รายงานการพัฒนาผลสมั ฤทธโ์ิ ดยใชผ้ ังมโนทัศน์ เร่ือง การจดั การภัยพบิ ัติ วชิ าสังคมศกึ ษา 6 ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ โดย นายอินทรวตั สวุ รรณเพชร ตาแหนง่ ครู รายงานการวจิ ยั เลม่ นเี้ ป็นส่วนหนง่ึ ของการวิจัยในช้นั เรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่
รายงานการพัฒนาผลสัมฤทธิโ์ ดยใชผ้ งั มโนทัศน์ เรอ่ื ง การจัดการภยั พิบัติ วิชาสังคมศกึ ษา 6 ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จงั หวัดกระบี่ โดย นายอินทรวตั สวุ รรณเพชร ตาแหน่ง ครู รายงานการวิจยั เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจยั ในชั้นเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่
บทคดั ย่อ ชอ่ื รายงานการวิจัย : รายงานการพัฒนาผลสัมฤทธโิ์ ดยใชผ้ งั มโนทัศน์ เรื่อง การจดั การภยั พบิ ัติ วชิ าสงั คมศกึ ษา 6 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๗ จงั หวัดกระบ่ี ชือ่ ผูว้ จิ ยั : อินทรวตั สวุ รรณเพชร ปที ที่ าการวิจยั : ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 .......................................................................................................................... ในการศกึ ษาครง้ั น้ีมีวัตถุประสงค์ของการศึกษาคือ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโนทัศน์ เร่ือง การจัดการภัยพิบัติ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 2) เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ก่อนการทดลองกับหลังการ ทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบ่ี อาเภอ เขาพนม จังหวัดกระบี่ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 35 คน โดยการกาหนดแบบเจาะจง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษา ครั้งน้ี ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง การจัดการภัยพิบัติ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 จานวน 5 แผน เวลาเรียน 5 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน กอ่ นเรยี นและหลงั เรียนเรื่อง การจัดการภัยพิบัติ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียน ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 30 ข้อ ผลการศึกษามดี งั น้พี บว่า แผนการจัดการเรยี นรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ผังมโนทัศน์ เร่ือง ภูมิศาสตร์ น่ารู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 มีประสิทธิภาพสามารถใช้ในการ จัดการเรียนรู้ได้ มีค่า IOC โดย เฉล่ีย (X) เท่ากับ 0.85 สูงกว่า 0.50 ซึ่งแสดงว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทาข้ึนมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ท่ีดี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรยี นวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเรอื่ ง การจดั การภัยพิบัติโดยใช้ผังมโนทัศน์ ของนักเรียนหลังได้รบั การจดั การเรยี นรู้ โดยใชผ้ ังมโนทัศนน์ กั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขึ้น แตกต่างกัน อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01
กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง การจัดการภัย พิบัติ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 เลม่ น้ีได้รับความกรณุ าจากผ้อู านวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ และ หัวหน้างานวิจัยในชั้นเรียน ที่ได้ให้คาแนะนา ข้อคิด ข้อเสนอแนะในการทางานเป็นอย่างยิ่ง ทาให้ผลงาน การศึกษาเลม่ น้ีสาเรจ็ ลงด้วยดี ขอขอบพระคณุ เปน็ อย่างอยา่ งย่งิ ขอขอบพระคุณ ครูทุกคนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบ่ี ที่ได้ให้ความรู้เก่ียวกับศาสตร์ด้านสังคมศึกษา และแนะนา เสนอแนะการ จัดการเรียนการสอนในการนาแผนผงั มโนทศั นไ์ ปใช้กับนักเรียน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพและพัฒนาผลสัมฤทธิ ทางการเรียนให้นักเรียนไดส้ งู ขนึ้ ขอขอบพระคุณ อนิ ทรวตั สวุ รรณเพชร 30 มนี าคม 2564
บทที่ 1 บทนา จากการศึกษาเป็นเคร่ืองมือที่มีความสาคัญและมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดในการพัฒนามนุษย์ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่3) พ.ศ.2553 เป็นกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติจึงได้กาหนดความมุ่งหมายและหลักการของการจัด การศึกษา ต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่รวมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและใน กระบวนการเรียนรูต้ อ้ งมุ่งปลกู จติ สานึกท่ถี ูกตอ้ งเกยี่ วกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิหน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอ ภาคและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของ ประเทศชาติรวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติการกีฬา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และความรู้อนั เปน็ สากล ตลอดจนอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีความสามารถในการประกอบ อาชีพ รู้จักพึ่งตนเองมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง(กระทรวงศึกษาธิการ ,2546) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียน คือ ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเองมีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้อันเป็นสากล และมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสัยและรักการออกก าลังกาย มีความรักชาติมีจิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็น ประมุข มีจิตสานึก ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มจี ิตสาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงทด่ี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสขุ ในปจั จบุ นั สถานการณ์ท้งั ด้านการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคมที่มีการเปลีย่ นแปลงไปรวดเร็ว ซ่ึงสะท้อน ให้เห็นว่า การศึกษามีความสาคัญมาก โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้มีคุณธรรมและมีความ รอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทัน การเปล่ียนแปลงเพ่ือนนาไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างม่ันคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็ก และเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็น
ในการดารงชีวิตอันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2549) ซ่ึงแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับกรอบและแนวทางในการพัฒนาเยาวชนของชาติที่จะเข้าสู่โลกยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยมุ่ง 6 เสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์นวัตกรรม มี ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถทางานรว่ มกบั ผู้อนื่ และสามารถอย่รู ่วมกับผูอ้ ื่นในสงั คมโลกได้อย่างสันติ วิธีการเรียนรู้ ความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและการมี ทักษะชีวิต ต้องมีการปรับเปล่ียนให้ทันกับสถานการณ์ใหม่ๆอยู่เสมอ ดังคากล่าวที่ว่า ผู้เรียนเป็นศูนย์ และ จะต้องเรียนด้วยความเข้าใจ โดยผู้เรียนต้องมีความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้องตลอดจนการ เลอื กใช้วธิ กี ารส่อื สารทมี่ ีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถึงผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสังคม มีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือน า ไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศเพอ่ื การตัดสนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสงคมได้อยา่ งเหมาะสม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นหน่ึงในแปดกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ สถานศึกษาต้องใช้เป็นหลักในการจัดการเรียนการสอน และเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนทุกคนในระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาต้องเรียนใน 5 สาระหลัก ดังน้ีสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระหน้าท่ี พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม สาระเศรษฐศาสตร์สาระประวัติศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ (กรมวิชาการ, 2551) ซ่ึงโดยธรรมชาติวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็น วิชาที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดลอมทั้งทางธรรมชาติและสังคม มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักการ ปรับตัวให้สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทั้งทางธรรมชาติและสังคม มุ่งให้ผู้เรียนรู้จักการปรับตัวให้ เข้ากับสภาพแวดล้อมน้ัน ผู้เรียนจะต้องรู้จักการพัฒนากระบวนการเรียนรู้โดยรู้จักการคิดวิเคราะห์คิด สงั เคราะห์มวี ิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์สามารถเผชิญสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในชีวิตประจาวันได้โดยเรียนรู้ด้วยวิชาการที่หลากหลายเรียนรู้จากข้อมูล ข่าวสารทั้งภายนอกหอ้ งเรียนและภายในห้องเรียน ซึ่งเป็นความรู้ใหม่ๆ ท่ีเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองและจาเป็นต้อง แสวงหาความรู้ตลอดเวลา โดยใช้เทคโนโลยีและสื่อ สารสนเทศต่างๆได้อย่างเป็นประโยชน์ผู้เรียนสามาร ถ เรียนรู้แก้ปัญหาที่เกิดข้ึนด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้จักทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะตามระบอบ ประชาธปิ ไตยบนพ้นื ฐานของหลกั คุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มอันพงึ ประสงค์ การจัดการเรียนการสอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ให้ผู้เรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐาน การศกึ ษา ครูผสู้ อนเป็นผู้มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่ง จึงต้องรู้จักนาวิธีการสอนหรือเทคนิคการสอนที่หลากหลาย
มาใชใ้ นการเรยี นการสอน ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความ สนใจและความถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และจะต้องรู้วิธีการฝึกผู้เรียนให้มีทักษะ การคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้(กรมวิชาการ, 2551) และการจัดการ เรยี นรคู้ วรเน้นการเรยี นรู้ตามสภาพจริง การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้จากธรรมชาติการ เรยี นร้จู ากการปฏิบัติจรงิ และการเรียนรแู้ บบบูรณาการ(กรมวชิ าการ,2545) จะเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจ และเอาใจใส่ต่อบทเรียนมีความเข้าใจในบทเรียนดียิ่งขึ้นจากสภาพการจัดการเรียนการสอนของนักเรียน รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบ่ี ท่ีผ่านมายังไม่ ประสบผลสาเรจ็ ตามความมุ่งหมายเท่าท่คี วร กล่าวคือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ต่ากว่าเกณฑท์ ่ีโรงเรียนกาหนด ดังนั้น ครูผู้สอน จะต้องแสวงหาวิธีการสอนท่ีจะช่วยให้ ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นรากฐานที่สาคัญสาหรับการศึกษาตลอดชีวิต การจัดการ เรยี นการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ คือ การ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยจัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ ไว้อย่างเหมาะสมและเพียงพอ(วิมลรัตน์สุนทรโรจน์,2549) ซ่ึงสอดคล้องงานวิจัยของ อัญชลี ตนานนท์; และ คณะ(2542) ไดศ้ ึกษาผลของการใช้แผนภูมิมโนทัศน์ในการสรปุ บทเรียนที่มตี อ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน โดยการ พัฒนาแผนการสอนเพ่ือเสริมทักษะการคิดในหลักสูตรโรงเรียนมัธยมศึกษา วิชาสังคมศึกษา ภาษาไทย วทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์ภาษาอังกฤษ และภาษาฝร่ังเศสผลการวิจัยพบว่า การสอนโดยใช้แผนภูมิมโนทัศน์ใน การสรุปบทเรียนทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนดีข้ึน ภัทราภรณ์ พิทักธรรม (2543) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ทไี่ ด้รบั การสอนแบบสืบเสาะหาความรโู้ ดยใชก้ จิ กรรมสร้างแผนภูมิมโนทัศน์กับการสอนตาม คู่มือครูผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้กิจกรรมสร้างแผนภูมิมโนทัศน์ กับการสอนตามคู่มือครูมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ศิริพร ทรุเครือ (2544) ศึกษาผลของการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความคงทนในการเรียนรู้กลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณ์ชวี ิตของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ผลการวิจัยพบว่า นกั เรยี นที่ไดร้ บั การเรียนแบบร่วมมือโดยใช้แผนผังมโนทัศน์มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและมีความคงทนในการ เรียนร้สู ูงกว่านักเรียนท่ีไดร้ ับการสอนตามปกติอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01การศึกษางานวิจัยดังกล่าว จากผลของการวิจัยจะพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์(Mind Mapping) ดังกล่าว สามารถ พัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นจนทาให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน ดังนั้น ผู้ศึกษาวิจัยจึงสนใจท่ีจะนาวิธีการ นม้ี าทดลองสอนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 เพอื่ ศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผังมโนทัศน์อีกทั้งเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ให้มปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป
จุดมุ่งหมายของงานวิจยั 1. เพ่ือหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ ชดุ แบบฝกึ เติมคา Mind Mapping เร่ือง “การจดั การภัยพบิ ตั ิ”ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง การจัดการภัย พบิ ัติ ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 กอ่ นการทดลองกับหลังการทดลอง สมมตฐิ านการวจิ ัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เร่ือง “ภูมิศาสตร์น่ารู้”ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 จะมีมีประสิทธิภาพมากกว่า (80/80) สามารถทาให้นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสงู ข้ึนได้ 2. นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ทไ่ี ด้รบั การจดั การเรียนรรู้ ายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรอ่ื ง “ภมู ิศาสตรน์ ่ารู้” โดยใช้ชดุ แบบฝกึ เตมิ คา Mind Mapping จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขึน้ ขอบเขตของการวิจยั 1. พน้ื ที/่ สถานทีศ่ ึกษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จงั หวัดกระบี่ อาเภอเขาพนม จงั หวดั กระบี่ 2. ระยะเวลาที่ศึกษา ระยะเวลาท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้การทดลองใช้เวลาใน ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2563 จานวน 5 คาบเรยี น 3. ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง 1. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ประชากรท่ีใช้ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ อาเภอเขาพนม จังหวัดกระบ่ี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 1 หอ้ งเรยี น 2. กลมุ่ ตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ อาเภอเขาพนม จังหวัดกระบี่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 33 คน โดยการเลือกแบบเจาะจงเพราะเป็นห้องเรียนท่ีมีผลการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมไม่ค่อยดเี ท่าท่ีควรเน่อื งจากขาด สมาธใิ นการเรยี น ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการวิจยั 1.ตัวแปรตน้ ได้แก่ การจัดการเรียนรรู้ ายวิชาสงั คมศึกษา เรื่อง การจัดการภัยพิบัติ โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping 2.ตวั แปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาสงั คมศึกษา เรอื่ ง การจัดการภัยพิบัติ
ขอ้ ตกลงเบอ้ื งต้น 1. ผู้สอนทาการวิเคราะห์ผู้เรียน และวางแผนในการกาหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ในห้องเรียน ใน กล่มุ ของ ผูเ้ รียน 2. ความพร้อมต่อการเรียนรู้ ความสนใจและพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ตามสถานการณ์หรอื บรบิ ทการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั 1. ได้แนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง “การจัดการภัยพิบัติ” ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โดยใช้ชุดแบบฝึกเตมิ คา Mind Mapping 2. ค้นพบรูปแบบการวิจัยในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง “การจัดการภัยพิบัติ” ของนกั เรียนชั้น ม.6/1 3. ได้แนวทางพัฒนาประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม เรื่อง “การจดั การภยั พบิ ตั ิ” ของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 นิยามศพั ท์เฉพาะ 1. Mind Mapping หมายถงึ การถา่ ยทอดความคิด หรือขอ้ มูลต่างๆที่มอี ยใู่ นสมองลงในกระดาษ โดย การใช้ภาพ สี เส้นและการโยงใยแทนการจดย่อแบบเดมิ ท่เี ป็นบรรทดั เรียงจากบนลงล่าง 2. วิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียน การสอนที่ผู้ศึกษานาการใช้ชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping มาจัดกิจกรรมระดมความคิดโดยผ่าน กระบวนการอ่านแล้วถ่ายทอดโดยการเติมคาลงใน Mind Mapping ส่วนที่หายไปมีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ดังน้ี ขั้นท่ี 1 ครูบอกช่ือเร่ืองท่ีกาหนดให้นักเรียนอ่าน และสนทนาเก่ียวกับชื่อเร่ือง เพื่อสร้างความสนใจ และโยง ประสบการณ์เดิมของนักเรียนกับเร่ืองท่ีอ่าน ครูเขียนประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคนเป็น Mind Mapping ข้นั ท่ี 2 นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้เรอ่ื ง Mind Mapping ขนั้ ท่ี 3 นักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 5 คน อ่านเน้ือเรื่องทีละตอน สรุปสาระสาคัญและรายละเอียดของ เร่ืองจาก คาถาม เช่น เรื่องน้ีเป็นเรื่องเก่ียวกับอะไร ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้าคืออะไร มีข้อความใด สนับสนุนบ้าง แล้วถ่ายทอดลงใน Mind Mapping ส่วนท่ีหายไปตัวแทนกลุ่มอธิบาย Mind Mapping ท่ีเขียน ขนึ้ ครู เสนอแนะเพมิ่ เติม
ขน้ั ท่ี 4 นกั เรียนศกึ ษาเนือ้ หาความรู้ เรอ่ื ง “ภมู ิศาสตร์นา่ รู้” ขัน้ ท่ี 5 นักเรียนทบทวนความรูร้ ่วมกันโดยใช้Mind Mapping และอภิปรายของเรื่องท่ไี ด้อา่ น ขน้ั ท่ี 6 ครูกาหนดเรอื่ งท่ีจะใหน้ กั เรียนเขียนโดยแบ่งกลุม่ ๆละ5 คน ขั้นที่ 7 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเน้ือหาเติมส่วนท่ีหายไปเป็น Mind Mapping ครูตรวจแก้ไข นกั เรยี นนาไป ปรบั ปรงุ ขั้นท่ี 8 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มเขียนสรุปเรื่อง“ภูมิศาสตร์น่ารู้” จาก Mind Mapping แต่ละกลุ่มนาเสนอ ผลงาน ครูและนกั เรยี นรว่ มกันพิจารณาแก้ไข 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง “ภูมิศาสตร์น่ารู้” หมายถึง ความสามารถของนักเรียนด้าน ความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนท่ี วัด จากคะแนนการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง “ภูมิศาสตร์น่ารู้” แบบปรนัยเลือกตอบ จานวน 30 ข้อ ท่ผี ้ศู ึกษาสร้างขึน้
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ในการศึกษาคร้ังนี้ผู้ศึกษาได้ศึกษาและค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือเป็นแนวทางใน การศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง “การจัดการภัยพิบัติ”ของ นักเรียนชั้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping ตามลาดับดงั นี้ 1. เอกสารหลักสตู ร 1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 1.2 สาระการเรียนรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม พ.ศ. 2551 1.3 เอกสารเกี่ยวกับหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส31103 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ปรับปรงุ 2556) ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 2. เอกสารที่เกย่ี วกบั เนื้อหาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่อื ง ภูมิศาสตร์ 2.1 สังคมศึกษาฯ 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.3 การวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสังคมศกึ ษาฯ 2.4 การประเมินผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสังคมศึกษา 2.5 สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร์ 3. เอกสารที่เกี่ยวกับการสอนโดยใช้แผนผงั ความคิด 3.1 ความหมายของ Mind Mapping 3.2 ลักษณะของแผนผังความคิด 3.3 การน า Mind Mapping ไปใช้ประโยชน์ 3.4 องค์ประกอบของแผนผงั ความคดิ 3.5 ประเภทของแผนผงั ความคดิ 3.6 การเขยี นแผนผังความคดิ (Mind Mapping)
4. งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวข้อง 1. เอกสารหลักสตู ร 1.1 หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 แนวคดิ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ม่งุ พฒั นาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความสมดุลทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบน พ้ืนฐานความ เชอื่ ว่า ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ 12 หลกั การ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน มหี ลกั การท่ีสาคญั ดังนี้ 2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติมีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็น เป้าหมาย สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ควบคกู่ บั ความ เป็นสากล 2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถน่ิ 2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้เวลาและ การจัดการเรียนรู้ 2.5 เปน็ หลักสูตรการศึกษาทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 2.6 เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรูแ้ ละประสบการณ์ จุดหมาย หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดงั นี้ 3.1 มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทพ่ี ึงประสงคเ์ หน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏิบตั ิตน 3.2 มีความรู้ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3.3 มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มสี ขุ นสิ ัย และรกั การออกก าลังกาย 3.4 มีความรักชาติมีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
3.5 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะที่ มงุ่ ทาประโยชน์และสรา้ งสง่ิ ที่ดงี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กาหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียน เกิดสมรรถนะสาคัญและคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ดังนี้ 4.1 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ สาคญั 5 ประการ ดังน้ี 4.1.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความร้คู วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด ปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใชว้ ิธีการ สอื่ สาร ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสังคม 4.1.2 ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิดอย่าง สรา้ งสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือ การตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4.1.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญ ได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไข ปญั หา และมีการตดั สินใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม 4.1.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคม ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ที่ สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ นื่ 4.1.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การ ทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรคถ์ กู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ุณธรรม 4.2 คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้ สามารถอยูร่ ่วมกับผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี 1.) รักชาติศาสน์กษัตริย์ 2.) ซ่ือสัตย์สุจริต 3.) มีวินัย 4.) ใฝ่เรียนรู้ 5.) อยู่อย่างพอเพียง 6.) มุ่งมั่นใน การทางาน 7.) รกั ความเป็นไทย 8.) มจี ิตสาธารณะ
นอกจากนี้สถานศกึ ษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตามบริบทและ จดุ เน้นของ ตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทาง สมองและพหุปัญญา หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการ เรยี นรดู้ ังนี้ 1.) ภาษาไทย 2.) คณิตศาสตร์ 3.) วิทยาศาสตร์ 4.) สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 14 5.) สุข ศึกษาและพลศกึ ษา 6.) ศิลปะ 7.) การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8.) ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการ เรียนรไู้ ด้กาหนดมาตรฐานการเรียนร้เู ป็นเปา้ หมายสาคัญของ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ปฏิบัติได้มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เม่ือจบ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกลสาคัญ ในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษาท้ัง ระบบ เพราะ มาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้ง เป็น เคร่ืองมอื ในการตรวจสอบเพือ่ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาโดยใช้ระบบ การประเมินคุณภาพภายในและการ ประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ การทดสอบระดับชาติระบบ การตรวจสอบเพื่อประกนั คุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่งสาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัด การศึกษาว่าสามารถพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพียงใด 1.2 สาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการ เรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม พทุ ธศกั ราช 2551 วสิ ัยทัศน์ สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ช่วยใหผ้ ้เู รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ยังช่วยให้ ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจใน ตนเอง และผ้อู ืน่ มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ ใน การดาเนินชวี ติ เปน็ พลเมืองดีของประเทศชาตแิ ละสังคมโลก พันธกิจ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเช่ือม สัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ มีความรู้ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆ ไวด้ ังน้ี
ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ ร่วมกัน อย่างสันตสิ ขุ เปน็ ผ้กู ระทาความดี มีค่านยิ มท่ดี งี าม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อ สังคมและ ส่วนรวม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการ ปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมือง ดี ความ แตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข สิทธิหน้าท่ี เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคม โลก 15 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจา่ ย และการบรโิ ภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่ มีอยู่อย่างจากดั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน ประวัติศาสตร์ เวลาและยคุ สมัยทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์พัฒนาการของมนุษยชาติ จากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจากเหตุการณ์สาคัญ ในอดตี บุคคลสาคัญท่มี ีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิ ปญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมทีส่ าคัญของโลก ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของ ประเทศไทย และภมู ภิ าคตา่ งๆ ของโลก การใชแ้ ผนทแ่ี ละเครือ่ งมือทางภูมิศาสตรค์ วามสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้น การ นาเสนอ ข้อมูลภมู สิ ารสนเทศ การอนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ มเพือ่ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความส าคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนบั ถือ และศาสนาอน่ื มศี รทั ธาท่ีถูกต้อง ยดึ ม่นั และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพ่อื อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันตสิ ุข มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ ตนนับถอื สาระท่ี 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารง รกั ษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสงั คมไทย และสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธารงรักษาไว้ ซ่งึ การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ ทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ จากัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการ ดารงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความ จาเป็น สาระท่ี 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ วิธีการทาง ประวัติศาสตรม์ าวเิ คราะห์เหตกุ ารณต์ ่างๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาติจากอดีตจนถึงปจั จบุ นั ในด้านความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลง ของเหตกุ ารณอ์ ยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาตไิ ทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทยมีความรัก ความภูมิใจและ ธารง ความเป็นไทย สาระท่ี 5 ภมู ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซึ่งมีผล ต่อกัน และกันใน ระบบของธรรมชาติใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์สรุป และใช้ข้อมูล ภูมสิ ารสนเทศ อย่างมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสานกึ และมีส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม เพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน คุณภาพ ผู้เรียน 2. เอกสารทเี่ กี่ยวกบั สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2.1 ความหมายของสังคมศึกษา กลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเป็นกลุ่มสาระท่ีมี ขอบข่ายกว้างขวางครอบคลุมเนื้อหาหลายสาระ จึงควรเข้าใจความหมายให้ชัดเจน จากนักการศึกษาและ นักวชิ าการหลายทา่ นได้ให้ความหมายของสงั คมศึกษาไว้ ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายว่าสังคมศึกษา หมายถึงกลุ่มสาระที่ ประกอบด้วยสาระภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าท่ี พลเมืองและศีลธรรม โกวิท วรพิพัฒน์ (วิเชียร อาพนรักษ์. 2537: 5; อ้างอิงจาก โกวิท วรพิพัฒน์. ม.ป.ป) กลา่ วถึง กลมุ่ สาระ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมว่าเป็นกลุ่มสาระที่มีความสาคัญ และมีความสัมพันธ์กับ
การพัฒนาประเทศใน ด้านการเตรียมคนให้เป็นคนดี มีความรับผิดชอบและมีคุณธรรม เผด็จ กุลประดิษฐ์ (2540: 7) ให้ความหมายว่าสังคมศึกษาเป็นกลุ่มสาระท่ีเก่ียวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่าง มนุษย์กับ สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันของกลุ่มชน ตลอดจนการปรับตัวให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมน้ันๆได้ อย่างมี ความสุข จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่ากลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นกลุ่มสาระท่ีศึกษา ความสัมพันธ์ ของมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติและสังคม และเป็นวิชาที่มีความสาคัญต่อการพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี สามารถจัดการให้ตนเองได้ดารงชีพอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี และมีความสุข สืบทอด วัฒนธรรม ซึ่งเปน็ เอกลักษณ์ ของความเปน็ ชาติไทย ในความเป็นสากล ในยคุ แห่โลกาภิวัตน์ได้อย่างภาคภูมิใจ 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (Achievement) เป็นสรรถภาพของสมองใน ดา้ นต่างๆ ท่ีนกั เรยี นได้รับจาก ประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากครูนักการศึกษา จึงได้ให้ความหมาย ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ ดังนี้ พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2530: 29) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนไว้ว่า หมายถึงคุณลักษณะ รวมทั้งความรู้ความสามารถหรือมวลประสบการณ์ทั้งปวงท่ีบุคคลได้รับจาก ประสบการณก์ ารเรยี นการสอน ทาให้ บคุ คลเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมดา้ นตา่ งๆ 2.3 การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษา บลูม (Bloom. 1976: 139) กล่าวว่า การวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรม 3 ด้าน คือ 1. ด้านความรู้ความคิด (Cognitive Domain) พฤตกิ รรมดา้ นนี้เกย่ี วกบั กระบวนการตา่ งๆ ทางดา้ นสตปิ ญั ญา และสมอง ประกอบด้วย พฤตกิ รรม 6 ด้าน ดงั น้ี 1.1 ดา้ นความรคู้ วามจา หมายถงึ ความสามารถระลกึ ถึงเรอ่ื งราวประสบการณท์ ่ีผา่ นมา 1.2 ด้านความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการจับใจความ การแปลความการตีความ การขยาย ความของ เร่ืองได้ 20 1.3 การนาไปใช้ หมายถึง ความสามรในการน าความรู้หรือหลักวิชาท่ีเรียนมาแล้วในกาสารสร้าง สถานการณ์ จริงๆ หรอื สถานการณ์ท่ีคล้ายคลึงกนั 1.4 การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเร่ืองราวต่างๆ หรือวัตถุสิ่งของเพ่ือต้องการ ค้นหา สาเหตุเบ้ืองต้น หาความสัมพันธ์ระหว่างใจความ ระหว่างส่วนรวมระหว่างตอนตลอดจนหาหลักการที่ แฝงอยู่ใน เรอ่ื ง 1.5 การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการน าความรู้มาจัดระบบใหม่เป็นเรื่องใหม่ท่ีไม่ เหมือนเดิม มี ความหมายและประสิทธิภาพสูงกวา่ เดมิ 1.6 การประเมนิ ค่า หมายถึง การวนิ ิจฉยั คุณค่าของบุคคลเร่อื งราว วสั ดุสิ่งของอยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ 2. ดา้ นความรสู้ ึก (Affective Domain)
พฤติกรรมด้านน้ีเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้าน ความสนใจ คุณค่าความซาบซึ้ง และเจตคตติ า่ งๆ ของนกั เรียน 3. ด้านการปฏิบัติการ (Psycho – motor Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ทักษะในการ ปฏิบัติและการดาเนินการ เช่น การทดลอง สรุปได้ว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนั้น สามารถวัดได้ทั้งด้านทักษะปฏิบัติ โดยการใช้แบบทดสอบ ภาคปฏิบัติและการวัดทางด้านเนื้อหาโดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม 3 ด้าน 1. ด้านความรู้ ความคิด (Cognitive Domain) โดยวัดพฤติกรรมด้านความรู้ – ความจา ความเข้าใจ การ นาไปใช้ การ วิเคราะห์และการประเมินค่า 2. ด้านความรู้สึก (Affective Domain) พฤติกรรมด้านนี้ เกี่ยวข้องกับการ เจรญิ เติบโต และพฒั นาการใน ด้านความสนใจ คุณค่าความซาบซ้ึงและเจตคติต่างๆ ของนักเรียน 3. ด้านการ ปฏิบัติการ (Psycho – motor Domain) พฤติกรรมด้านนี้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะในการ ปฏิบัติ และ การดาเนินการ 2.4 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กรมวิชาการ (2544: 56) กล่าวว่า ในการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีเน้น ความสามารถและ คุณลักษณะที่แท้จริงของผู้เรียนจะต้องใช้วิธีการและเคร่ืองมือที่หลากหลาย เช่น 1. การทดสอบ เป็นการ ประเมินเพ่ือตรวจสอบความรู้ ความคิด ความก้าวหน้าในสาระการเรียนรู้ มีเคร่ืองมือวัด หลายแบบ เช่น แบบทดสอบเลือกตอบ แบบเติมคา ส้ันๆ แบบถูกผิด แบบจับคู่ เป็นต้น 2. การสังเกต เป็นการประเมิน พฤติกรรมการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ของผ้เู รียน เช่น ความสัมพันธ์ ในการท างานกลุ่ม การวางแผน ความอดทน วิธีการ แก้ปัญหา การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ในระหว่างการเรียนการสอนและการ ทากิจกรรมต่างๆ โดยผู้สอน สามารถสังเกตได้ตลอดเวลา ซ่ึงจะบันทึกข้อมูลลงในแบบสังเกตที่สร้างข้ึน 3. การสัมภาษณ์ เป็นการสนทนา ซักถามพูดคุย เพ่อื ค้นหาข้อมูลท่ีไม่อาจพบเห็นได้อย่างชัดเจนในส่ิงที่นักเรียน ประพฤติปฏิบัติ 4. การประเมิน ภาคปฏิบัติ เป็นการประเมินการกระทา การปฏิบัติงานในการสร้างผลงานให้สาเร็จ โดยผู้สอน ต้องจัดทา ประเด็นการประเมินและเคร่ืองมือเพื่อประกอบการประเมินด้วยเช่น Scoring Rubric, Rating Scale หรือ Checklist เปน็ ตน้ 5. การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน เป็นการประเมินความสามารถในการผลิตผลงานการบูร ณาการความรู้ รวบรวมผลงาน การคัดเลอื กผลงานและศักยภาพในการเรียนรู้ 21 วันเพ็ญ วรรณโกมล (2542: 19 – 22) ได้กล่าววา่ ในยคุ ท่ีมกี ารปฏิรูปการศึกษาของไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา สังคมไทยจึงมีความ ต้องการคนที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสิน ประเมินค่า เลือกรับข้อมูลข่าวสารอย่าง เหมาะสม มีความรู้ท้ังหลักการและทักษะดังนั้น มิติใหม่ของการจัดการ เรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงควรพัฒนาให้ ผู้เรียนได้เกิดทักษะกระบวนการคิดท่ีหลาก ลายซึ่งแนวความคิดดังกล่าวได้ สอดคล้องกับ จากการศึกษาค้นคว้าดังกล่าว จึงสรุปได้ว่า การเรียนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมต้องพยายาม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้สอนต้องแสวงหาวิธีการจัดการเรียนรู้แบบต่างๆ ให้ เหมาะสมสอดคล้องกับเน้ือหา ความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีทักษะในการคิดอย่างมีเหตุผล มี ค่านิยมที่ถูกต้อง สามารถนาความรู้ไปปรับใช้กับการดาเนินชีวิตได้อย่างมี ความสุข
3. เอกสารท่เี กยี่ วกับการสอนโดยใช้แผนผงั ความคดิ แผนผังความคดิ (Mind Mapping) ความหมายของแผนผังความคิดวัฒนา พรระงับทุกข์ (2542 : 19- 21) ไดใ้ ห้ความหมายของ แผนผังความคดิ ไววาแผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) เป็นการนาทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับ สมองไปใช้ให้ เกดประโยชนสูงสุดการเขยี นแผนผังความคิด (Mind Mapping) น้ันเกิดจากการใช้ทักษะทั้งหมด ของ สมองหรือเป็นการทางานรวมกันของสมองทั้ง 2 ซีกคือสมองซีกซ้ายและซีกขวาซึ่งสมองซีกซ้ายจะทา หนา้ ที่ในการ วเิ คราะห์คาภาษาสัญลักษณ์ระบบ ลาดบั ความเป็นเหตุผลตรรกะวิทยาสวนสมองซีกขวาจะทา หน้าท่ีสังเคราะหคิดสร้างสรรค์จินตนาการความงามศิลปะจังหวะโดยมีแถบเสนประสาทคอรปสคอโลซัมเป็ น เสมอื นสะพาน เชอ์มวิมล รัตนสนุ ทรโรจน (2545 : 76) ได้ให้ความหมายของแผนผังความคิด(Mind Mapping) ไว้ว่า เป็นการนาทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับสมองไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดการเขียนแผนผัง ความคิดนี้เกิดจากการใช้ ทักษะทง้ั หมดของสมอง ศิรกิ าญจน์ โกสมุ ภีและคณะ (2544 : 29) ไดใ้ ห้ความหมายแผนผังความคดิ ไววาผังมโนภาพ (Graphic Organizer) หรือแผนผังความคิดหรือการสอนแบบโครงสร้างความรูเป็นการนาหลักการ ท างานของสมองมา ใช้ให้เป็นประโยชนเพราะการใช้ผังมโนภาพจะเกิดข้ึนไดจากการท างานของสมองท้ัง 2 ซีกคือสมองซีกซ้าย และสมองซกี ขวาโดยสมองซีกซ้ายจะทาหนา้ ทใี่ นการวิเคราะห์คาสัญลักษณ์ตรรกวิทยา สวนสมองซีกขวาจะทา หนาท่ีในการสงเคราะห์รูปแบบสีรูปรางผังมโนภาพจะชวยประหยัดเวลาในการคิดระดม สมองในเรื่องใหม่ ๆ ในเรื่องการวางแผนการสรุปการทบทวนและการจดบันทึกซึ่งมีคุณคายิ่งผัง มโน ภาพแบบแผนผังความคิด (Mind Mapping) เป็นการแสดงแผนผังมโนภาพและกระบวนการคิดต้ังแต่ ตนจนจบเพื่อช่วยให้เห็นภาพรวม ของเร่อื งที่กล่าวถึง สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา (2545 : 174–192) ไดอธิบายความหมายของแผนผังความคิดวาเป็น สวนหน่ึงในหลายๆรูปแบบของการจัดการเรียนรูแบบการจัดกรอบมโนทัศน์ว่า “มโนทัศน์” เป็นคาที่มี จาก ภาษาองั กฤษวา Concept ซ่ึงมกี าหนดคาอันขนึ้ มาให้ในความหมายเดยี วกนั อีกรายเชนความคดิ รวบ
บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ัย จดุ ม่งุ หมายการวจิ ยั 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้ชดุ แบบฝึก เติมคา Mind Mapping เร่อื ง “การจัดการภยั พบิ ตั ิ” ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6/1 2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ดแบบฝึก เติมคา Mind Mapping เรื่อง “การจัดการภัยพิบัติ” ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ที่ได้รับการจัดการ เรียนรโู้ ดยใชช้ ดุ แบบฝกึ เตมิ คา Mind Mapping กอ่ นการ ทดลองกบั หลังการทดลอง วิธดี าเนินการวิจยั การดาเนนิ การศกึ ษาค้นคว้าครง้ั นี้ ผ้ศู ึกษามจี ดุ มุ่งหมายเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรื่อง“การจดั การภยั พิบัติ” ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 โดยดาเนินการดงั น้ี 1. การกาหนดประชากรและการส่มุ กลุ่มตวั อยา่ ง 2. การสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการศกึ ษา 3. การเก็บรวบรวมข้อมลู 4. การจัดกระทาและการวิเคราะห์ขอ้ มลู 1. การกาหนดประชากรและการสุ่มกลมุ่ ตวั อยา่ ง ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 1. ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ประชากรท่ีใช้ศึกษาเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ ๓๗ จงั หวัดกระบ่ี ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 จานวน 1 หอ้ งเรยี น 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ศึกษาเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 33 คน โดยการ เลือกแบบ เจาะจงเพราะเป็นห้องเรียนที่มีผลการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมไม่ค่อยดี เทา่ ที่ควรเน่ืองจากขาด สมาธิในการเรยี น ตัวแปรทศ่ี ึกษาและเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ยั 1.ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง “การจัดการ ภัยพิบัต”ิ โดยใช้ชดุ แบบฝึกเตมิ คา Mind Mapping 2.ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง “การ จัดการภัยพิบัติ” เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษา 1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา Mind Mapping วิชาสงั คมศึกษา เรอ่ื ง “การจัดการภยั พบิ ัติ” ชั้นนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเร่ือง “การจัดการภัย พบิ ตั ิ” ทผี่ ศู้ กึ ษาสรา้ งข้นึ เปน็ ปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ 2.1. ข้ันตอนการสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื ในการวิจยั 1. ศกึ ษาและวเิ คราะหห์ ลักสูตรสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศึกษาหลักสูตร คาอธิบายรายวิชา และขอบข่ายเน้ือหาวิชาหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 นกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ผวู้ ิจัยไดด้ าเนินการ ดังน้ี 1) วเิ คราะห์องคป์ ระกอบของรายวชิ า โดยจาแนกออกเปน็ 3 สว่ น คอื กิจกรรม เน้ือหา และ ตัวชี้วัด 2) วิเคราะห์กิจกรรมรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยนาเอากิจกรรมที่กาหนด ใน รายวิชามาวเิ คราะห์หารปู แบบการสอน 3) วิเคราะห์สาระการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยนาเอาเน้ือหาหลัก ของ รายวชิ ามาวิเคราะหเ์ นื้อหายอ่ ย 4) วิเคราะห์ตัวช้ีวัด โดยนาเอาตัวชี้วัดแต่ละข้อมาจาแนกเป็นด้าน คือ ด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และด้านคุณลกั ษณะ 2. จดั หนว่ ยการเรียนร้รู ายวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 3. คดั เลอื กหน่วยการเรียนร้เู พอ่ื การศึกษา 4. ศึกษา ค้นควา้ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ 5. เขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ 5.1) กาหนดขั้นตอนการเรียนรู้ ข้ันท่ี 1 ครูบอกชื่อเร่ืองท่ีกาหนดให้นักเรียนอ่าน และสนทนาเกี่ยวกับชื่อเร่ือง เพ่ือสร้างความสนใจ และโยง ประสบการณ์เดิมของนักเรียนกับเร่ืองท่ีอ่าน ครูเขียนประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคนเป็น Mind Mapping 27 ข้นั ท่ี 2 นกั เรยี นศึกษาใบความรเู้ รื่อง Mind Mapping ขั้นที่ 3 นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน อ่านเนื้อเร่ืองทีละตอน สรุปสาระสาคัญและรายละเอียดของ เร่ืองจาก คาถาม เช่น เร่ืองน้ีเป็นเร่ืองเกี่ยวกับอะไร ใจความสาคัญในแต่ละย่อหน้าคืออะไร มีข้อความใด สนับสนุนบ้าง แล้วถ่ายทอดลงใน Mind Mapping ส่วนท่ีหายไปตัวแทนกลุ่มอธิบาย Mind Mapping ที่เขียน ข้นึ ครู เสนอแนะเพิม่ เตมิ ขัน้ ที่ 4 นกั เรียนศึกษาเนอ้ื หาความรู้ เร่ือง “การจัดการภัยพบิ ตั ิ” ขน้ั ที่ 5 นักเรียนทบทวนความรรู้ ่วมกันโดยใช้Mind Mapping และอภิปรายของเรื่องท่ไี ด้อ่าน
ขั้นที่ 6 ครูกาหนดเร่อื งท่ีจะให้นักเรียนเขยี นโดยแบ่งกลุม่ ๆ ละ 5 คน ข้นั ที่ 7 นกั เรียนแต่ละกลุ่มเขยี นสรุปเน้อื หาเตมิ ส่วนท่ีหายไปเปน็ Mind Mapping ครูตรวจแกไ้ ข นักเรยี นนาไป ปรบั ปรงุ ขน้ั ท่ี 8 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มเขียนสรุปเร่ือง“ภูมิศาสตร์น่ารู้” จาก Mind Mapping แต่ละกลุ่มนาเสนอ ผลงาน ครูและนกั เรียนร่วมกนั พจิ ารณาแก้ไข 5.2) ดาเนนิ การเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ 5.3) ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ นาข้อมูลท่ีได้มา ปรับปรุง แผนใหส้ มบูรณ์ 5.4) ใหผ้ เู้ ชี่ยวชาญตรวจพิจารณาแผนการจดั การเรยี นรู้ 5.5) ปรับปรงุ และแก้ไขแผนการจดั การเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ แผนการจดั การเรียนรู้ท่สี มบรู ณ์ 5.6) นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใช้จริงกับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห์ ๓๗ จงั หวัดกระบ่ี ทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่าง ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 6. การสร้างและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม มขี ้ันตอนการสร้างและ การหาคณุ ภาพตามลาดับ ดังน้ี 6.1 ศกึ ษาหลกั การและเทคนิคการสรา้ งแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 6.2 วิเคราะห์ สาระการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด เพอ่ื วางแผนการออกขอ้ สอบให้สอดคลอ้ งกับ เน้อื หาและ พฤตกิ รรมท่ีต้องการวัด 6.3 เลือกประเภทของแบบทดสอบที่จะวัด คอื เปน็ แบบทดสอบชนิดปรนัยเลอื กตอบ จานวน 30 ขอ้ 4. เขียนข้อสอบตามท่วี างแผนไว้ 6.5 น าแบบทดสอบทผี่ ู้ศกึ ษาสร้างขน้ึ จานวน 30 ข้อนาไปตรวจสอบหาประสทิ ธภิ าพ 6.6 จัดฉบบั จัดพิมพ์เป็นขอ้ สอบชนิดปรนยั แบบเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ
3. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผูศ้ ึกษาได้ดาเนินการทดลองในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ตามขนั้ ตอนดังน้ี 1. ทดสอบก่อนการเรียน (Pretest) กับนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยแบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ศาสนาและวัฒนธรรม 2. ดาเนนิ การทดลอง โดยผูศ้ ึกษาทาการสอนดว้ ยตนเอง ใช้วธิ กี ารจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ผังความคดิ 3. เมื่อทดลองครบ 5 ชั่วโมงแล้ว ทาการทดสอบหลังการทดลอง (Posttest) กับนักเรียนด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 4. ตรวจแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แล้วนาผลที่ ได้มาวเิ คราะหโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางสถิติ 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ิที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู สถติ ิทใ่ี ช้ในการทดสอบสมมตฐิ าน 1.การหาประสทิ ธิภาพชุดแบบฝึกโดยใชส้ ูตร ( E1 / E2 ) 2.สถติ ิทใ่ี ช้ในการทดสอบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยวัดก่อนเรียนและหลังเรียน โดยคานวณจากสตู ร t-test dependent (pretest-posttest)
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผลการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง “การจัดการภัย พิบัติ” ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) ในการวิเคราะห์ข้อมูลมีลาดับขั้นในการนาเสนอข้อมูล ดังน้ี ผลการหาคุณภาพของชุดแบบฝึกเติม คา (Mind Mapping) โดยใช้ ( E1/ E2 ) ตารางที่ 1 แสดงประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกเร่ือง “ภูมิศาสตร์น่ารู้”ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ จานวน 33 คน ท่ีได้รับ การจดั การเรยี นรู้ โดยใช้ชดุ แบบฝกึ เตมิ คา (Mind Mapping) การทดสอบ E1 E2 ประสิทธภิ าพ 80.15 80.37 แปลผล สูงกวา่ เกณฑ์ สงู กวา่ เกณฑ์ จากตาราง 1 พบวา่ ชดุ แบบฝกึ เร่อื ง “ภูมิศาสตรน์ า่ รู้”ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบ่ี จานวน 33 คน ที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ชุดแบบ ฝึกเติมคา (Mind Mapping) มีประสิทธิภาพ 80.15/80.37 ถือว่ามีประสิทธิภาพตาม เกณฑท์ ต่ี ้ังไว้คอื 80/80 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานทตี่ ั้งไว้ ผลการเปรียบเทียบความก้าวหน้าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ t-test dependent
ตารางที่ 2 แสดงผลการเปรยี บเทียบคะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและเรอ่ื ง “ภูมศิ าสตร์น่ารู้”ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบ่ี จานวน 33 คน ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดย ใช้ชุด แบบฝกึ เติมคา (Mind Mapping) ผลการทดลอง N x S. D. D S.D.D t Sig.(1-tailed) ก่อนเรยี น 35 16.51 2.79 3.87 1.49 17.45 0.0000 หลังเรียน 35 20.38 3.07 จากตาราง 2 พบว่า การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 จานวน 33 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.51 คะแนน และ 20.38 คะแนนตามลาดบั และเมือ่ เปรียบเทยี บระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนสูง กวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจยั การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 เร่ือง “การจัดการภัยพิบัติ” โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใชช้ ุดแบบฝึกเตมิ คา (Mind Mapping) สามารถสรุปสาระสาคญั ไดด้ ังน้ี 1.ชุดแบบฝึกเร่ือง “การจัดการภัยพิบัติ”ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๗ จังหวัดกระบี่ จานวน 33 คน ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) มปี ระสิทธภิ าพ 80.15/80.37 ถือว่ามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีตั้ง ไวค้ ือ80/80 2.การทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียนของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จานวน 33 คน ที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.51 คะแนน และ20.38 คะแนนตามลาดับและเมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05 อภิปรายผลการวิจัย 1. แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง“การจัดการภัยพิบัติ” โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) มีประสิทธิภาพสามารถใช้ในการ จัดการเรียนรู้ได้ มคี า่ 80.15/80.37 ถือวา่ มีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้คือ80/80ซึ่งคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ทั้งนี้ เน่ืองมาจากแผนการจัดการเรียนรู้ ผู้ศึกษาได้สร้างตามกระบวนการ กล่าวคือมีการวิเคราะห์หลักสูตร กิจกรรมสาระการเรียนรู้และตัวช้ีวัดของรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นามาจัดเป็นหน่วยการ เรยี นรู้ ได้ศกึ ษา คน้ คว้า นวตั กรรมการเรียนรู้ คอื การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) เป็นรูปแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นท่ียอมรับอย่างกว้างขวาง มีการใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้อย่าง หลากหลายตลอดจนมกี ารวดั ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ทาให้แผนการจัดการเรียนรู้มีคุณภาพ
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เร่ือง “การจัดการภัย พิบัติ” โดยใช้ชุดแบบฝึกเติมคา (Mind Mapping) เท่ากับ16.51 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน เท่ากับ 20.38และเมอื่ ทาการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่า หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกเติมคา (Mind Mapping) แลว้ นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู ขึน้ ข้อเสนอแนะ 1.การสอนเขียนผังความคิด (Mind Mapping) ควรเริ่มให้แนวทางการเขียน จากเร่ืองที่มีความ หลากหลายและมีเนื้อหาเข้าใจง่าย จากนั้นจึงเพ่ิมเนื้อหาให้มากข้ึน เพ่ือพัฒนาความเข้าใจลักษณะของผัง ความคดิ และวิธเี ขียนผงั 2.ควรนาเอารปู แบบ และกระบวนการศึกษาในคร้ังน้ไี ปทาการศึกษากบั เน้อื หาวิชาของกลุ่มสาระอื่นๆ 3.ควรศึกษาผลการใช้ผังความคิดกับตัวแปรอ่ืน ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ ความสนใจในการเรียน และการนาไปใชศ้ ึกษาผลการสอนกบั นักเรียนในระดบั ชัน้ อ่นื ๆ
บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551. หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551และแก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ.2560. กรุงเทพฯ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพม่ิ เติม(ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2556. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องคก์ ารรับสง่ สินค้าและพัสดภุ ณั ฑ.์ กระทรวงศกึ ษาธิการ.พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และแกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 2 ) พ.ศ. 2555. กรงุ เทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรบั ส่งสนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ.์ นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ.์ (2537, ตุลาคม- ธนั วาคม). ความคิดรวบยอดกบั การเรียนการสอน,วารสารพัฒนา หลักสูตร. 14(119): 55-60 พวงรตั น์ ทวีรัตน.์ (2560). การสรา้ งและพฒั นาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ.์ิ กรงุ เทพมหานคร : สานกั ทดสอบ ทางการศึกษาและจติ วทิ ยา มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. วชิ ยั วงษใ์ หญ.่ (2553) . ปฏริ ูปการเรียนรู้: ผ้เู รียนสาคญั ท่สี ุด สูตรสาเรจ็ หรือกระบวนการ, รว่ มคิด ร่วมเขยี น ปฏิรปู การเรยี นรผู้ ู้เรียนสาคญั ทีส่ ุด. กรงุ เทพฯ: บริษทั พรกิ หวานกราฟฟิค จ ากดั . วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน.์ (2559). การพฒั นาการเรยี นการสอนภาควชิ าหลักสตู รและการสอน.มหาสารคาม : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. วิไลพร ธนสุวรรณ. (2559). การพัฒนากิจกรรมผังมโนมตสิ มั พนั ธเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะการอา่ นและ การเขียนภาษาองั กฤษของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม.(การมัธยมศกึ ษา). เชยี งใหม่:บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่ ถา่ ยเอกสาร.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก -แบบทดสอบ -ตวั อย่างผลงานนักเรยี น
แบบทดสอบกอ่ นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม วชิ าสังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 เร่อื ง การจดั การภยั พบิ ัติ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเครอื่ งหมาย X ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบทถ่ี ูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. เคร่ืองมอื ทางภมู ศิ าสตร์ขอ้ ใดทาหน้าท่ีเปน็ สอื่ เก็บรวบรวมขอ้ มูลทางภูมิศาสตร์ ก. แผนท่ี ข. ลกู โลกจาลอง ค. จพี ีเอส (GPS) ง. รูปถา่ ยทางอากาศ 2. ผใู้ ช้แผนท่คี วรมีความรู้พืน้ ฐานในขอ้ ใดมากท่ีสุดจึงจะสามารถอ่านแผนทไ่ี ด้ถูกต้องรวดเร็ว ก. องค์ประกอบของแผนที่ ข. ความหมายของแผนท่ี ค. ภมู ิประเทศในแผนที่ ง. ประเภทของแผนท่ี 3. เคร่ืองมอื ทางภมู ิศาสตรใ์ นข้อใด ทาให้ร้ขู อ้ มลู การเปลย่ี นแปลงพื้นทปี่ ่าไม้ไดช้ ดั เจนมากที่สุด ก. แผนที่ ข. ภาพจากดาวเทียม ค. ภาพถ่ายทางอากาศ ง. เวบ็ ไซตท์ างภมู ศิ าสตร์ 4. ข้อใดอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หรอื GIS ได้ชัดเจน ก. ระบบสารองเกบ็ ข้อมูลบนพนื้ ผวิ โลกดว้ ยเครอ่ื งรับรู้ ข. การบนั ทกึ ข้อมลู การทางานของดาวเทียมอย่างมรี ะบบ ค. เทคโนโลยีทีน่ าเอาคอมพิวเตอร์มาเปน็ หลกั การทางาน ง. ระบบข้อมูลที่เชื่อมโยงกับค่าพิกัดภูมิศาสตร์ และรายละเอียดของวัตถุบนพื้นโลกโดยใช้ คอมพิวเตอร์ 5. การบนั ทึกข้อมลู หรอื รปู ภาพของพ้ืนท่ีจากเคร่ืองบนิ มขี อ้ จากัดอยา่ งไร ก. ขอ้ มูลจากภาพไมช่ ดั เจน ข. บันทกึ ข้อมูลไดด้ เี ฉพาะชว่ งฤดแู ล้ง ค. ความสน่ั สะเทือนของเครื่องบนิ ทาใหภ้ าพคลาดเคลื่อน ง. นกั บินจะต้องมคี วามเชี่ยวชาญเปน็ พิเศษจึงจะไดภ้ าพทถี่ ูกต้อง 6. การใช้เคร่อื งบินสารวจด้านธรณวี ิทยาและธรณีสณั ฐานวทิ ยา มผี ลดีในขอ้ ใดมากที่สดุ ก. การสารวจและขดุ เจาะ เพือ่ หาทรพั ยากรใตด้ นิ เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ข. กาหนดตาแหน่ง เพ่ือการพฒั นาสภาพแวดล้อม ค. มขี อ้ มลู ท่เี ปน็ ตัวเลขตามหลกั สถิติ ง. รตู้ าแหน่งเมอื งสาคญั ทวั่ โลก
7. ข้อใด ไม่จดั วา่ เป็นองค์ประกอบสาคญั ของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ก. ขอ้ มลู ข. ซอฟต์แวร์ ค. ฮาร์ดแวร์ ง. หอ้ งเครอื่ ง 8. ระบบการทางานของการถ่ายรูปทางอากาศทส่ี าคัญท่ีสุด คือขอ้ ใด ก. การใชเ้ คร่ืองมือถา่ ยภาพ ข. การแปลความหมายจากภาพถา่ ย ค. การกาหนดบุคลากรที่มีความชานาญในการบิน ง. การวางแผนการบินและมาตราส่วนของแผนท่ลี ว่ งหน้า 9. การบนั ทกึ ขอ้ มูลของดาวเทยี มพาสซีพ (Passive) คอื อะไร ก. ระบบที่บันทกึ ข้อมูลจากการสะทอ้ นคล่นื แสงในเวลากลางวัน และคล่นื ความรอ้ นจาก ดวงอาทิตย์ในเวลากลางคืน ข. ระบบท่ดี าวเทียมผลติ พลังงานเองและส่งสญั ญาณไปยงั พ้นื โลก แล้วรบั สัญญาณสะท้อนกลับ ไปยังเครือ่ งรบั ค. ระบบการผลติ พลังงานของดาวเทียมสะท้อนไปยังข้อมูลท่ีต้องการบนั ทึกภาพถ่าย ง. ระบบการรับข้อมูลจากแสงอาทิตยท์ ีม่ ีคล่นื ความรอ้ นสง่ ไปยงั ดาวเทียม 10. การวเิ คราะหข์ ้อมลู จากดาวเทียมมอี งคป์ ระกอบหลักในการวเิ คราะห์หลายประการ ยกเว้นขอ้ ใด ก. เนื้อภาพ สี ข. ความสงู เงา ค. ตวั เลข น้าหนกั ง. รูปแบบ ขนาด 11.ข้อความเก่ียวกับบรรยากาศของโลกข้อใดถูกตอ้ ง ก.แก๊สที่อยู่มากท่สี ุดในบรรยากาศ คอื แกส๊ ออกซิเจน ข.บรรยากาศเปน็ แหล่งสะสมไอนา้ และทาใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของวัฏจักรนา้ ค.บรรยากาศช่วยกรองรังสอี ัลตราไวโอเลตท่มี ปี ระโยชน์ตอ่ การดารงชวี ิตของมนุษย์ ง.บรรยากาศทาหน้าที่คลายความรอ้ นทาให้อณุ หภูมิแตกต่างกนั ในเวลากลางวนั และกลางคืน 12.ชนั้ บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ จะมลี ักษณะเดน่ ในขอ้ ใด ก.อุณหภมู ขิ องอากาศจะลดลงตามความสงู ของพืน้ ที่ ข.อณุ หภูมขิ องอากาศจะสงู ขนึ้ ตามความสงู ของพื้นท่ี ค.อากาศมกี ารเคล่ือนทจ่ี ากแนวต่าขึ้นสทู่ ่ีสงู เรยี กว่า ลม ง.การเคลือ่ นท่ขี องอากาศจะเคลื่อนไปในแนวนอนเพยี งอย่างเดยี ว ท้องฟ้าปราศจากเมฆ 13.ปรากฏการณ์เรือนกระจกมีผลสาคัญในขอ้ ใด ก.อุณหภมู ิและภมู อิ ากาศของโลกเปลยี่ นแปลง ข.ปรมิ าณปา่ ไมล้ ดนอ้ ยลงในบรเิ วณเส้นศนู ยส์ ูตร ค.ฝนตกหนกั เป็นบางแหง่ ในภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ง. พลงั งานรังสีจากดวงอาทิตยท์ ะลชุ ั้นบรรยากาศไปสู่โลก
14.ปรากฏการณ์เอลนีโญสง่ ผลสาคัญในขอ้ ใด ก.เกดิ อทุ กภัยครัง้ รา้ ยแรงในทวีปเอเชยี ข.เกิดบริเวณพื้นที่อับ ฝนกระจายอยูท่ ่วั ไป ค.บริเวณน้าของมหาสมุทรแปซิฟกิ แถบศนู ยส์ ตู รเย็นลง ง.เกิดการเปล่ียนแปลงสภาพภูมศิ าสตรเ์ ป็นบริเวณกว้างไปท่ัวโลก 15.ปรากฏการณใ์ นขอ้ ใดทาให้ออสเตรเลยี อนิ โดนีเซีย และฟิลิปปนิ ส์มฝี นตก แตบ่ รเิ วณ แปซฟิ ิกตะวนั ออกมฝี นนอ้ ยและแห้งแล้งยาวนานในช่วงฤดูฝน ก.เอลนโิ ญ ข.ลานิญา ค.พายหุ มนุ ง.อุณหภมู ผิ กผนั 16.บริเวณทเ่ี กดิ แผ่นดินไหวบ่อยครัง้ และมีความรนุ แรงมากทีส่ ดุ จะอยบู่ รเิ วณใด ก.ตอนกลางของมหาสมทุ รแอตแลนติก ข.บรเิ วณหม่เู กาะอนิ เดยี ตะวนั ออก ค.รอบมหาสมทุ รแปซิกฟิก ง.ทวีปเอเชยี 17.ภเู ขาไฟทเี่ กดิ บริเวณจุดร้อน ไดแ้ กภ่ ูเขาไฟในข้อใด ก.ภูเขาไฟในประเทศญป่ี ุ่น ข.ภเู ขาไฟในหมเู่ กาะฮาวาย ค.ภูเขาไฟในประเทศเอธิโอเปีย ง.ภูเขาไฟในประเทศอินโดนเี ซีย 18.กระแสน้าในขอ้ ใดจัดเป็นกระแสนา้ เยน็ ก.กระแสนา้ เปรู ข.กระแสน้าศูนยส์ ตู ร ค.กระแสนา้ ตุโระชิโอะ ง.กระแสน้าออสเตรเลยี ตะวันออก 19.กระแสน้าท่ีไหลเขา้ ไปในทะเลแคริบเบยี น อ่าวเมก็ ซโิ ก และชายฝ่งั ตะวนั ออกของสหรัฐอเมรกิ า และแคนาดาคือ กระแสน้าอะไร ก.กระแสน้าอนุ่ แอตแลนตกิ ข.กระแสนา้ อุ่นกัลฟส์ ตรีม ค.กระแสนา้ เยน็ เบงเกวลา ง.กระแสนา้ อุ่นศูนยส์ ตู ร 20.กระแสน้าเย็นแลบลาเดอร์ เปน็ กระแสนา้ ทีไ่ หลอยใู่ นบริเวณใด ก.มหาสมุทรอนิ เดีย ข.มหาสมทุ รแปซฟิ กิ ค.มหาสมทุ รอารก์ ตกิ ง.มหาสมทุ รแอตแลนติก
21.บริเวณทกี่ ระแสน้าอนุ่ และกระแสน้าเย็นไหลไปปะทะกันจะเปน็ ประโยชน์ในด้านใด ก.การประมง ข.การคา้ ขาย ค.การคมนาคม ง.การอตุ สาหกรรม 22.การทีแ่ หลง่ อารยธรรมของโลกลว้ นพฒั นาการข้นึ จากบริเวณฝง่ั แมน่ ้า หรอื ดินดอนสามเหล่ียมปากน้า แสดงถงึ ความสาคญั ในเรื่องใด ก.ปฏิสัมพันธข์ องมนุษยก์ ับแหล่งนา้ ข.อิทธพิ ลของน้ากับการดาเนินชีวิตของมนษุ ย์ ค.นา้ เป็นปจั จัยหนงึ่ ทีเ่ ปน็ สว่ นสาคัญของปจั จยั สี่ ง.การคมนาคมขนส่งเปน็ ปจั จัยสาคัญของการพัฒนาบา้ นเมอื ง 23.ปรากฏการณธ์ รรมชาติในข้อใด ไมเ่ กีย่ วกับการกระทาของมนษุ ย์ ก.เรอื นกระจก ข.เอลนโี ญ ค.ลานิญา ง.สนึ ามิ 24.การท่ภี าคตะวันตกของประเทศไทยมที วิ ทัศน์สวยงาม แต่นกั ท่องเที่ยวยังไปเทย่ี วน้อยนั้นเนอื่ งจาก เกิดผลในขอ้ ใด ก.การประชาสมั พนั ธน์ อ้ ย ทาให้คนไม่รู้แหล่งท่องเทยี่ ว ข.ขาดโครงข่ายเส้นทางคมนาคมท่ีเชื่อมตอ่ กัน ค.พ้นื ท่หี า่ งไกลจากกรงุ เทพมหานคร ง.ค่าใชจ้ ่ายสูงเมื่อเทียบกบั ภาคอ่นื 25.บริเวณลุ่มแม่น้ายม จงั หวัดสโุ ขทัยและพิษณุโลก จะมปี ัญหานา้ ทว่ มเกือบทกุ ที่นัน้ เนือ่ งจากสาเหตใุ ด ก.เปน็ บริเวณท่อี ยู่ติดกับรมิ แมน่ ้ามากทส่ี ดุ ข.เปน็ ทรี่ าบนา้ ทว่ มถึงและมฝี นตกต่อเน่ืองยาวนาน ค.มกี ารตดั ไมท้ าลายปา่ ในบรเิ วณต้นน้ามากกว่าทีอ่ ่ืน ง.เปน็ บริเวณที่ต่ากวา่ บรเิ วณอน่ื จงึ เปน็ แอ่งน้าท่ีมีน้าไหลมารวมกนั 26.พื้นทเี่ นนิ แบบลกู ฟกู จะพบมากในภาคใดของประเทศไทย ก.ภาคเหนอื ข.ภาคใต้ ค.ภาคกลาง ง.ภาคตะวันออก 27.เพราะเหตใุ ดประชาชนจังหวดั ศรสี ะเกษและจงั หวัดอุบลราชธานี จงึ มีการปลูกพืชสวนและ ผลไมต้ า่ งๆ ไดผ้ ลดีเชน่ เดยี วกับภาคตะวันออก ก.เพราะอากาศอบอุ่น ฝนตกชุกจงึ ทาใหผ้ ลไม้ไดผ้ ลดี ข.เพราะดินดี มีรอ่ งรอยปรากฏหินภูเขาไฟเกือบตลอดแนว ค.เพราะทางราชการมีโครงการทดลองปลกู พนั ธ์พุ ชื ทีห่ ลากหลาย ง.เพราะเปน็ แหลง่ ที่มลี มมรสุมตะวันตกเฉียงใตพ้ ดั ผา่ น จงึ ทาใหฝ้ นตกและมีภมู อิ ากาศเหมาะสม
28.แหล่งปลกู ข้าวท่ีใหญท่ ่ีสดุ ของประเทศไทย คือบริเวณใด ก.ทรี่ าบลุม่ แม่นา้ ปงิ ข.ท่รี าบลมุ่ แม่นา้ ชี-มูล ค.ทรี่ าบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา ง.ทร่ี าบลุ่มแมน่ ้าบางประกง 29.เพราะเหตใุ ดบรเิ วณภาคใตข้ องไทยจึงเปน็ แหลง่ ท่องเที่ยวของชาวไทยและชาวต่างประเทศ ก.เพราะมีคาบสมทุ ร เกาะ และหมเู่ กาะสวยงาม ข.เพราะอาหารสด และผลไม้อุดมสมบูรณ์ตลอดปี ค.เพราะเสน้ ทางคมนาคมสะดวกมีท่าอากาศยานทนั สมัย ง.เพราะภูมิอากาศชุม่ ช้นื มีพชื พรรณธรรมชาตหิ ลากหลาย 30.เพราะเหตใุ ดจงั หวดั สมทุ รสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบรุ จี งึ สามารถทานาเกลือสมุทรได้ ก.มพี ้นื ทเ่ี ปน็ ท่รี าบลุ่ม ข.มีเขอื่ นทสี่ ามารถก้ันน้าทะเลที่หนุนมากักเก็บไว้ ค.เสน้ ทางคมนาคมขนสง่ สะดวกต่อการขนสง่ สนิ ค้า ง.อย่ใู กลอ้ า่ วไทยสามารถใช้น้าทะเลจากอ่าวไทยมาทานา
แบบทดสอบหลงั เรยี น กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาสังคมศึกษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เรื่อง การจดั การภยั พิบัติ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 จานวน 30 ขอ้ 30 คะแนน คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเขยี นเคร่อื งหมาย X ทบั ตวั อกั ษรหน้าคาตอบที่ถูกตอ้ งลงในกระดาษคาตอบ 1.ข้อความเก่ยี วกับบรรยากาศของโลกข้อใดถกู ต้อง ก.แก๊สทอ่ี ยมู่ ากทีส่ ุดในบรรยากาศ คือ แกส๊ ออกซิเจน ข.บรรยากาศเปน็ แหล่งสะสมไอน้าและทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของวฏั จกั รนา้ ค.บรรยากาศช่วยกรองรังสีอัลตราไวโอเลตทมี่ ีประโยชน์ตอ่ การดารงชวี ิตของมนุษย์ ง.บรรยากาศทาหน้าทคี่ ลายความร้อนทาใหอ้ ุณหภูมิแตกตา่ งกนั ในเวลากลางวันและกลางคนื 2.ช้นั บรรยากาศโทรโพสเฟียร์ จะมีลกั ษณะเด่นในขอ้ ใด ก.อุณหภูมิของอากาศจะลดลงตามความสูงของพ้นื ท่ี ข.อุณหภูมิของอากาศจะสูงขึ้นตามความสูงของพ้ืนท่ี ค.อากาศมกี ารเคล่ือนทจี่ ากแนวตา่ ข้นึ สู่ท่สี งู เรยี กวา่ ลม ง.การเคลื่อนทีข่ องอากาศจะเคล่ือนไปในแนวนอนเพยี งอย่างเดียว ทอ้ งฟา้ ปราศจากเมฆ 3.ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกมผี ลสาคัญในขอ้ ใด ก.อณุ หภูมิและภูมิอากาศของโลกเปล่ียนแปลง ข.ปริมาณปา่ ไมล้ ดนอ้ ยลงในบรเิ วณเส้นศูนย์สูตร ค.ฝนตกหนักเปน็ บางแหง่ ในภูมภิ าคต่างๆ ของโลก ง.พลังงานรังสีจากดวงอาทติ ยท์ ะลชุ นั้ บรรยากาศไปสโู่ ลก 4.ปรากฏการณ์เอลนโี ญสง่ ผลสาคัญในขอ้ ใด ก.เกดิ อทุ กภยั ครง้ั ร้ายแรงในทวีปเอเชยี ข.เกิดบรเิ วณพ้นื ท่ีอบั ฝนกระจายอยู่ทั่วไป ค.บริเวณน้าของมหาสมุทรแปซิฟิกแถบศนู ย์สูตรเย็นลง ง.เกดิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรเ์ ป็นบรเิ วณกวา้ งไปท่วั โลก 5.ปรากฏการณ์ในข้อใดทาใหอ้ อสเตรเลยี อินโดนีเซีย และฟิลิปปนิ สม์ ฝี นตก แต่บริเวณ แปซิฟิกตะวนั ออกมฝี นนอ้ ยและแห้งแล้งยาวนานในช่วงฤดูฝน ก.เอลนโิ ญ ข.ลานญิ า ค.พายหุ มนุ ง.อุณหภูมผิ กผนั
6.บรเิ วณทเ่ี กิดแผน่ ดินไหวบ่อยครัง้ และมีความรนุ แรงมากท่สี ดุ จะอยบู่ รเิ วณใด ก.ตอนกลางของมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ข.บรเิ วณหมู่เกาะอินเดียตะวนั ออก ค.รอบมหาสมทุ รแปซกิ ฟิก ง.ทวีปเอเชีย 7.ภเู ขาไฟที่เกิดบรเิ วณจุดร้อน ไดแ้ ก่ภเู ขาไฟในขอ้ ใด ก.ภูเขาไฟในประเทศญปี่ ุน่ ข.ภูเขาไฟในหมเู่ กาะฮาวาย ค.ภเู ขาไฟในประเทศเอธิโอเปยี ง.ภเู ขาไฟในประเทศอินโดนเี ซยี 8.กระแสนา้ ในขอ้ ใดจดั เป็นกระแสน้าเยน็ ก.กระแสนา้ เปรู ข.กระแสนา้ ศูนยส์ ูตร ค.กระแสน้าตโุ ระชิโอะ ง.กระแสน้าออสเตรเลียตะวันออก 9.กระแสนา้ ที่ไหลเขา้ ไปในทะเลแครบิ เบยี น อา่ วเมก็ ซโิ ก และชายฝง่ั ตะวันออกของสหรฐั อเมรกิ า และแคนาดาคอื กระแสน้าอะไร ก.กระแสน้าอุ่นแอตแลนตกิ ข.กระแสนา้ อุน่ กลั ฟ์สตรีม ค.กระแสนา้ เย็นเบงเกวลา ง.กระแสน้าอ่นุ ศูนย์สตู ร 10.กระแสน้าเยน็ แลบลาเดอร์ เป็นกระแสน้าที่ไหลอยใู่ นบริเวณใด ก.มหาสมุทรอินเดีย ข.มหาสมทุ รแปซฟิ ิก ค.มหาสมทุ รอาร์กติก ง.มหาสมทุ รแอตแลนติก 11.บริเวณที่กระแสน้าอุน่ และกระแสนา้ เยน็ ไหลไปปะทะกันจะเปน็ ประโยชนใ์ นด้านใด ก.การประมง ข.การค้าขาย ค.การคมนาคม ง.การอตุ สาหกรรม 12.การทแ่ี หล่งอารยธรรมของโลกลว้ นพฒั นาการข้ึนจากบรเิ วณฝ่งั แม่นา้ หรอื ดินดอนสามเหล่ียมปากนา้ แสดงถงึ ความสาคญั ในเรื่องใด ก.ปฏิสัมพันธข์ องมนษุ ยก์ บั แหลง่ น้า ข.อทิ ธพิ ลของน้ากบั การดาเนนิ ชีวิตของมนษุ ย์ ค.น้าเปน็ ปจั จัยหนงึ่ ทเี่ ปน็ สว่ นสาคญั ของปจั จยั ส่ี ง.การคมนาคมขนส่งเป็นปจั จยั สาคญั ของการพัฒนาบา้ นเมือง
13.ปรากฏการณ์ธรรมชาตใิ นข้อใด ไม่เกยี่ วกบั การกระทาของมนุษย์ ก.เรือนกระจก ข.เอลนีโญ ค.ลานิญา ง.สนึ ามิ 14.การท่ภี าคตะวันตกของประเทศไทยมที ิวทัศน์สวยงาม แตน่ กั ท่องเทยี่ วยงั ไปเท่ยี วนอ้ ยนน้ั เนื่องจาก เกิดผลในข้อใด ก.การประชาสัมพนั ธน์ ้อย ทาใหค้ นไมร่ ูแ้ หล่งทอ่ งเทีย่ ว ข.ขาดโครงข่ายเส้นทางคมนาคมท่เี ช่ือมตอ่ กนั ค.พ้นื ที่ห่างไกลจากกรุงเทพมหานคร ง.คา่ ใช้จา่ ยสงู เมอ่ื เทยี บกับภาคอ่นื 15.บริเวณลุ่มแมน่ ้ายม จงั หวดั สโุ ขทัยและพษิ ณุโลก จะมีปญั หานา้ ท่วมเกือบทกุ ท่นี ้ัน เน่ืองจากสาเหตุใด ก.เปน็ บริเวณทีอ่ ยู่ติดกับรมิ แมน่ ้ามากที่สดุ ข.เป็นทรี่ าบนา้ ท่วมถึงและมฝี นตกต่อเนื่องยาวนาน ค.มกี ารตัดไมท้ าลายป่าในบรเิ วณต้นนา้ มากกวา่ ที่อื่น ง.เป็นบริเวณทีต่ ่ากว่าบรเิ วณอนื่ จงึ เป็นแอ่งน้าท่ีมีน้าไหลมารวมกัน 16.พื้นทเี่ นินแบบลูกฟูก จะพบมากในภาคใดของประเทศไทย ก.ภาคเหนือ ข.ภาคใต้ ค.ภาคกลาง ง.ภาคตะวนั ออก 17.เพราะเหตใุ ดประชาชนจงั หวดั ศรีสะเกษและจงั หวัดอุบลราชธานี จงึ มีการปลูกพืชสวนและ ผลไมต้ ่างๆ ได้ผลดีเช่นเดยี วกบั ภาคตะวนั ออก ก.เพราะอากาศอบอุน่ ฝนตกชุกจึงทาใหผ้ ลไมไ้ ดผ้ ลดี ข.เพราะดินดี มีร่องรอยปรากฏหนิ ภูเขาไฟเกือบตลอดแนว ค.เพราะทางราชการมีโครงการทดลองปลูกพันธพ์ุ ชื ทห่ี ลากหลาย ง.เพราะเปน็ แหล่งท่มี ีลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้พัดผ่าน จึงทาใหฝ้ นตกและมภี มู ิอากาศเหมาะสม 18.แหล่งปลูกข้าวทใ่ี หญท่ ่ีสดุ ของประเทศไทย คอื บรเิ วณใด ก.ที่ราบลมุ่ แม่น้าปิง ข.ทรี่ าบลมุ่ แม่นา้ ชี-มูล ค.ทรี่ าบลมุ่ แมน่ า้ เจ้าพระยา ง.ทรี่ าบล่มุ แมน่ ้าบางประกง
19.เพราะเหตุใดบริเวณภาคใตข้ องไทยจึงเปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วของชาวไทยและชาวต่างประเทศ ก.เพราะมีคาบสมุทร เกาะ และหมูเ่ กาะสวยงาม ข.เพราะอาหารสด และผลไม้อดุ มสมบูรณต์ ลอดปี ค.เพราะเสน้ ทางคมนาคมสะดวกมที ่าอากาศยานทันสมัย ง.เพราะภูมิอากาศช่มุ ชืน้ มีพืชพรรณธรรมชาติหลากหลาย 20.เพราะเหตุใดจงั หวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม และเพชรบุรจี ึงสามารถทานาเกลอื สมุทรได้ ก.มีพื้นท่เี ป็นทรี่ าบล่มุ ข.มีเขื่อนทีส่ ามารถกั้นนา้ ทะเลทห่ี นนุ มากักเกบ็ ไว้ ค.เส้นทางคมนาคมขนสง่ สะดวกต่อการขนสง่ สินค้า ง.อยู่ใกล้อา่ วไทยสามารถใช้น้าทะเลจากอ่าวไทยมาทานา 21.เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ขอ้ ใดทาหน้าที่เปน็ สือ่ เก็บรวบรวมข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ ก.แผนที่ ข.ลูกโลกจาลอง ค.จพี ีเอส (GPS) ง.รปู ถา่ ยทางอากาศ 22.ผูใ้ ชแ้ ผนท่ีควรมีความรูพ้ ้นื ฐานในขอ้ ใดมากท่ีสดุ จึงจะสามารถอ่านแผนที่ไดถ้ กู ตอ้ งรวดเร็ว ก.องคป์ ระกอบของแผนที่ ข.ความหมายของแผนท่ี ค.ภมู ิประเทศในแผนที่ ง.ประเภทของแผนที่ 23.เครอ่ื งมอื ทางภูมิศาสตร์ในขอ้ ใด ทาใหร้ ขู้ ้อมูลการเปล่ียนแปลงพืน้ ที่ป่าไมไ้ ดช้ ัดเจนมากท่ีสดุ ก.แผนที่ ข.ภาพจากดาวเทยี ม ค.ภาพถา่ ยทางอากาศ ง.เวบ็ ไซตท์ างภูมิศาสตร์ 24.ขอ้ ใดอธบิ ายความหมายของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ หรือ GIS ได้ชดั เจน ก.ระบบสารองเก็บข้อมูลบนพืน้ ผิวโลกดว้ ยเครือ่ งรบั รู้ ข.การบนั ทึกข้อมลู การทางานของดาวเทียมอย่างมรี ะบบ ค.เทคโนโลยที ีน่ าเอาคอมพวิ เตอร์มาเป็นหลักการทางาน ง.ระบบข้อมลู ท่เี ชื่อมโยงกับคา่ พิกัดภูมิศาสตร์ และรายละเอียดของวตั ถุบนพืน้ โลกโดยใช้ คอมพวิ เตอร์
25.การบนั ทกึ ขอ้ มูลหรือรูปภาพของพืน้ ท่ีจากเคร่ืองบนิ มขี อ้ จากัดอย่างไร ก.ขอ้ มลู จากภาพไม่ชดั เจน ข.บันทกึ ขอ้ มลู ไดด้ เี ฉพาะช่วงฤดูแล้ง ค.ความส่นั สะเทอื นของเครื่องบินทาให้ภาพคลาดเคลื่อน ง.นักบนิ จะต้องมีความเช่ยี วชาญเปน็ พิเศษจงึ จะได้ภาพทถี่ ูกตอ้ ง 26.การใช้เคร่ืองบนิ สารวจดา้ นธรณวี ทิ ยาและธรณีสัณฐานวิทยา มีผลดีในขอ้ ใดมากท่ีสุด ก.การสารวจและขดุ เจาะ เพือ่ หาทรพั ยากรใตด้ ินเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ข.กาหนดตาแหน่ง เพือ่ การพัฒนาสภาพแวดลอ้ ม ค.มขี อ้ มูลทเี่ ปน็ ตวั เลขตามหลักสถิติ ง.รตู้ าแหน่งเมอื งสาคญั ท่ัวโลก 27.ขอ้ ใด ไม่จดั วา่ เป็นองคป์ ระกอบสาคัญของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ ก.ขอ้ มลู ข.ซอฟตแ์ วร์ ค.ฮาร์ดแวร์ ง.ห้องเครอ่ื ง 28.ระบบการทางานของการถา่ ยรูปทางอากาศทีส่ าคัญที่สุด คอื ข้อใด ก.การใช้เครื่องมอื ถ่ายภาพ ข.การแปลความหมายจากภาพถา่ ย ค.การกาหนดบคุ ลากรท่มี คี วามชานาญในการบนิ ง.การวางแผนการบินและมาตราสว่ นของแผนทลี่ ว่ งหนา้ 29.การบนั ทึกขอ้ มลู ของดาวเทยี มพาสซีพ (Passive) คอื อะไร ก.ระบบที่บันทึกข้อมูลจากการสะท้อนคลื่นแสงในเวลากลางวัน และคลนื่ ความร้อนจาก ดวงอาทิตยใ์ นเวลากลางคืน ข.ระบบที่ดาวเทียมผลติ พลงั งานเองและส่งสัญญาณไปยงั พน้ื โลก แล้วรับสญั ญาณสะทอ้ น กลบั ไปยงั เครื่องรับ ค.ระบบการผลติ พลังงานของดาวเทียมสะท้อนไปยงั ข้อมลู ทตี่ ้องการบนั ทึกภาพถ่าย ง.ระบบการรับข้อมูลจากแสงอาทติ ย์ทีม่ ีคล่นื ความร้อนสง่ ไปยังดาวเทียม 30.การวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากดาวเทียมมีองคป์ ระกอบหลกั ในการวเิ คราะหห์ ลายประการ ยกเว้นขอ้ ใด ก. เนอื้ ภาพ สี ข. ความสูง เงา ค. ตัวเลข นา้ หนัก ง. รูปแบบ ขนาด
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น (Per-test) 1. ค 2. ก 3. ข 4. ง 5. ข 6. ก 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค 11. ข 12. ก 13. ก 14. ง 15. ข 16. ค 17. ข 18. ก 19. ข 20. ค 21. ก 22. ก 23. ง 24. ข 25. ข 26. ง 27. ข 28. ข 29. ก 30. ง เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน (Post-test) 1. ข 2. ก 3. ก 4. ง 5. ข 9. ข 10. ค 6. ค 7. ข 8. ก 14. ข 15. ข 19. ก 20. ง 11. ก 12. ก 13. ง 24. ง 25. ข 29. ก 30. ค 16. ง 17. ข 18. ข 21. ค 22. ก 23. ข 26. ก 27. ง 28. ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: