
30 ท่ี โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของ ตวั ช้วี ดั โครงการ งบประมาณ กลุ่มงาน โครงการ (บาท) รับผดิ ชอบ ลงทะเบยี นเรยี น การศกึ ษานอกระบบระดับ ทา่ ชา้ ง หลกั สตู ร การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การศึกษานอกระบบ พทุ ธศักราช 2551 ระดบั การศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 3. โครงการการพัฒนา เพ่ือใหค้ รูและบุคลากร 1.ครูอาสาสมัคร ความสามารถในการจดั งบอุดหนนุ กล่มุ กศน. กระบวนการเรียนการสอน สง่ เสริม หลกั สตู รการศึกษา ทางการศกึ ษามีทกั ษะ 2.ครู กศน.ตำบล โดยใช้ กระบวนการ “สะ การศึกษา 2.บคุ ลากร กศน. เตม็ ศึกษา” นอกระบบ นอกระบบระดับ ความรูค้ วามสามารถใน อำเภอท่าช้าง การศกึ ษาขนั้ การจัดกระบวนการเรยี น พืน้ ฐานโดยใช้ การสอนโดยใช้ กระบวนการ “สะ กระบวนการ “สะเตม็ เตม็ ศึกษา” ศกึ ษา” 4. โครงการสอนเสรมิ เพ่ือเพม่ิ ผลสัมฤทธ์ิ 1.ครู ร้อยละเพิม่ ข้ึนของคะแนน งบอุดหนนุ กลุ่ม เฉลยี่ ผลการทดสอบทาง ส่งเสริม นกั ศกึ ษาเพือ่ เพ่มิ ทางการเรียนของนกั ศึกษา 2.นักศึกษา การศกึ ษาของนักศกึ ษา การศึกษา กศน.จงั หวดั สงิ หบ์ ุรี นอกระบบ สัมฤทธ์ิทางการ กศน. กศน. เรยี น
31 2. ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การผลิต พฒั นาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ที่ โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมายของ ตัวช้ีวัดโครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผดิ ชอบ 1. โครงการศึกษาดู 1.เพ่อื จัดการส่งเสริม บรรณารกั ษ์ 1.ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการได้ (งบ งาน งานของ การอา่ นโดยใช้หนว่ ย กศน.อำเภอ แนวทางสง่ เสริมการอ่าน ดำเนินงาน) การศึกษา บรรณารักษ์ เคลอ่ื นท่เี ขา้ หาชุมชน โดยใช้ห้องสมุดเคลื่อนที่ หอ้ งสมดุ และ ท่าช้าง เขา้ หาชมุ ชน ตาม บุคลากร กศน. 2.เพื่อเพิม่ และขยาย 2.ผู้เขา้ ร่วมโครงการได้ อธั ยาศัย อำเภอท่าชา้ ง กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน แนวทางเพือ่ เพม่ิ และขยาย กจิ กรรม เชิงรกุ ในชมุ ชน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น เชงิ รกุ ในชมุ ชน 3.เพอ่ื สง่ เสริมและ 3.ผเู้ ข้าร่วมโครงการ สนบั สนนุ ใหภ้ าคีเครอื ข่าย สามารถส่งเสรมิ และ รว่ มจดั สนับสนนุ การอา่ น สนบั สนุนใหภ้ าคีเครอื ข่าย เชน่ ในโรงงานสถาน รว่ มจัดสนับสนุนการอ่าน ประกอบการ โรงพยาบาล เช่นในโรงงานสถาน คอนโดมิเนยี ม ประกอบการ โรงพยาบาล คอนโดมเิ นยี ม 4.เพ่ือพฒั นาการบริการ 4..ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ให้ประชาชนได้เขา้ ถงึ สือ่ สามารถพัฒนาการบริการ ส่งเสรมิ การอา่ นไดส้ ะดวก ให้ประชาชนได้เขา้ ถงึ สือ่ พร้อมเขา้ สสู่ ังคมดจิ ทิ ลั ส่งเสริมการอา่ นไดส้ ะดวก พรอ้ มเขา้ สสู่ ังคมดจิ ิทลั 5.เพือ่ สง่ เสริมสนับสนนุ 5.ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ให้หอ้ งสมุดประชาชนทุก สามารถสง่ เสริมสนับสนนุ แหง่ พฒั นารับหนังสอื ผ่าน ใหห้ ้องสมดุ ประชาชนทกุ QR Code แหง่ พัฒนารบั หนงั สือผ่าน QR Code
32 3. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ผลิต พฒั นากำลงั คน รวมท้ังงานวจิ ัยท่สี อดคล้องกับความต้องการ ของการพัฒนาจงั หวัดสิงหบ์ ุรี ที่ โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ชี้วัดโครงการ งบประมาณ กล่มุ งาน โครงการ (บาท) รับผดิ ชอบ 1. โครงการ 1.เพอื่ ฝึกอบรม ประชาชนใน ผู้เข้ารว่ มโครงการ 48,000.- งาน พน้ื ทอ่ี ำเภอทา่ สามารถนำความรทู้ ี่ไดร้ บั การศึกษา ภาษาองั กฤษเพ่ือ ภาษาองั กฤษเพอื่ การ ชา้ ง จำนวน 40 ไปปรบั ใช้ในการประกอบ (งบรายจ่าย ต่อเน่อื ง อาชีพได้อย่างมี อ่ืน) การสือ่ สารดา้ น สื่อสารด้านอาชีพให้กบั คน อาชีพ ประชาชนในพืน้ ทข่ี อง กิจกรรม สถานศึกษา ประสทิ ธภิ าพ 1.การจัดอบรม 2.เพอ่ื ใหป้ ระชาชน ประชาชน กลุม่ เป้าหมายทผี่ า่ นการ กลุ่มเป้าหมาย อบรมตามโครงการ กศน.อำเภอละ 2 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การ รุน่ ๆละ 20 คน สอ่ื สารด้านอาชีพ สามารถ 2.การนเิ ทศ นำความรู้ที่ไดร้ ับไป ติดตามผลการ ประยุกตใ์ ช้ในการประกอบ ดำเนินงานของ อาชพี ได้ สถานศกึ ษาใน สังกดั 3.การถ่ายทำ วดิ โี อแนะนำ ประสบการณแ์ ละ เผยแพรผ่ า่ นสื่อ YOUTUBE 4.การสรปุ ผลการ ดำเนนิ งานโครงการ
33 4. ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ขยายโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ที่ โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมายของ ตวั ชว้ี ดั โครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 1. โครงการจัด 1. เพื่อส่งเสริมการจัด นกั ศกึ ษาข้ัน 1.นกั ศกึ ษากล่มุ เป้าหมาย ...................- งาน ไดร้ ับความรู้ เกิดทักษะ การศึกษา การศึกษานอกระบบ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้กบั พื้นฐาน กระบวนการเรยี นรู้ และมี (งบเงิน นอกระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์อยา่ ง อดุ หนุน) ระดบั การศึกษาข้ัน ผู้ดอ้ ยโอกาส ภาคเรียนท่ี เป็นระบบ 2.นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย พน้ื ฐาน ผู้พลาดโอกาส และผู้ขาด 2/2561 สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ ในการประกอบอาชีพ หรือ กจิ กรรม โอกาสทางการศึกษา ภาคเรียนท่ี ศึกษาต่อไดอ้ ย่างมี ประสิทธิภาพ 1.การจัดการเรยี นการ 2. เพ่ือให้นักศึกษาได้รับการ 1/2562 สอน โดยการพบกลุ่ม สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ 2.การดำเนินการจัด เพ่อื แก้ปัญหาและพัฒนา สอบปลายภาคเรยี น คณุ ภาพชีวิตและเสริมสร้าง 3.การนิเทศ ติดตาม ความเข้มแขง็ ให้กับชมุ ชน โดยมี กศน.ตำบล ศูนย์การ เรียนชุมชน และแหล่งการ เรยี นรูอ้ ่ืนในชุมชนเป็นกลไก ในการจัดการเรียนรู้ 3. โครงการกิจกรรม เพือ่ จัดกิจกรรมพัฒนา นักศกึ ษาขั้น นักศึกษากลุ่มเป้าหมาย ...................- งาน ไดร้ ับการส่งเสริมการจดั สารสนเทศ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน คณุ ภาพผูเ้ รียนท่ีสอดคลอ้ งกบั พื้นฐาน กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพ (งบเงิน ผ้เู รยี นผ่านกจิ กรรมตา่ งๆ อุดหนุน) และการ กจิ กรรม จดุ ม่งุ หมายของหลักสูตร ภาคเรยี นท่ี อย่างครบถ้วน รายงาน 1.การจัดกิจกรรม การศกึ ษานอกระบบระดับ 2/2561 พฒั นาวิชาการ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ภาคเรียนที่ 2.การจัดกิจกรรม พทุ ธศักราช 2551 เพ่ือพัฒนา 1/2562 พัฒนาทักษะชวี ิต ให้ผ้เู รียนมีคุณธรรม 3.การจดั กจิ กรรมที่ จริยธรรม มีสตปิ ัญญา มี แสดงออกถึงความ คุณภาพชีวิตที่ดี มีศกั ยภาพใน จงรกั ภักดีตอ่ ชาติ การศึกษาต่อ การประกอบ ศาสนา และ อาชีพและการเรียนร้อู ย่าง พระมหากษัตรยิ ์ ตอ่ เนื่องซึ่งเป็นคณุ ลักษณะองั 4.การจดั กิจกรรม พงึ ประสงค์สอดคล้องกับ การเรียนรู้ตามหลัก ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี ปรชั ญาของเศรษฐกิจ 21 พอเพียง 5.การจดั กจิ กรรม ลกู เสือยุวกาชาด
34 ที่ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมายของ ตัวชว้ี ัดโครงการ งบประมาณ กลุ่มงาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 6.การจัดกิจกรรม กีฬาและส่งเสริม สุขภาพ 7.การจัดกจิ กรรม สง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม 8.การจัดกิจกรรม การเรยี นรู้การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริย์ ทรงเป็นประมุขและ กฎหมายใน ชีวติ ประจำวัน 9.การจดั กิจกรรม การส่งเสริมดแู ลสุข ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน 4. โครงการส่งเสรมิ การรู้ เพอ่ื จัดการเรียนการสอนให้ ประชาชนผู้ไมร่ ู้ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 1,100- การศกึ ษา หนังสือ สามารถอ่านออก เขียนได้ (งบ นอกระบบ หนงั สือ กลมุ่ เปา้ หมายผู้ไม่รหู้ นังสือให้ ตามเกณฑท์ ่ีสำนักงาน กศน. ดำเนินงาน) จำนวน 2 คน กำหนด การศกึ ษา กิจกรรม อา่ นออกเขียนได้ ตามตัวชีว้ ัด ...................- นอกระบบ นกั ศึกษาข้ัน นกั ศึกษากลุ่มเปา้ หมายผ่าน (งบเงิน 1.การจัดกิจกรรมการรู้ การรู้หนงั สือตามท่ี สำนกั งาน พ้นื ฐาน การประเมินระดับการรู้ อุดหนุน) หนงั สือตามคู่มอื การประเมิน หนังสอื กศน.กำหนด จำนวน 46 คน ระดับการรู้ 2.การจัดกิจกรรมการ คงสภาพการรู้หนังสอื 3.การจัดกิจกรรม พฒั นาทักษะการรู้ หนงั สอื 5. โครงการประเมิน เพื่อสำรวจข้อมลู การรู้ ระดับการรหู้ นังสอื หนงั สอื ของกลุ่มเป้าหมาย ของนักศกึ ษา กศน. นกั ศกึ ษา ทง้ั ระดับ กจิ กรรม ประถมศึกษา ระดับ 1.แต่งตง้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และ คณะกรรมการ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2.ประเมินการรูห้ นังสือ 3.กรอกข้อมลู ลงระบบ 4.สรุปและรายงานผล
35 ท่ี โครงการ/กิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายของ ตวั ชีว้ ดั โครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 6. โครงการจัดการศึกษา เพื่อจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ประชาชนในพื้นท่ี รอ้ ยละของประชาชนได้รับ 48,000- การศกึ ษา จังหวัดสงิ ห์บรุ ี การสง่ เสริมการจัดกิจกรรม ต่อเนื่อง เพือ่ พัฒนาสังคมและ การพัฒนาสงั คมและชมุ ชน จำนวน 120 คน การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาสงั คม (งบ และชุมชนอยา่ งทั่วถงึ และ ดำเนินงาน) การศกึ ษา ชมุ ชน โดยเน้นการดำเนินงานตาม ตอ่ เนื่อง กจิ กรรม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ 1.การจดั อบรม พอเพยี ง การสร้างจิตสำนึก สามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รบั ไป ประชาชน ความเป็นประชาธปิ ไตย และ ปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน - การจัดเวที การสรา้ งความเปน็ พลเมืองที่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ดี - การจัดกจิ กรรม จติ อาสา - การสร้าง จิตสำนกึ ความเป็น ประชาธิปไตย - การส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรม - การบำเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชน - การบรหิ าร จัดการนำ้ การรับมือ กับสาธารณภยั - การอนุรักษ์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม 2.การนิเทศ ติดตาม ผลการดำเนินงานของ สถานศกึ ษาในสงั กัด 3.การสรุปผลการ ดำเนินงาน 7. โครงการจัดการศึกษา เพ่ือจัดกจิ กรรมการศกึ ษา ประชาชนในพื้นท่ี ผู้เข้าร่วมโครงการได้รบั 23,000.- เพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต เพอื่ พัฒนาทักษะชีวิตให้กับ จงั หวัดสิงห์บุรี ความรู้ และสามารถบริหาร (งบ จำนวน 200 คน จดั การชวี ิตของตนเองให้อยู่ใน ดำเนินงาน) กิจกรรม ประชาชนท่ีมุง่ เน้นให้ สังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ มี 1.การจดั อบรม กลุม่ เปา้ หมายมีความรู้ ประชาชน ความสามารถในการบรหิ าร คุณธรรมจรยิ ธรรม รวมทง้ั - การส่งเสริมดูแล จดั การชวี ิตของตนเองอยูใ่ ห้ สามารถใช้เวลาว่างใหเ้ ป็น สุขภาวะและ อย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข
36 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของ ตัวช้ีวัดโครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ สุขอนามยั ประชาชนใน มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม รวมทั้ง ประโยชน์ต่อตนเอง ชุมชน สามารถใชเ้ วลาว่างให้เป็น ครอบครัว และชุมชนได้ - การส่งเสริม ประโยชน์ต่อตนเอง สุขภาพกายและ ครอบครัว และชุมชนได้ สุขภาพจิต - การป้องกันภัยยา เสพติด - เพศศึกษา คุณธรรม และค่านยิ ม ทีพ่ ึงประสงค์ - ความปลอดภัยใน ชวี ิตและทรัพย์สนิ 2.การนเิ ทศ ติดตาม ผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาในสังกัด 3.การสรุปผลการ ดำเนินงานโครงการ 8. โครงการจัดการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการจัด ประชาชนในพ้ืนท่ี ผู้เขา้ ร่วมโครงการไดร้ ับ 19,200.- การศกึ ษา ต่อเนื่อง ตามหลักปรัชญาของ กระบวนการเรยี นรู้ให้ จงั หวัดสงิ ห์บรุ ี ความรู้ด้านปรัชญาของ (งบ ดำเนินงาน) เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนเรียนรู้ตามหลัก จำนวน 48 คน เศรษฐกจิ พอเพียงและ กิจกรรม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนำความรู้ทไ่ี ดร้ ับมา 1.การจดั อบรม เพอื่ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับ ปรบั ใช้ในการดำรงชวี ิตได้ ประชาชนผา่ น ประชาชนได้ อยา่ งมีความสขุ กระบวนการเรยี นรู้ ตลอดชีวติ เพือ่ สรา้ ง ภูมิคุมกนั และมีการ บริหารจดั การความ เสี่ยงได้อยา่ งเหมาะสม 2.การนเิ ทศ ติดตาม ผลการดำเนินงานของ สถานศึกษาในสงั กัด 3.การสรุปผลการ ดำเนินงานโครงการ 9 โครงการศนู ยฝ์ ึก เพ่ือจัดการศกึ ษาเพื่อ ประชาชนในพ้ืนที่ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความรู้ 199,200...- การศกึ ษา ตอ่ เนื่อง อาชพี ชุมชน พัฒนาอาชีพใหก้ ับประชาชน จงั หวัดสงิ ห์บุรี และทักษะอาชีพ สามารถ กิจกรรม ใหม้ ีความรแู้ ละทกั ษะอาชีพ พฒั นาอาชีพเดิม สร้างอาชีพ
37 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตัวชว้ี ดั โครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รบั ผิดชอบ 1.การส่งเสริมการจัด พัฒนาอาชีพเดิม สร้างอาชีพ ใหม่ และสามารถนำความรู้ 1. กจิ กรรม 1 และทักษะไปใชใ้ นการสร้าง (งบรายจา่ ย ยุทธศาสตร์ กจิ กรรม ดังนี้ ใหม่ และสามารถนำความรู้ อำเภอ 1 อาชีพ.... รายได้ ลดรายจ่ายได้ อ่นื ) และการ 32.....คน พัฒนา - กิจกรรม 1 อำเภอ และทักษะไปใชใ้ นการสร้าง 2. กจิ กรรมชน้ั ชุมชนต้นแบบระดับไดร้ ับ - เรยี นวิชาชพี .96.. การส่งเสริมพัฒนาสกู่ ารสร้าง 1 อาชีพ รายได้ ลดรายจ่ายให้กบั คน การรับร้ใู นระดับตำบลได้ 3. กจิ กรรมพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ - กิจกรรมชั้นเรยี น ประชาชนในท้องถ่ินได้ อาชีพระยะส้ัน. 120.คน วิชาชีพ ช่างพื้นฐาน รวมท้งั สิน้ ..248... คน - กจิ กรรมพัฒนา ชุมชนตน้ แบบ อาชีพระยะส้ันไม่เกิน ระดบั ตำบล จำนวน 4 แห่ง 30 ชั่วโมง 2.การติดตามผลการ ดำเนินงาน 3.การรายงานผลการ จดั กจิ กรรมระบบ DMIS 10 โครงการไทยนิยม 1.เพื่อขยายผลชุมชน ยง่ั ยืน กศน.อำเภอท่า ต้นแบบในระดบั ตำบล ชา้ ง 2.เพื่อจัดกจิ กรรมการสรา้ ง กิจกรรม การรับรู้ให้กับนักศกึ ษา และ 1.การคัดเลือกชุมชน ประชาชนทั่วไป ต้นแบบระดับตำบลๆ ละ 1 แห่ง 2.การรายงานข้อมูล ผลการคดั เลือกใน ระบบ DMIS 3.การสง่ เสริมพัฒนา ชุมชนตน้ แบบระดับ ตำบลตามโครงการไทย นิยม ยง่ั ยืน ทุกระดับ สู่ความยั่งยนื 4.การสร้างการรบั รู้ ใหก้ ับนักศกึ ษาและ ประชาชนท่ัวไป (เน้นการรูส้ ิทธิ รู้หนา้ ท่ี รู้กฎหมาย, การรู้กลไก การบรหิ ารราชการ)
38 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตัวช้ีวัดโครงการ งบประมาณ กลุม่ งาน โครงการ (บาท) รบั ผิดชอบ 5.การติดตามผลการ ประชาชนทั่วไป 10,000 .คน ดำเนินงาน ในระดับ พนื้ ท่ี 6.การรายงานผลการ ดำเนินงานในระบบ DMIS 11 โครงการสร้างการอ่าน เพ่อื ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรม ประชาชนได้รับการส่งเสริม ...................- งาน การจัดกจิ กรรมส่งเสริมการ การศกึ ษา เสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการอา่ นให้ อ่าน (งบ ตามอธั ยาศยั ดำเนินงาน) (ห้องสมุดประชาชน) กลมุ่ เปา้ หมายทุกช่วงวยั ไดร้ ับ (คา่ กิจกรรม บริการการเรียนรู้ตลอดชีวิต หนังสอื พิมพ์ 1.การจดั กจิ กรรม อย่างมีคณุ ภาพ วารสาร, ส่งเสริมการอา่ นเชงิ รุก คา่ สื่อหนงั สือ) สูช่ ุมชน - กจิ กรรมส่งเสริม การอา่ นเคลอ่ื นที่สู่ ชมุ ชน “บำบัดทุกข์ บำรงุ สขุ ” - กิจกรรม ครอบครัวรกั การอ่าน - กิจกรรมบ้าน หนงั สือชุมชน - กิจกรรมส่งเสริม การอา่ นรถหอ้ งสมุด เคล่อื นที่ - กิจกรรมหอ้ งสมุด 1.สมาชิกหอ้ งสมุด เคล่ือนท่ีสำหรับชาว จำนวน............คน ตลาด 2.ผรู้ บั บรกิ าร ภายในห้องสมุด 2.การจัดกิจกรรม จำนวน............คน สง่ เสริมการอา่ นภายใน หอ้ งสมดุ ประชาชน - การจัดมุมเด็ก ปฐมวยั ห้องสมุด ประชาชนทกุ แห่งเพ่ือ พัฒนาศักยภาพการ
39 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ช้วี ัดโครงการ งบประมาณ กลุ่มงาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ ให้บริการส่งเสริมการ อ่าน - การพัฒนา ห้องสมดุ ประชาชน 4 ด้าน(ด้านอาคาร สถานท/่ี ด้าน บุคลากร ผู้บรกิ าร ผู้รับบรกิ าร/ด้านส่ือ และเทคโนโลยี/ด้าน องค์ความร้ตู ่างๆและ ภูมิปญั ญา) - การส่งเสริมการ อ่านร่วมกบั ภาคี เครอื ข่ายเพื่อ เสริมสร้างวัฒนธรรม การของประชาชนทกุ ชว่ งวยั - การจัดกิจกรรม สง่ เสริมการอ่านเนื่อง ในวันสำคัญต่างๆ 3.การรายงานผลการ จัดกิจกรรม 12 โครงการส่งเสรมิ การ 1.เพ่ือจัดกิจกรรมการศึกษา ประชาชนท่ัวไป ประชาชนทกุ ช่วงวัยใน - งาน อ่าน (การจัดกิจกรรม ตามอัธยาศัยสง่ เสริมการ ตำบลละ 300 คน พ้ืนทช่ี ุมชน ได้รบั โอกาสใน การศึกษา ส่งเสริมการอ่านโดยครู เรยี นรเู้ พ่อื ปลูกฝังนิสยั รักการ การเข้าถึงการศึกษาตาม ตามอธั ยาศยั กศน.ตำบล) อา่ น และพัฒนาความสามารถ อธั ยาศัย ดว้ ยกจิ กรรมสง่ เสรมิ กจิ กรรม ในการอ่านและศักยภาพการ การอ่าน 1.กจิ กรรมหอ้ งสมุด เรียนรขู้ องประชาชนทุก ประชาชน กลุม่ เป้าหมายให้ประชาชน 2.กจิ กรรมหน่วย สามารถรับรู้ข้อมูลขา่ วสารทัน บริการเคลอื่ นทโ่ี ดยรถ ตอ่ เหตกุ ารณ์ และสามารถนำ โมบาย ความรู้ท่ีได้รับไปปรับใช้ใน 3.กิจกรรมห้องสมุด ชีวติ ประจำวันได้ เคลือ่ นที่สำหรับชาว ตลาด
40 ที่ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ชีว้ ดั โครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รบั ผิดชอบ กศน.ตำบลเป็นแหล่งเรียนรู้ 4.กจิ กรรมบ้าน ในระดับตำบลทม่ี อี งค์ความรู้ 9,840.- สำนกั งาน และจดั กจิ กรรมเผยแพรอ่ งค์ (งบพัฒนา กศน. หนังสือชุมชน ความร้ใู นชุมชน จังหวัด) จังหวัด ได้อย่างทั่วถงึ สิงห์บรุ ี 5.กจิ กรรม 1. ผ้สู งู อายุจังหวัดสิงห์บุรี อาสาสมัครส่งเสริม จำนวน 120 คน ไดร้ ับความรู้ และเกิดทกั ษะดา้ นการเล่น การอา่ น ดนตรีไทย(กลองยาว) 2.ผู้สูงอายุจงั หวัดสงิ ห์บุรี 13 โครงการแหล่งเรยี นรู้ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน กศน.ตำบล จำนวน 120 คน ได้รบั ความรู้ และเกิดทกั ษะด้านการพัฒนา ชุมชนในตำบล(กศน. แหลง่ เรียนรชู้ ุมชนในระดับ จำนวน 4 แห่ง อาชีพอยา่ งเหมาะสม 3.ผสู้ ูงอายจุ งั หวัดสงิ ห์บรุ ี ตำบล) ตำบล เป็นแหล่งศึกษาเรยี นรู้ จำนวน 120 คน ไดร้ ับความรู้ และเกิดทักษะดา้ นการ กิจกรรม แหล่งรวบรวมข้อมลู ข่าวสารท่ี ทำอาหารไทยโบราณ 1.การให้บรกิ าร ทันสมยั ครบถ้วน หนงั สือพิมพ์ ส่ือ หนังสือ เพ่ือการส่งการ อา่ นและการเรียนรู้ ของนักศึกษา และ ประชาชนทั่วไปภายใน กศน.ตำบล 2.การให้บริการ อนิ เตอร์เนต็ เพื่อศึกษา 3.การส่งเสริมการจัด กิจกรรมภายใน กศน. ตำบล 4.การรายงานผลการ ดำเนินงาน 14 โครงการยกระดบั 1.เพื่อสง่ เสริมการจดั ผูส้ งู อายจุ งั หวัด คุณภาพชีวติ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพกาย สิงหบ์ รุ ี ประชาชนในจังหวัด จิตใจ และอารมณ์ใหผ้ ู้สงู อายุ สงิ ห์บรุ ี เหน็ คุณค่าของตนเองอย่าง กจิ กรรมพลังผ้สู ูงวยั สรา้ งสรรค์ ร่วมใจพัฒนาสังคม 2. เพ่ือให้ผ้สู ูงอายุได้ฝกึ (กิจกรรมยอ่ ยพัฒนา ทกั ษะอาชพี เสริมรายได้ คุณภาพชวี ติ และ เสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ สรา้ งสังคมแห่งการ รวมทัง้ มโี อกาสในการทำ เรียนร้ผู สู้ ูงอายุจังหวดั กจิ กรรมร่วมกับผู้อ่ืนในชุมชน สงิ ห์บรุ ี) 3. เพอื่ สร้างสงั คมแห่งการ กิจกรรม เรียนรู้สำหรบั ผสู้ งู อายุ
41 ท่ี โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ช้วี ัดโครงการ งบประมาณ กลุม่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 1.กจิ กรรมผู้สูงวัย 4.ผู้สูงอายจุ ังหวัดสงิ ห์บุรี สร้างสขุ สนกุ ด้วย จำนวน 360 คน ใช้เวลาว่าง กลองยาว รว่ มกับผู้อ่ืนไดอ้ ย่าง สร้างสรรค์ เกิดรายได้ เหน็ 2.กจิ กรรมสืบสาน คณุ ค่าของตนเองและสามารถ อาหาร อนุรักษ์ไว้ให้ ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อยา่ ง ลกู หลานชิม มีความสุข 3.กจิ กรรมพัฒนา อาชีพสูงวยั สู่รายได้ 4.กิจกรรมย้อน วันวาน สขุ สำราญผู้สงู วยั 5. ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ส่งเสรมิ พฒั นาสารสนเทศ และระบบเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพอ่ื การสร้าง สงั คมแหง่ การเรียนร้คู นเมอื งสิงหบ์ รุ ี ท่ี โครงการ/กิจกรรม วตั ถุประสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ชีว้ ัดโครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 1. โครงการอบรม เพ่ือจัดอบรมครู 1.ครู ข จำนวน 6 วิทยากร ครู ข และ ...................- งาน การศึกษา ขยายผลการอบรม อาสาสมัคร กศน. และครู คน(กศน.อำเภอ วทิ ยากร ครู ค มีความรู้ นอกระบบ แกนนำ ครู ข และ กศน.ตำบล เรอ่ื ง การคา้ ละ 1 คน) ความเข้าใจในหลักสตู รที่ ครู ค ออนไลน์ จำนวน 2 2.ครู ต จำนวน เขา้ รับการอบรม และสา กิจกรรม หลักสตู ร ประกอบดว้ ย 43 คน(กศน. มารถา่ ยทอดความร้กู ับ 1. การอบรม 1)การตลาดและการสรา้ ง ตำบลละ 1 คน) ประชาชนได้ ขยายผลการอบรม มลู คา่ ให้กบั สินค้า 2)การโป แกนนำ ครู ข และ รโมทสินค้า ในการขยาย ครู ค โดยวทิ ยากร ผลให้ประชาชนในพนื้ ที่ ครู ก(ตวั แทน ตำบลไดอ้ ยา่ งมี สำนักงาน กศน. ประสทิ ธภิ าพ จังหวดั เขา้ รบั การ
42 ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เปา้ หมายของ ตัวชว้ี ัดโครงการ งบประมาณ กล่มุ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ อบรมวทิ ยากร ครู .................- งาน ก จดั โดยสำนกั งาน การศึกษา กศน.) นอกระบบ 2.การรายงานผล การจัดการอบรม 3.การติดตามผล การจากการอบรม เพอ่ื ให้มคี วามพร้อม กอ่ นการถา่ ยทอด ความรสู้ ู่ประชาชน กลุ่มเปา้ หมาย 2. โครงการอบรมให้ 1.เพื่ออบรมให้ความรู้ ประชาชนใน ประชาชนไดร้ ับความรู้ ความรู้ประชาชน ประชาชนด้านการ พน้ื ทีจ่ งั หวัด เรื่องการค้าขายออนไลน์ เพอ่ื พัฒนาทักษะ ประกอบธรุ กจิ การคา้ สิงห์บุรี จำนวน และสามารถนำความรทู้ ี่ การประกอบธรุ กิจ ออนไลน์ 1,032 คน ไดร้ บั ไปพัฒนาตอ่ ยอดใน การคา้ ออนไลน์ 2.เพอ่ื ให้ประชาชนที่ การสรา้ งรายได้ใหก้ ับ กิจกรรม ไดร้ บั การอบรมสามารถนำ ตนเองและครอบครวั ได้ 1.การอบรมให้ ความรูท้ ี่ได้รับไปพัฒนาตอ่ ความร้ปู ระชาชน ยอดการคา้ ขายสินคา้ ของ เร่อื ง การคา้ ตนเองได้ ออนไลน์ จำนวน 2 หลกั สตู ร ประกอบด้วย 1) การตลาดและการ สรา้ งมลู ค่าให้กับ สินคา้ 2)การโป รโมทสินค้า (จำนวนหลกั สตู รละ 12 คน/ตำบล) 2.การดำเนนิ การ ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การ อบรมเขา้ ร่วมศูนย์ OOCC กศน.อำเภอ
43 ที่ โครงการ/กจิ กรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตวั ช้ีวดั โครงการ งบประมาณ กลุ่มงาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ 3.การประกวด ผูท้ ำการคา้ ออนไลน์ ดเี ด่นระดับ กศน. อำเภอ และระดบั จงั หวดั 4.การส่งตอ่ ผู้คา้ ออนไลน์ยงั หนว่ ยงานอื่นเพื่อ พัฒนาต่อยอด 5.การติดตาม ประเมนิ ผล/การ รายงายผลทุกสิน้ ไตรมาส(ระบบ DMIS) 3. โครงการอบรม เพ่ือพัฒนาเว็บไซต์ บคุ ลากร ผผู้ า่ นการอบรมสามารถ ...................- งาน พฒั นาเว็บไซต์และ กศน.อำเภอ, กศน.ตำบล ผรู้ ับผิดชอบงาน นำความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปพัฒนา (งบเงิน สารสนเทศ อุดหนุน) การจดั ทำข้อมลู ให้มีข้อมลู สารสนเทศที่ สารสนเทศ เว็บไซต์ กศน.อำเภอ และ และการ รายงาน สารสนเทศ ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น และเป็น กศน.อำเภอและ กศน.ตำบล ให้ใหม้ ีขอ้ มลู กจิ กรรม ปัจจุบัน กศน.ตำบล สารสนเทศทถ่ี ูกตอ้ ง 1.การอบรม ครบถ้วน และเป็นปจั จุบนั พัฒนาการจดั ทำ เว็บไซต์ 2.การจัดทำ ขอ้ มูลในเวบ็ ไซต์ให้ มคี วามครบถ้วน และเปน็ ปจั จุบนั 4. โครงการจัดทำส่ือ เพือ่ จัดกิจกรรมพฒั นา ส่ือวดิ ีโอแหลง่ แหลง่ เรยี นรไู้ ดร้ บั การ งาน อัธยาศัย แหลง่ เรยี นรู้ คุณภาพผ้เู รยี นทส่ี อดคล้อง เรียนรู้ จำนวน 4 ส่งเสรมิ ประชาสัมพันธ์ สง่ เสริมการพัฒนา กับจุดม่งุ หมายของ เรื่อง อยา่ งทว่ั ถงึ อาชพี ในชุมชน หลกั สตู รการศึกษานอก กจิ กรรม ระบบระดบั การศึกษาขั้น 1.การคัดเลือก พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 แหลง่ เรยี นรู้ กศน. เพอ่ื พัฒนา ให้ผู้เรยี นมี
44 ที่ โครงการ/กิจกรรม วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายของ ตัวช้วี ัดโครงการ งบประมาณ กลมุ่ งาน โครงการ (บาท) รับผิดชอบ ตำบลละ 1 แห่ง คุณธรรม จรยิ ธรรม มี เพอ่ื จัดทำสื่อวดิ โี อ/ สตปิ ัญญา มีคณุ ภาพชีวติ ที่ สอื่ หนังสือแหล่ง ดี มีศกั ยภาพในการศึกษา เรยี นรู้ประจำตำบล ตอ่ การประกอบอาชีพ (แหลง่ เรียนรูด้ ้าน และ การเรยี นร้อู ยา่ ง ปรัชญาเศรษฐกจิ ต่อเน่ืองซ่งึ เปน็ คุณลกั ษณะ พอเพยี ง,ด้านอาชีพ อังพงึ ประสงค์สอดคลอ้ ง ,วฒั นธรรม, ภมู ิ กับทกั ษะการเรยี นรูใ้ น ปัญญา) ศตวรรษที่ 21 2.การจัดทำส่ือ แหล่งเรยี นรวู้ ิดโี อ/ หนงั สอื โดยครู กศน.ตำบล 3.การเผยแพรส่ ่อื วิดีโอ
45 6. ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ท่ี โครงการ/ วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของ ตัวชี้วดั โครงการ งบประมา กลุ่มงาน กิจกรรม โครงการ ณ(บาท) รับผิดชอ บ 1 โครงการประชมุ 1. เพ่อื เพิม่ สมรรถนะใน ผู้บรหิ ารและ 1.การบรหิ ารงาน 156,000.- งาน การศกึ ษา ผู้บรหิ ารและ การปฏบิ ัติงาน การวางแผน บคุ ลากรในสงั กัด การศึกษาตามนอกระบบ (งบเงนิ อดุ หนนุ ) ตาม บคุ ลากรสำนักงาน การทำงานอย่างมี สำนักงาน กศน. และการศึกษาตามอัธยาศยั อธั ยาศัย กศน.จงั หวัด ประสิทธภิ าพ และการ จงั หวดั สิงห์บุรี เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สิงหบ์ ุรี กำกบั ตดิ ตามงานการศึกษา 2.ร้อยละของสถานศึกษา กิจกรรม นอกระบบและการศกึ ษา มกี ารกำกับติดตามผลการ 1.การจัดประชุม ตามอธั ยาศยั จังหวัดสิงห์บุรี ดำเนินงานตามนโยบาย ผ้บู รหิ ารและ 2. เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้ อยา่ งครบถ้วน บุคลากร เดือนละ 1 ข้อมลู การดำเนินงานของ 3.ร้อยละการเบิกจ่าย ครง้ั บุคลากรในการพฒั นางาน งบประมาณเปน็ ไปตาม (สปั ดาห์แรกของ ของสำนักงาน กศน.จงั หวดั เปา้ หมายที่กำหนด เดือน) สงิ หบ์ รุ ใี ห้เกดิ ประสิทธภิ าพ 2.การประชุม ในการปฏิบตั งิ านไดอ้ ยา่ ง สัญจร สงู สดุ (ตามกำหนดการ) 3.การรายงานผล การประชุม สำนกั งาน กศน. 2 โครงการจัดทำ 1. เพ่ือให้บคุ ลากรของ ผูบ้ ริหารและ 1.รอ้ ยละ 80 ของ 42,300.- ยทุ ธศาสตร์ แผนปฏบิ ตั ิการ สำนกั งาน กศน. จงั หวดั บุคลากรในสังกัด ผเู้ ข้าร่วมโครงการสามารถ และการ ประจำปี และสถานศึกษาในสงั กดั ทกุ ทกุ คน วเิ คราะหแ์ ผนงาน โครงการ (งบเงนิ พฒั นา งบประมาณ พ.ศ. แห่ง ได้ร่วมออกแบบการ กจิ กรรม ทเ่ี หมาะสมสูก่ าร อดุ หนุน) 2562 จดั กิจกรรม วเิ คราะห์ จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร กิจกรรม แผนงาน โครงการ ตาม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 1.การประชุม ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การ 2561 ของสถานศึกษาและ ช้ีแจงแนวทางการ ดำเนินงาน ทีส่ อดคล้องกับ สำนกั งาน กศน.จังหวัด ดำเนนิ งาน ความตอ้ งการของประชาชน สงิ ห์บุรีอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ประจำปบี ประมาณ ในพ้ืนท่ี และสามารถ ได้ พ.ศ. 2562 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษา
46 ที่ โครงการ/ วตั ถุประสงค์ เป้าหมายของ ตัวช้ีวัดโครงการ งบประมา กลุ่มงาน กิจกรรม โครงการ ณ(บาท) รับผดิ ชอ บ 2.การดำเนินการ นอกระบบและการศึกษา 2. ร้อยละของผ้เู ข้าร่วม จัดทำร่าง ตามอัธยาศยั ไดอ้ ย่างมี โครงการสามารถนำความรู้ แผนปฏบิ ัติการ ประสทิ ธิภาพสงู สุด ท่ไี ดร้ บั จากการทำ กศน.อำเภอ/ตำบล 2.เพอ่ื จดั ทำแผนปฏบิ ัติ แผนปฏบิ ัติการประจำปี 3.การดำเนนิ การ การประจำปีงบประมาณ งบประมาณ พ.ศ. 2562 มา จัดทำรา่ ง พ.ศ. 2562 ของสำนกั งาน ปรบั ใช้ในการจัดทำ แผนปฏิบัติการ กศน.จังหวัดสงิ หบ์ ุรี เปน็ แผนปฏบิ ัติการ กศน.อำเภอ สำนกั งาน กศน. แผนหลกั ทก่ี ำหนดทศิ ทาง และแผนปฏิบัตกิ าร กศน. จงั หวัดสงิ ห์บรุ ี ในการดำเนินงานของ ตำบล ได้อยา่ งมี 4.การประชมุ สถานศกึ ษาในสงั กดั ทุกแห่ง ประสิทธภิ าพ พจิ ารณาร่าง ทีม่ ีความชัดเจน ครบถ้วน แผนปฏิบตั กิ าร และเปน็ แผนทส่ี ามารถ 5.การนำเสนอร่าง นำมาสู่การปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ แผนปฏบิ ตั ิการต่อ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด คณะกรรมการ กศน. จังหวดั สิงห์บรุ เี พอื่ เหน็ ชอบแผน 6.การเผยแพร่ แผนปฏิบตั กิ ารและ การนำแผนไปส่กู าร ปฏิบัติ 7.การประเมิน แผนปฏบิ ตั กิ าร 3 โครงการจัดทำ 1.เพ่ือจดั ทำฐานขอ้ มูล 1.เจา้ หนา้ ท่ี 1.ขอ้ มูลพ้นื ฐาน กศน. 7,000.- ยทุ ธศาสตร์ และการ แผนปฏบิ ัตกิ าร พ้นื ฐาน กศน.ตำบลให้มี แผนงาน กศน. ตำบลมีความถกู ต้อง (งบเงนิ พฒั นา อุดหนุน) กศน.ตำบลและ ความถกู ต้อง ครบถว้ น และ อำเภอ ครบถว้ น และเปน็ ปัจจุบนั ข้อมูล กศน.ตำบล เปน็ ปัจจบุ นั 2.ครู กศน. ตำบล 2.โครงการ/กิจกรรมใน (DMIS) ประจำปี 2.เพ่อื จัดทำโครงการ/ ระบบ DMIS ของทุก กศน. 2562 กิจกรรมในระบบ DMIS ตำบล มคี วามครบถ้วนและ กจิ กรรม อยา่ งครบถ้วนและถกู ต้อง ถกู ต้อง 1.การจดั ทำ 3.เพอ่ื ให้การงานผลการ 3.สถานศึกษา และ กศน. ฐานขอ้ มูลพ้นื ฐาน ดำเนินงานโครงการ/ ตำบลทุกแห่งมีการรายงาน
Search