จงั หวดั สงขลา Songkhla
เลา่ ประวตั ิ จงั หวัดสงขลา ตั้งอย่ฝู ่ ังตะวนั ออกของ ประเทศไทยมาแต่สมัย โบราณ มีชมุ ชนโบราณ และเมอื งเก่าแก่ ปรากฏคร้ังแรกในบันทึก ของ พ่อค้า และนกั เดนิ เรอื ชาวอาหรบั -เปอรเ์ ซยี ระหว่าง พ.ศ. 1993-2093 ในนามของเมือง ซิงกูร์ หรอื ซงิ กอร่า แตใ่ นหนังสือ ประวตั ศิ าสตร์ ธรรมชาติ และการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม ของนายกโิ ลลาส แซรแ์ วส เรียกชอ่ื เมืองสงขลา ว่า \"เมอื งสงิ ขร\" จงึ มกี ารสนั นิษฐานวา่ คาวา่ สงขลาเพี้ยนมาจากชอ่ื \"สงิ หลา\" (อา่ น สิง-หะ-ลา) หรือสิงขรแปลว่า เมอื งสิง
เลา่ ประวัติ เหตุผลที่สงขลามีชื่อว่า สิงหลา สืบเนื่องมาจากพ่อค้าชาวเปอร์เซีย อินเดีย แล่นเรือมาค้าขาย ไดเ้ หน็ เกาะหนู เกาะแมว เม่ือมองแต่ไกลจะเห็นเป็นรปู สงิ ห์ สองตัวมอบเฝา้ ปากเมืองทางเข้าเมืองสงขลา จึงเรียกเมืองน้ีว่า สิงหลา ส่วนคนไทย เรียกว่า เมืองสทิง เม่ือมาลายูเข้ามาติดต่อค้าขายกับเมืองสทิง ก็เรียกว่าเมืองสิงหลา แต่ออกเสียงเพี้ยนเป็นเซ็งคอรา เม่ือฝร่ังเข้ามา ค้าขาย เรียกว่า เซ็งคอรา ตามมาลายูแต่เสียงเพ้ียนเป็นสาเนียงฝรั่งคือ ซิงกอร่า(Singora) ไทยเรียกตามเสียงมาลายูและฝรั่งเสียงเพี้ยนเป็น สงขลา อีกเหตุผลหน่ึงอ้างว่า สงขลา เพี้ยนมาจาก “สิงขร” แปลว่า ภูเขา โดยอา้ งว่าเมอื งสงขลาตั้งอยบู่ รเิ วณเชิงเขาแดง ต่อมาได้มีการพระราชทาน นามเจา้ เมืองสงขลาว่า “วเิ ชียรครี ี” ซึ่งความหมายสอดคล้องกับลักษณะภูมิ ประเทศ
เลา่ ประวัติ เม่ืออดีตราว 200 ปีก่อน ตัวเมืองสงขลา ต้ังอยู่ทางฝ่ ัง ตะวันตกของทะเลสาบ เรียกว่า \"เมืองสงขลาฝ่ ั งแหลมสน จนกระทั่งในปี พ.ศ.2385 จึงขยายตัวมาฝ่ ังตะวันออก บริเวณ ตาบลบอ่ ยาง เรยี กวา่ \"เมืองสงขลาฝ่ ังบอ่ ยาง เรม่ิ แรกมถี นนสอง สาย คือ “ถนนนครนอก” เป็นถนนเส้นนอกติดกับทะเลสาบ และ “ถนนนครใน” เป็นถนนเส้นในเมือง ต่อมามี การตัดถนนสายที่ สามเรียกว่า “ถนนเก้าห้อง หรือย่านเก้าห้อง เพื่องานสมโภชเสา หลกั เมอื ง และเรียกกนั วา่ \"ถนนนางงาม”
ลักษณะทางกายภาพ จังหวัดสงขลาต้งั อยฝู่ ่ ังตะวนั ออกของภาคใต้ตอนลา่ ง ท่ตี งั้ และอาณาเขต ระหว่างละติจูดที่ 6 17' - 7 56' องศาเหนือลองจิจูด 100 01' - 101 06' องศา ตะวันออก สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 4 เมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ตาม เส้นทางรถไฟ 947 กิโลเมตร และทางหลวงแผ่นดิน 950 กิโลเมตร จังหวัด สงขลามีพ้ืนที่ 7,393.889 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,621,180 ไร่ มีขนาด เป็นอันดับ 27 ของประเทศ และใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของภาคใต้ มีอาณาเขตติดต่อ กบั จงั หวัดใกลเ้ คียง ดังน้ี ทิศเหนอื ติดต่อกับ จังหวัดนครศรีธรรมราชและจงั หวัดพัทลงุ ทิศตะวันออก ตดิ ต่อกับ อา่ วไทย ทศิ ใต้ ติดตอ่ กบั จังหวดั ยะลา จงั หวดั ปัตตานี รัฐเคดารแ์ ละรัฐเปอร์ลสิ ของมาเลเซยี ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับ จังหวัดพัทลงุ และจงั หวัดสตลู
ลักษณะทางกายภาพ ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ทางตอนเหนือเป็ นคาบสมุทร แคบและยาวย่ืนลงมาทางใต้เรียกว่า คาบสมุทรสทิงพระ กับส่วนท่ีเป็น แผ่นดินรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้าทางตอน ใต้ แผ่นดินทั้งสองส่วนเช่ือมต่อกัน โดยสะพานติณสูลานนท์ พ้ืนท่ีทาง ทิศเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ทิศ ตะวันออกเป็นที่ราบริมทะเล ทิศใต้ และทิศตะวันตกเป็นภูเขาและท่ีราบ สงู ซ่ึงเป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธาร ทส่ี าคัญ
ลกั ษณะทางกายภาพ จงั หวดั สงขลาตงั้ อยูใ่ นเขตอทิ ธพิ ลของมรสุมเขตร้อนมีมรสุมพัด ลกั ษณะทางภูมิอากาศ ผ่านประจาทกุ ปี คอื มรสุมตะวันตกเฉยี งใต้ และ มรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ จากการพัดผ่านของมรสมุ ท่ีมีแหล่งกาเนิดจากบริเวณแตกต่างกันทาให้จังหวัดสงขลา มี 2 ฤดู คอื ฤดูร้อน เริ่มต้ังแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ระยะน้ีเป็นช่องว่าง ระหว่างฤดมู รสุมหลังจากส้ินฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวแล้ว อากาศจะเร่ิม ร้อนและมอี ากาศรอ้ นจดั สุดในเดอื นเมษายน ฤดฝู น แบ่งออกเป็น 2 ระยะ - ฤดูฝน จากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ฝน เคลื่อนตัวมาจากด้านตะวันตก (ทะเลอันดามัน) ส่วนมากฝนตกในช่วงบ่ายถึงค่าปริมาณ และการกระจายของฝนจะนอ้ ยกว่าช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนอื - ฤดูฝน จากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ฝน เคล่ือนตัวมาจากด้านตะวนั ออก (อา่ วไทย) ฝนจะตกชกุ หนาแนน่
ลักษณะทางกายภาพ การคมนาคม มีเส้นทางทีใ่ ช้ในการเดนิ ทาง ไดแ้ ก่ ทางรถยนต์ ทางรถไฟ ทางเรือ และทางเครอ่ื งบิน แตจ่ ะใช้การเดนิ ทางโดยรถยนต์เป็นหลัก รถยนต์ส่วนตัว จากกรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 4 ผ่านประจวบคีรีขันธ์-ชุมพรสุราษฎร์ ธาน-ี นครศรธี รรมราช-ตรงั -พัทลงุ -สงขลา รวมระยะทาง 950 กิโลเมตร รถโดยสารประจาทาง บริษทั ขนสง่ จากดั มรี ถโดยสารประจาทาง กรุงเทพฯ-หาดใหญ่ และกรุงเทพฯ-สงขลาบรกิ ารทุกวนั ใชเ้ วลาเดินทางประมาณ 13 ชว่ั โมง รถไฟ มรี ถไฟผา่ นวนั ละ 22 ขบวน มีสถานีจอดรถ 7 สถานีเส้นทางรถไฟในจังหวัดระยะทางยาว 160 กโิ ลเมตร เครื่องบิน จังหวัดสงขลามีท่าอากาศยานหาดใหญ่ซ่ึงเป็นสนามบินนานาชาติมีสถานที่ต้ังอยู่ใน พ้ืนที่อาเภอคลองหอยโข่ง ห่างจากตัวเมืองหาดใหญ่ ระยะทาง 12 กิโลเมตร และยังมีสนามบิน สงขลาตงั้ อยู่ในเขตเทศบาลนครสงขลา อยใู่ นความรับผิดชอบของกองทพั เรือ
การแบ่งเขตการปกครอง จงั หวัดสงขลา ประกอบดว้ ย 16 อาเภอ ดงั ต่อไปนี้ 1 อาเภอเมืองสงขลา 9 อาเภอรัตภมู ิ 2 อาเภอสทิงพระ 10 อาเภอสะเดา 3 อาเภอจะนะ 11 อาเภอหาดใหญ่ 4 อาเภอนาทวี 12 อาเภอนาหม่อม 5 อาเภอเทพา 13 อาเภอควนเนียง 6 อาเภอสะบา้ ยอ้ ย 14อาเภอบางกล่า 7 อาเภอระโนด 15อาเภอสิงหนคร 8 อาเภอกระแสสินธ์ุ 16 อาเภอคลองหอยโข่ง
การนับถือศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 63.85 นับถือศาสนาพุ ทธ รองลงมาร้อยละ 33.02 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 3.13 นับถือศาสนาอ่ืน ๆ (ศาสนา คริสต์ฮนิ ดู) การนบั ถอื ศาสนา 3% 33% 64% พระพุทธศาสนา ศาสนาอิสลาม ศาสนาอ่ืนๆ
ตราประจาจงั หวดั สงขลา รูปหอยสังข์บนพานแว่นฟา้ หมายถึง รูปหอยสังข์ซึ่งยังค้นหา หลักฐาน ของความหมายไดไ้ ม่แนช่ ัด แตบ่ ุคคลบางคนบอกท่ีมาของตราประจาจังหวัด น้ีว่า เดิมเคยเป็นตรากระดุมเส้ือฉลองพระองค์ ของกรมหลวงสงขลา นครินทร์ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์อดุยเดชวิกรมบรมชนกนาถ ต่อมากรม ศิลปากร ออกแบบตราสังขใ์ ชเ้ ป็นเครื่องหมายตราจงั หวดั สงขลา
ตน้ ไมแ้ ละดอกไม้ประจาจังหวดั ต้นสะเดาเทยี ม ดอกเฟ่ อื งฟา้ (ต้นไม้ประจาจังหวัด) (ดอกไมป้ ระจาจงั หวดั )
คาขวญั ประจาจงั หวดั \"นกน้าเพลนิ ตา สมิหลาเพลินใจ เมอื งใหญส่ องทะเล เสนห่ ส์ ะพานปา๋ ศูนยก์ ารคา้ แดนใต\"้
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: