โครงงานภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6 เรอื่ ง ความงามของภาษา คุณค่าเพลงพระราชนิพนธ์ในรชั กาลที่ 9 สู่ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 คณะผจู้ ัดทา 1. เด็กหญงิ กชามาศ วงศ์หลวง 2. เด็กหญงิ อณิตา อาดา 3. เดก็ หญงิ เขมจิรา บัวหลาม ครูท่ีปรึกษาโครงงาน 1. นางรุ่งทิวา พุ่มพวง 2. นายณฐพงศ์ ศรีนวล โรงเรียนเทศบาล 3 (บุญทวงค์อนุกูล) สงั กัดสานักการศึกษา เทศบาลนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง
โครงงาน กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย เรื่อง ความงามของภาษา คณุ ค่าเพลงพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลที่ 9 สกู่ ารเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 ผู้จัดทา 1. เดก็ หญงิ กชามาศ วงศห์ ลวง 2. เดก็ หญงิ อณิตา อาดา 3. เดก็ หญงิ เขมจิรา บวั หลาม ครูที่ปรกึ ษา 1. นางรุ่งทวิ า พมุ่ พวง 2. นายณฐพงศ์ ศรีนวล โรงเรยี นเทศบาล 3 (บญุ ทวงค์อนุกูล) เทศบาลนครลาปาง ถนนบญุ วาทย์ ตาบลหัวเวียง อาเภอเมอื ง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ 52000 โทรศพั ท์ (054) 217043 โทรสาร (054) 217043 บทคดั ย่อ โครงงานภาษาไทยเรอื่ ง ความงามของภาษา คุณคา่ เพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 สู่ทกั ษะการ เรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 จัดทาข้ึนโดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ศกึ ษาความงามของภาษา และศกึ ษาคุณคา่ ในเพลง พระราชนพิ นธ์ในรัชกาลที่ 9 โดยใช้ทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 จากการศึกษาพบว่า พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร ทรงมีพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีอยา่ งสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะ รวม 48 เพลง ซ่ึง นกั ดนตรที งั้ ไทยและต่างประเทศนาไปบรรเลงอย่างแพร่หลาย เป็นทป่ี ระจักษ์ในพระอจั ฉริยภาพของพระองค์ อีกท้ังยังพบว่า เพลงพระราชนิพนธ์ทั้ง 16 เพลง ที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธท์ านอง และโปรดเกล้าฯให้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จักรพันธ์เพ็ญศิริ ประพันธ์คาร้องเป็นภาษาไทยนั้นปรากฏความงามของ ภาษาในดา้ นตา่ ง ๆ 3 ดา้ น คอื 1) มีการเลน่ เสยี งสมั ผัสทัง้ สมั ผัสนอกและสัมผัสใน สมั ผสั สระ สมั ผัสอักษร 2) มีการใช้คาซ้า มีการใช้คาตรงกันข้าม นอกจากน้ีเพลงพระราชนิพนธ์ท้ัง 16 เพลง ยังปรากฏคุณค่า ด้านตา่ ง ๆ รวม 3 ด้าน คือ คุณค่าดา้ นการใชภ้ าษา คุณค่าด้านศีลธรรม และคุณค่าดา้ นความเชื่อนาไปสู่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ที่นกั เรียนจะตอ้ งมีทักษะในการเรียนรแู้ ละปรบั ตัว พัฒนา สร้างสรรค์และคิดค้น ขอ้ ความรูใ้ หม่ ๆ
กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานกลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 เร่อื ง ความงามของภาษา คุณค่าเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 สู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ฉบับนี้สาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความ กรุณาจาก นายศุภชยั งามเมือง ผอู้ านวยการโรงเรียนเทศบาล 3 (บญุ ทวงค์อนุกูล) ท่ีให้การสนับสนุน ให้ คาปรึกษาและแนะนาแนวทางในการจดั ทาโครงงานในครั้งนี้ ผรู้ ายงานขอกราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง ขอขอบพระคณุ ครูรุ่งทิวา พมุ่ พวง คุณครูณฐพงศ์ ศรีนวล คุณครูที่ปรึกษาโครงงานท่ีให้คาแนะนา ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ในการจัดทาโครงงาน ท้ังในการจัดทารูปเล่มโครงงาน การ นาเสนอโครงงาน เพ่ือจะนาคาแนะนามาพฒั นางานให้สมบูรณ์ยิ่งขน้ึ นอกจากนี้ขอขอบพระคุณคณะครูกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท่ีช่วยแนะนาข้อมลู บางส่วนทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการนาโครงงานมาปรุงปรุงแก้ไขให้ ชัดเจนยงิ่ ขึ้น ผู้จดั ทาร้สู กึ ซาบซง้ึ เปน็ อย่างยิ่งจึงขอกราบขอบพระคณุ อย่างสูงมา ณ โอกาสน้ี คณะผู้จดั ทำ
สารบัญ หน้า บทคดั ยอ่ ง กิตติกรรมประกาศ จ สารบัญ ช บทที่ 1 บทนา 1 1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา 1 วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศกึ ษา 4 ระยะเวลาของการศกึ ษา 4 สถานทใ่ี นการดาเนนิ การศกึ ษา 4 นิยามศพั ท์ 4 ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 5 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 5 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 7 พระอัจฉริยภาพดา้ นดนตรีในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร 9 มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร 9 เพลงพระราชนิพนธ์ท่ีใช้ในการศึกษา 9 ความงามของภาษา 10 คุณค่าคาประพนั ธ์
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ การ 13 วธิ ีดาเนินการ 13 วสั ดุอุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการศึกษา 14 15 บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 15 ผลการศึกษา 30 30 บทท่ี 5 สรปุ ผลการศึกษา 31 สรปุ ผลการศกึ ษา 31 อภิปรายผลการศึกษา 31 ประโยชน์ที่ไดร้ บั 32 ขอ้ เสนอแนะ 33 บรรณานุกรม ภาคผนวก
บทท่ี 1 บทนา ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา เน่ืองจำกทำงคณะผู้จัดทำได้แลเห็นว่ำปัจจุบันน้ีคนเรำมักจะมองข้ำมควำมงดงำมทำงดำ้ นภำษำไป ไม่น้อย ไม่ว่ำจะเป็น กำรเล่นเสียงสัมผัส กำรซ้ำคำ หรือกำรใช้คำตรงกันข้ำม ภำษำจะมีควำมงำมได้เพรำะ ภำษำนั้นประกอบไปด้วยถ้อยคำ ถ้อยคำเหล่ำน้ีคือเสียงที่มีควำมหมำยน้ันเอง หำกเรำสรรถ้อยคำที่มีเสียง ไพเรำะ มีควำมหมำยดีเด่น ให้ภำพชัดเจน และเรียบเรียงให้ถูกต้องตำมหลักเกณฑ์และควำมนิยมของภำษำ โดยอำศัยศิลปะกำรประพันธ์เข้ำช่วย ก็จะก่อให้เกิดควำมงำมของภำษำข้ึนมำได้ แล้วจะทำให้ผู้ศึกษำ ได้ ซำบซงึ้ ในสุนทรยี ภำพของควำมงดงำมทำงด้ำนภำษำ ด้วยเหตุผลนีผ้ ู้ศึกษาจงึ มคี วามประสงค์จะจัดทาโครงงาน ความงามของภาษา คุณค่าเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 สู่กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือ ศกึ ษาความงามของภาษาและคุณค่าในเพลงพระราชนิพนธ์ ตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ผ่านการ อ่านเขียน ทักษะการคิดทักษะการทางาน ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและทักษะการใช้ชีวิต โดย เลอื กศึกษาจากเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรม นาถบพิตรพระราชนิพนธ์ทานองด้วยพระองค์เอง และโปรดเกล้าฯ ให้“พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักร พันธ์เพ็ญศิริ” ประพันธ์คาร้องเป็นภาษาไทย ประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ ซ่ึงนับว่าเป็นบุคคลท่ี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระพันธ์คา รอ้ งเป็นภาษาไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์มากที่สุด คือ มีจานวนท้ังสิ้น 16 เพลงโดยคาร้องทั้ง 16 เพลงนั้นประพันธ์ด้วยภาษาร้อยกรองท่ีสละสลวย มีความหมายงดงามและทรงคุณค่า แก่การศึกษาเพื่อ เผยแพร่ใหป้ รากฏสบื ไป 2. วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 2.1 เพ่ือศกึ ษาความงามของภาษาในเพลงพระราชนพิ นธ์ 2.2 เพือ่ ศกึ ษาคุณค่าในเพลงพระราชนิพนธ์ 2.3 เพือ่ ศกึ ษาเพลงพระราชนพิ นธ์ตามทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
3. ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้า โครงงาน “ความงามของภาษา คณุ ค่าเพลงพระราชนิพนธ์ในรชั กาลที่ 9 สทู่ ักษะการเรยี นรใู้ น ศตวรรษท่ี 21 นี้ ผูศ้ กึ ษามวี ัตถุประสงคใ์ นการศึกษาความงามของภาษาและคุณค่าที่ไดร้ ับจากเพลงพระราช นพิ นธ์ โดยผู้ศกึ ษาได้กาหนดขอบเขตของการศกึ ษาคน้ คว้าไว้ ดังน้ี 2.1ศกึ ษาความงามของภาษาในเพลงพระราชนิพนธ์ 2.2 ศึกษาคุณค่าในเพลงพระราชนพิ นธ์ 2.3 ศกึ ษาเพลงพระราชนพิ นธ์ตามทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ซึ่งในการศกึ ษาคร้งั นี้ ผูศ้ กึ ษาวเิ คราะห์เพลงพระราชนพิ นธท์ ีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธเ์ พญ็ ศิริ ประพนั ธ์คาร้องเปน็ ภาษาไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ จานวนท้งั ส้นิ 16 เพลง ดังนี้ ท่ี ช่อื เพลง ผปู้ ระพนั ธ์คาร้อง ทานอง 1 แสงเทียน พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ จักรพันธ์เพ็ญศริ ิ 2 ยามเยน็ พระบาทสมเดจ็ พระบรม 3 สายฝน พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพนั ธ์เพ็ญศิริ ชนกาธิเบศร มหาภมู ิพล 4 ใกล้รุง่ อดุลยเดชมหาราช 5 ชะตาชีวติ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ จักรพันธ์เพญ็ ศริ ิ บรมนาถบพิตร 6 ดวงใจกับความรกั พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ จกั รพนั ธ์เพญ็ ศริ ิ พระบาทสมเด็จพระบรม รว่ มกับ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราช พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ จกั รพันธเ์ พญ็ ศิริ บรมนาถบพิตร ร่วมกับ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร พระบาทสมเด็จพระบรม พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธเ์ พ็ญศิริ ชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธิเบศร มหาภมู ิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ท่ี ชื่อเพลง ผปู้ ระพันธค์ าร้อง ทานอง 7 อาทติ ย์อับแสง พระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธเ์ พญ็ ศิริ 8 เทวาพาคู่ฝัน พระบาทสมเด็จพระบรม 9 คาหวาน พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจักรพนั ธ์เพ็ญศิริ ชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ล 10 แกว้ ตาขวญั ใจ อดลุ ยเดชมหาราช พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ จักรพนั ธ์เพญ็ ศริ ิ บรมนาถบพติ ร 11 พรปีใหม่ 12 รักคนื เรอื น พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจกั รพนั ธเ์ พญ็ ศิริ พระบาทสมเด็จพระบรม 13 ยามคา่ ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล 14 ยิ้มสู้ อดุลยเดชมหาราช 15 สายลม บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ จกั รพนั ธ์เพ็ญศิริ พระบาทสมเด็จพระบรม พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จกั รพนั ธ์เพ็ญศิริ ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ล พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจกั รพนั ธเ์ พ็ญศิริ อดุลยเดชมหาราช พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพญ็ ศริ ิ บรมนาถบพติ ร พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจักรพันธเ์ พญ็ ศิริ พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ท่ี ช่อื เพลง ผปู้ ระพันธ์คาร้อง ทานอง 16 แสงเดือน พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ จกั รพันธ์เพ็ญศริ ิ พระบาทสมเดจ็ พระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 4. ระยะเวลา โครงงานน้ี ดาเนนิ การในช่วงวันที่ 13 มกราคม ถงึ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 5. สถานท่ี หอ้ งวิชาการ โรงเรียนเทศบาล 3 (บญุ ทวงค์อนุกุล) อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 6. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 6.1 รัชกาลที่ 9 หมายถงึ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร 6.2 เพลงพระราชนิพนธ์ หมายถึง เพลงทีพ่ ระมหากษัตรยิ ์ พระราชนพิ นธ์เนอ้ื พลงและทานอง หรอื อย่างใดอยา่ งหนง่ึ และโปรดเกล้าฯ โดยพระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ จกั รพันธเ์ พ็ญศริ ิ ประพนั ธ์คารอ้ งเปน็ ภาษาไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ โดยมีทั้งหมด 16 เพลง 6.3 ความงามของภาษา หมายถึง ศิลปะในการใช้ภาษา ทเี่ กดิ จากเสียง คา ความหมาย โดย แสดงออกมาเปน็ ภาษาทงั้ รอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ประกอบดว้ ย การเล่นเสยี งสมั ผสั การใช้คาซ้า การใช้คา ตรงกันข้าม 6.4 คณุ ค่าในเพลง หมายถงึ การใชเ้ พลงเป็นเครื่องมอื ส่ือสารความรู้สึกนึกคดิ ถ่ายทอดจินตนาการ สะท้อนภาพด้านตา่ ง ๆ ออกมา ได้แก่ คุณค่าดา้ นการใชภ้ าษา คุณคา่ ด้านศีลธรรม และคุณค่าด้านความเชือ่ 6.5 ทักษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 หมายถึงทกั ษะท่ีจาเปน็ ที่ ทุกคนจะต้องได้รบั การพัฒนาผ่าน กระบวนการอา่ น เขียน การคิด การคิดคานวณ ทักษะในด้านการคิด ทกั ษะการทางาน ทักษะการใช้ เทคโนโลยี และทกั ษะการใช้ชีวติ 7. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั 7.1 สามารถวเิ คราะหค์ วามงามของภาษาในเพลงพระราชนิพนธไ์ ด้อย่างถกู ตอ้ ง 7.2 สามารถบอกคุณคา่ ของเพลงพระราชนพิ นธไ์ ด้ 7.3 สามารถเรียนรูเ้ พลงพระราชนิพนธ์ตามทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
บทท่ี ๒ เอกสารทเี่ ก่ียวข้องกบั การทาโครงงาน การจดั ทาโครงงานความงามทางภาษา คณุ ค่าเพลงพระราชนิพนธใ์ นรชั กาลท่ี 9 สู่ทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 คณะผูจ้ ัดทาได้ศึกษาข้อมลู จากหนงั สอื เพลงพระราชนพิ นธ์ หนงั สอื ทักษะภาษาไทย ข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็ และศึกษาเอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง ดงั นี้ 1. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. พระอัจฉริยภาพด้านดนตรขี องพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 3. เพลงพระราชนพิ นธ์ทใี่ ช้ในการศึกษา 4. ความงามของภาษา 5. คณุ ค่าคาประพนั ธ์ 6. ทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 1. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 จัดขึน้ สาหรับสถานศกึ ษาเพื่อใช้เป็น กรอบและทิศทางในการจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษา และการจดั การเรียนการสอน เพอ่ื พัฒนาเด็ก และเยาวชน ไทยทุกคน ทุกระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐานให้มคี ณุ ภาพด้านความรู้ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชวี ิตใน สังคมที่มีการเปล่ยี นแปลง และแสวงหาความรู้เพ่อื พัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ัดทกี่ าหนดทาให้หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งทุกระดับเห็นผลคาดหวังทต่ี ้องการในการพัฒนา การเรียนรู้ ของผู้เรียนที่ชัดเจน สามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถ่ิน และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนา หลกั สูตรได้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และ เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมอื ในการติดต่อสื่อสาร เพื่อสร้างความ เข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดารงชีวิตร่วมกันในสังคม ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูล สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงทางสังคมและความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ให้มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นสื่อแสดง ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ เปน็ สมบตั ลิ ้าคา่ ควร แก่การเรยี นรู้ อนรุ ักษ์ และสืบสานให้คงอยคู่ ู่ชาตติ ลอดไป
ภาษาไทยเปน็ ทกั ษะท่ีตอ้ งฝกึ ฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่อื การสอ่ื สารการเรียนร้อู ย่างมี ประสิทธิภาพ และเพือ่ นาไปใช้ในชีวติ จรงิ 1. การอา่ นการอ่านออกเสยี งคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพนั ธ์ชนิดต่าง ๆ การอา่ นในใจเพ่อื สรา้ งความเข้าใจ และการคดิ วเิ คราะหส์ ังเคราะหค์ วามรู้จากสิ่งท่ีอา่ น เพ่อื นาไป ปรบั ใช้ใน ชีวิตประจาวนั 2. การเขยี นการเขียนสะกดตามอักขรวธิ ี การเขียนสื่อสาร โดยใชถ้ ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการเขียน ซ่ึงรวมถงึ การเขียนเรียงความ ยอ่ ความ รายงานชนดิ ตา่ งๆการเขยี นตามจนิ ตนาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ 3. การฟงั การดู และการพดู การฟังและดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ การพดู แสดงความคิดเห็น ความรู้สกึ พูดลาดับเรือ่ งราวตา่ งๆ อย่างเปน็ เหตุเปน็ ผล การพดู ในโอกาสตา่ งๆ ทัง้ เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ และการพูดเพ่ือโน้มน้าวใจ 4. หลักการใชภ้ าษาไทยธรรมชาตแิ ละกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใชภ้ าษาให้ถูกต้อง เหมาะสมกับโอกาสและบุคคล การแต่งบทประพนั ธป์ ระเภทต่างๆ และอิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย 5. วรรณคดแี ละวรรณกรรมวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศกึ ษาขอ้ มลู แนวความคิด คุณคา่ ของ งานประพนั ธ์ และความเพลดิ เพลิน การเรยี นรู้และทาความเขา้ ใจ บทเห่ บทร้องเลน่ ของเด็ก เพลง พืน้ บา้ นที่เปน็ ภมู ิปัญญาทม่ี คี ณุ ค่าของไทย ซ่ึงได้ถ่ายทอด ความรู้สึกนกึ คิด ค่านยิ ม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราวของสังคมในอดีต และความงดงาม ของภาษา เพ่ือใหเ้ กดิ ความซาบซงึ้ และภมู ใิ จ ในบรรพบรุ ษุ ท่ไี ด้สัง่ สมสบื ทอดมาจนถึงปจั จุบัน สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ดังนี้ สาระที่ 1การอา่ น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หา ในการดาเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ยั รกั การอ่าน สาระที่ 2การเขียน มาตรฐาน ท 2.1ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่าง มปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี 3 การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1สามารถเลอื กฟงั และดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความร้สู ึกในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระท่ี 4 หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
สาระที่ 5วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ จากการศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สรุปได้วา่ ในการจัดการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยเพ่ือต้องการมุ่งเน้นใหผ้ เู้ รียนมีทักษะ ด้านการอา่ น การเขยี น การฟงั การดู และการพดู รจู้ กั หลักการใช้ภาษาไทย เหน็ คุณคา่ ของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม ซ่งึ เป็นทกั ษะพนื้ ฐานในการเรยี น 2. พระอจั ฉริยภาพด้านดนตรีของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรมีพระอัจฉรยิ ภาพด้านดนตรอี ยา่ งสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอนั ไพเราะ นับแต่พระเยาวจ์ นถงึ ปจั จุบนั รวม 48 เพลง ซ่งึ นกั ดนตรที ัง้ ไทยและต่างประเทศนาไป บรรเลงอยา่ งแพร่หลาย เป็นทีป่ ระจักษ์ในพระอจั ฉรยิ ภาพจนสถาบันดนตรีในออสเตรเลยี ได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมาชกิ ภาพกิตตมิ ศกั ด์ิแด่พระองค์ ทรงมีความสนพระราชหฤทัยในดา้ น ดนตรมี าตัง้ แตย่ งั ทรงพระเยาวแ์ ละยงั ทรงได้รบั การแนะนาการดนตรจี าก พระเจนดุรยิ างค์ ทรงแซกโซโฟน ชาวต่างชาติท่ีเข้ามารบั ราชการในประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ รโปรดเกลา้ ฯ ให้มผี ู้ แตง่ คาร้องประกอบเพลงพระราชนิพนธห์ ลายท่าน ไดแ้ ก่ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจกั รพันธ์เพ็ญศริ ,ิ ศาสตราจารย์ ท่านผหู้ ญงิ นพคุณ ทองใหญ่ ณ อยุธยา, ศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ ณ นคร, ท่านผู้หญิงสม โรจน์ สวสั ดกิ ุล ณ อยธุ ยา, นายศุภร ผลชีวนิ , นายจานง ราชกจิ (จรลั บุณยรตั นพันธ์ุ), หมอ่ มราชวงศเ์ สนีย์ ปราโมช และท่านผู้หญงิ มณรี ัตน์ บุนนาค เพลงพระราชนพิ นธ์ ระหว่างปีพุทธศกั ราช 2489-2538 มี 48 เพลง พระบาทสมเดจ็ พระบรมชน กาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตรทรงมีความรอู้ ย่างแตกฉานในทฤษฎกี ารประพันธ์ ทรง เปน็ ผู้นาในดา้ นการประพนั ธ์ทานองเพลงสากลของเมืองไทย โดยทรงใส่คอรด์ ดนตรีทีแ่ ปลกใหม่และซับซอ้ นทา ให้เกิดเสยี งประสานทีเ่ ขม้ ข้นในดนตรี เมื่อประกอบกบั ลลี าจงั หวะเต้นราทหี่ ลากหลาย ทาให้ทรงพระราช นิพนธเ์ พลงบรรเลงไดอ้ ย่างไพเราหลายบท กลายเป็นเพลงอมตะของไทยในปจั จุบัน นอกจากนี้ยังทรงมี จินตนาการสรา้ งสรรคไ์ ม่ซา้ แบบผู้ใด และแปลกใหม่อยูต่ ลอดเวลา เพลงพระราชนิพนธ์แต่ละเพลงน้นั ลว้ น แสดงออกถึงพระมหากรณุ าธคิ ุณท่มี ีตอ่ พสกนกิ รทุกหมูเ่ หล่าโดยถ้วนหน้า เชน่ เพลงยามเย็น พระราชทานแก่ สมาคมปราบวณั โรค เพือ่ นาออกแสดงเก็บเงนิ บารงุ การกศุ ล เพลงใกล้ร่งุ บรรเลงเป็นปฐมฤกษ์ในงานของ สมาคมเลีย้ งไกแ่ ห่งประเทศไทย เพลงยิม้ สู้ พระราชทานแกโ่ รงเรียนสอนคนตาบอด เพลงลมหนาว พระราชทานในงานประจาปขี องสมาคมนกั เรียนเก่าองั กฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ เพลงพรปีใหม่ พระราชทาน แกพ่ สกนิกรเนื่องในวนั ปใี หม่ เพลงเกดิ เป็นไทยตายเพอ่ื ไทย เพลงความฝันอนั สูงสดุ และเพลงเราสู้ พระราชทานแก่ผ้ปู ฏบิ ัตหิ น้าทีเ่ พอ่ื ประเทศชาติ Kinari Suite พระราชทานเพื่อใชป้ ระกอบการแสดงบลั เล่ต์ชุด มโนราหแ์ ละมเี พลงประจาสถาบันท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน ได้แก่ เพลงมหาจฬุ าลงกรณ์ เพลงธรรมศาสตร์ เพลงเกษตรศาสตร์ เพลงธงชยั เฉลมิ พล ราชวลั ลภ และราชนาวิกโยธิน
พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร ไดท้ รงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ ใหม้ ีการรวมนกั ดนตรสี มัครเลน่ มารวมกันต้ังเปน็ วงขนึ้ เปน็ ครง้ั แรก ประกอบด้วยพระราชวงศ์ ผู้ใหญท่ ท่ี รงคนุ้ เคย และเมือ่ โปรดเกลา้ ฯ ให้จัดตั้งสถานวี ทิ ยุ อ.ส. (อัมพรสถาน) ขึน้ ในปพี ทุ ธศักราช 2495 เพื่อให้เป็นส่ือกลางทีใ่ ห้ความบันเทงิ และสารประโยชน์ในด้านต่าง ๆ พระราชทานชอ่ื ว่า “วงลายคราม” กไ็ ดม้ ี การออกอากาศส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงกบั วงดนตรีต่าง ๆ ดว้ ย ต่อมาโปรดเกล้าฯ ให้นักดนตรีรุ่นหนุ่มมาเลน่ ดนตรีรว่ มกบั วงลายคราม จึงเกิดเป็น วงดนตรี “อ.ส.วนั ศุกร์” ข้ึน โดยมีลักษณะพิเศษคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงร่วม บรรเลงกบั สมาชิกของวง ออกอากาศกระจายเสยี งทางสถานวี ทิ ยปุ ระจาวันศุกร์ และยงั ทรง จดั รายการเพลงเอง ทรงเลือกแผน่ เสียงเองในระยะแรก บางคร้งั กโ็ ปรดเกล้าฯ ให้มกี ารขอ เพลงและจะทรงรับโทรศัพท์ด้วยพระองค์เองทุกวันศุกร์ และวันอาทิตย์เป็นวันฝึกซ้อม ทรงทรัมเปต็ วงดนตรี อ.ส. วนั ศุกร์ ยังเปน็ วงดนตรีท่โี ปรดใหไ้ ปรว่ มบรรเลงในงาน “วันทรงดนตรี” ตามท่ีมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ กราบบงั คมทูลเชิญเสด็จฯ เพื่อทรงสงั สรรค์ร่วมกบั นิสิตนักศึกษา เป็นการส่วนพระองค์ ก่อนที่จะยกเลิกไป เพราะทรงมีพระราชกรณียกิจเพ่ิมมากขนึ้ ในปพี ทุ ธศักราช 2529 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ไดท้ รงตง้ั แตรวง “สหายพัฒนา” ขึน้ อกี วงหนงึ่ โดยโปรดฯ ให้รวบรวมผปู้ ฏบิ ัตริ าชการใกลช้ ิด เบื้องพระยุคลบาท และโดยเสด็จฯในการพฒั นาภมู ภิ าคตา่ ง ๆ เปน็ ประจา เช่น นกั เกษตรหลวง คณะแพทย์ อาสาสมัคร ข้าราชการในพระองค์ ราชองคร์ ักษ์ ตลอดจนเจ้าหน้าที่หน่วยรักษาความปลอดภยั ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ เคยเล่นดนตรีมาก่อน พระราชทานเวลาฝกึ สอนในช่วงเวลาทรงออกพระกาลังในตอนคา่ ของทกุ ๆ วัน ทรงต้งั แตรวงขึ้นสาเร็จ และยังคงเลน่ ดนตรเี ป็นประจาทุกค่าของวนั ศุกร์ และวันอาทติ ย์เปน็ วนั ซ้อมร่วมกบั นักดนตรี อ.ส.วนั ศุกร์ ณ สถานี อ.ส. และเกอื บทุกเยน็ กบั วงสหายพัฒนา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจติ รลดา จนถึงปัจจบุ ัน พระปรีชาสามารถในการทรงดนตรขี อง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอ ดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร เป็นท่ีประจกั ษ์ในนานาประเทศ ดงั ที่จะเหน็ จากการที่ทรงเขา้ รว่ มบรรเลงดนตรนี ้นั ๆ จะมีการเล่นดนตรใี นแบบใด โดยมไิ ดท้ รงเตรียมพระองค์มาก่อน นัก ดนตรีท่มี ชี ่ือเสยี งของโลกล้วนถวายการยกย่อมพระองคใ์ นฐานะทรงเปน็ นกั ดนตรี แจ๊สผ้มู ีอัจฉรยิ ภาพสงู ส่ง ดงั เชน่ เมื่อครงั้ เสด็จพระราชดาเนินประเทศออสเตรยี เม่อื เดอื น ทรงเปยี โน ตุลาคม พุทธศักราช 2507 ประธานสถาบนั การดนตรแี ละศิลปะแห่งกรงุ เวียนนาได้ทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศกั ดแ์ิ ดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ในฐานะทท่ี รงเปน็ สมาชิกหมายเลข 23 ซึ่งผทู้ ่จี ะ ได้รบั เกียรตเิ ปน็ สมาชิกกติ ติมศักดิแ์ ห่งสถาบนั น้ไี ด้ ส่วนใหญ่เป็นผู้มอี าชพี และผลงานดา้ นดนตรแี ละศิลปะ ดเี ด่นเป็นทีย่ อมรับของชาวโลกทัง้ สิ้น กล่าวโดยสรปุ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงเป็นคตี กวแี ละนกั ดนตรที ีช่ าวโลกยกยอ่ ง ทรงพระปรีชาสามารถในการทรงดนตรี พระราชนิพนธเ์ พลง และ เรยี บเรยี งเสยี งประสาน ทรงเป็นครสู อนดนตรีแกข่ ้าราชบรพิ ารใกล้ชดิ และทรงซ่อมเคร่อื งดนตรไี ดด้ ้วย พระองค์เอง รวมทงั้ ทรงเชย่ี วชาญในศิลปะแขนงตา่ ง ๆ อย่างแท้จรงิ สมกบั ทพ่ี สกนกิ รชาวไทยนอ้ มเกล้านอ้ ม กระหมอ่ มถวายพระราชสมญั ญาวา่ “อัครศิลปิน”
3. เพลงพระราชนิพนธ์ทใ่ี ช้ในการศึกษาค้นควา้ เพลงพระราชนิพนธ์ หมายถึง เพลงท่ีพระมหากษัตรยิ ท์ รงพระราชนิพนธ์ (แตง่ ) ข้นึ อาจจะเป็น ทานองหรือเนอ้ื ร้อง เพลงที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงพระราชนพิ นธ์ มที ้งั ส้นิ 48 เพลง เป็นเพลง ทท่ี รงพระราชนิพนธ์ทานองเพลงแลว้ จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้มีผูอ้ ื่น แต่งคารอ้ งประกอบเพลงพระราชนิพนธห์ ลายทา่ น ซึง่ ในโครงงานนีจ้ ะศึกษาความงามของภาษาและคุณค่าใน เพลงพระราชนพิ นธ์ ทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั โปรดเกล้าฯ ให้ “พระเจ้าววรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าจักร พนั ธ์เพ็ญศิร”ิ ประพนั ธค์ ารอ้ งเป็นภาษาไทยประกอบเพลงพระราชนิพนธ์ จานวนทั้งสิน้ 16 เพลง ดงั นี้ 1. แสงเทยี น 2. ยามเย็น 3. สายฝน 4. ใกล้ร่งุ 5. ชะตาชวี ติ 6. ดวงใจกบั ความรัก 7. อาทติ ยอ์ บั แสง 8. เทวดาพาคฝู่ นั 9. คาหวาน 10. แกว้ ตาขวัญใจ 11. พรปีใหม่ 12. รกั คืนเรอื น 13. ยามค่า 14. ยิ้มสู้ 15. สายลม 16. แสงเดือน จากความหมายของเพลงพระราชนพิ นธ์ พอสรปุ ได้วา่ เปน็ เพลงท่พี ระมหากษัตรยิ ท์ รงพระราชนพิ นธ์ (แตง่ ) ขนึ้ อาจจะเปน็ ทานองหรอื เนอื้ ร้อง มคี วามงามของภาษาและคณุ คา่ ในเพลงพระราชนพิ นธโ์ ดยผู้ศกึ ษา เลือกศึกษาเพลงพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลท่ี 9 จานวนทั้งสิน้ 16 เพลง 4. ความงามของภาษา ความงามของภาษาสามารถพจิ ารณาในดา้ นตา่ ง ๆ ได้ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1การเล่นเสยี ง สัมผสั คือ ลักษณะท่ีบังคบั ให้ใช้คาที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน สัมผสั เป็น ลักษณะท่ีสาคญั มากในรอ้ ยกรองของไทย คาประพันธท์ ุกชนดิ ตอ้ งมีสัมผสั ชนดิ ของสมั ผัสท่ีควรรู้จักมดี ังน้ี 4.1.1 สัมผสั สระ ได้แก่ คาตงั้ แต่ 2 คาขน้ึ ไป ทม่ี ีเสยี งสระพ้องกนั หรือคลอ้ งจอง กนั ตามมาตรา ถา้ เปน็ คาที่มตี วั สะกดกต็ อ้ งเปน็ ตวั สะกดในมาตราเดียวกนั เช่น กา-มา, ไป-ไหน 4.1.2 สัมผสั อักษร ได้แก่ คาที่ใช้พยญั ชนะตน้ เสียงเดยี วกนั อาจเปน็ พยัญชนะตวั เดียวกนั หรือเป็นพยัญชนะเสียงสูงต่าเข้าคู่กันก็ได้ เช่น ข-ค, ส-ซ, ฉ-ช หรือพยัญชนะควบชุดเดียวกันก็ได้ เช่น กร ตรปล พล 4.1.3 สัมผัสนอก เป็นสัมผัสบังคับ ได้แก่ สัมผัสท่ีส่งและรับกันนอกวรรค หรือ สัมผัสระหว่างบทซ่ึงแต่ละชนิดคาประพันธ์จะกาหนดตาแหน่งในการสัมผัสบังคับทางฉันทลักษณ์ไว้ เช่น ใน กลอนแปด กาพย์ยานี โคลงสส่ี ภุ าพ เป็นตน้ โดยสมั ผัสนอกนี้จะเปน็ สมั ผัสสระ 4.1.4 สัมผัสใน เป็นสัมผัสไม่บังคับ มีคาท่ีสัมผัสคล้องจองกันอยู่ภายในวรรค เดียวกันอาจเป็นสัมผัสสระ หรือสัมผัสอักษรก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสมและความพอใจของผู้แต่ง สัมผัสใน ชว่ ยใหบ้ ทร้อยกรองไพเราะข้นึ
4.2 การซ้าคา เป็นการเลือกใช้ถ้อยคาอีกลักษณะหนึ่งท่ีทาให้เกิดความงามของภาษา เพื่อ ย้าคาและความหมายของคาให้เด่นชัดข้ึน ทาได้โดยการนาคาเดียวกันมาใช้ซ้าๆ เพื่อย้าความหมายของคา ประพันธใ์ ห้มคี วามเดน่ ชัดยิ่งขึน้ เช่น ทิง้ อดีตอนั มากมายไหวขา้ งหลัง หวงั ความหวงั หวงั ท่ีมีหวงั ว่า 4.3คาตรงกนั ข้าม (ปฏิพากษ)์ คือการใช้ถอ้ ยคาที่มีความหมายตรงข้ามกันหรือขดั ยงั กัน มา กลา่ วอยา่ งกลมกลืนกัน ภาพพจน์ประเภทนีต้ ้องวิเคราะหค์ วามหมายใหล้ ึกลงไปจึงจะเขา้ ใจ เพราะมกั จะกลา่ ว ในเชิงปรัชญา เชน่ ย่ิงรีบกย็ ่ิงชา้ เป็นความมดื ทเี่ ว้ิงวา้ งสวา่ งไสว จากความงามของภาษา สรุปได้ว่า ในบทเพลงพระราชนิพนธ์ผู้ศึกษาได้พิจารณาด้านต่าง ๆ ดังน้ี การเล่นเสียงสัมผสั ทั้งสัมผสั สระ สัมผัสอกั ษร สมั ผสั นอก และสัมผสั ในนอกจากนย้ี งั มีการศึกษาการใชค้ าซ้า การใชค้ าตรงกันขา้ มในบทเพลงพระราชนิพนธ์ 5. คณุ คา่ คาประพันธ์ เพลง นับเป็นวรรณกรรมประเภทหนึ่งท่ีผ่านการกลั่นกรองทางภาษาและความคิดถ่ายทอดออกมา เปน็ บทเพลง การร้องเพลงจงึ เปน็ กจิ กรรมที่สาคัญกิจกรรมหน่งึ ของมนุษยเ์ ป็นสือ่ เพอ่ื กอ่ ใหเ้ กิดความสนุกสนาน เบิกบาน ผ่อนคลายอารมณ์ สรา้ งความสดช่ืนกระปรี้กระเปร่ามีชีวติ ชีวา อักทั้งยงั ก่อให้เกิดการเรียนรู้ในเร่ือง ต่างๆ บทเพลงน้นั เป็นการสื่อสารที่เกิดข้นึ มาพรอ้ มกับทมี่ นษุ ย์มีระบบเสียงในการสื่อความหมาย สมัยก่อนน้ัน มนุษย์ใช้ภาษาบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมให้เป็นลายลักษณ์อักษรประกอบกับสุนทรียภาพทาง อารมณ์ของมนุษย์และความละเอียดอ่อน ทาให้มนุษย์เรียงถ้อยร้อยความแล้วนามาผสมผสานเข้ากับ ท่วงทานอง จังหวะ และดนตรีทาให้เกิดความไพเราะ จนสื่ออารมณ์ความรู้สึกนึกคิดของผู้เขียนบทเพลงไปยัง ผู้ฟงั ไดอ้ ยา่ งลกึ ซง้ื ด้วยเหตุนี้ บทเพลงจึงเป็นเคร่ืองมือสื่อสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจินตนาการและแสดงออกซึ่ง ศิลปะอนั งดงาม การศกึ ษาหรืออ่านวรรณกรรมแต่ละเรอ่ื งทาใหผ้ ู้อา่ นมองเห็นภาพสังคม วฒั นธรรม การเมอื ง และเศรษฐกิจ ของยุคสมัยที่ผู้ประพันธ์ได้สะท้อนผ่านมุมมองของตนออกมา โดยอาจพิจารณาถึงคุณค่าทาง ภาษาของบทเพลงในดา้ นตา่ งๆ ไดด้ ังน้ี 5.1 คณุ ค่าด้านการใช้ภาษา เพราะการเขียนเป็นการถ่ายทอดความคิด เป็นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เพ่ือรสชาติทาง ภาษา เพือ่ จูงใจเพื่อความติดใจและประทับใจ ทาให้ผอู้ ่านสามารถสงั เกต จดจานาไปใชก้ ่อให้เกิดการใชภ้ าษาท่ี ดี เพราะการเห็นแบบอย่างทั้งท่ีดีทั้งการใช้คา การใช้ประโยค การใช้โวหาร อาจแบ่งได้เป็นลักษณะของการ เลน่ เสียงสัมผสั การใชค้ าซ้า การใชค้ าตรงกนั ข้าม การใช้คากล่าวเปรียบเทียบ เป็นตน้ 5.2 คุณค่าดา้ นศีลธรรม คาประพนั ธ์หน่ึงๆ อาจจะมีคติหรอื แง่คิดอย่างหนง่ึ แทรกไว้ อาจจะเป็นเน้ือเรื่องหรอื เปน็ คติ คาสอนระหว่างบรรทัด ซึ่งคาประพันธ์แตล่ ะเร่ืองให้แงค่ ิดไม่เหมอื นกนั โดยผู้อ่านอาจพจิ ารณาไดห้ ลายๆ ดา้ น ท้ังในเร่ืองของสงั คม คา่ นิยม บุคคล ฐานะ และทางแนวคิดและจดุ ประสงค์ของผู้แตง่ วา่ เพอ่ื อะไร
5.3 คุณค่าด้านความเชอ่ื และค่านยิ ม คาประพันธ์อาจ ทาหน้าท่ีผู้สืบต่อ ความเชื่อของชาติจากคนรุ่นหน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง เป็น สายใยเช่ือมโยงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ ในคาประพันธ์มักจะบ่งบอกคติของคนในชาติไว้ อย่างไรก็ตามคุณค่าทาง ค่านิยมและความเชื่อน้ีเป็นเร่ืองเฉพาะของแต่ละสังคม ถ้าสามารถสร้างให้เกิด ความรู้สึกที่เป็นสากล คือมอี ุดมคติเป็นกลาง สามารถเป็นท่ียดึ ถือของทุกสังคม ก็นบั เป็นคณุ คา่ ทางคา่ นิยมและ ความเช่ือท่ีถือเป็นความสามารถอย่างยิ่ง และท่ีสาคัญวัฒนธรรมอยู่ได้เป็นส่วนหนึ่งก็เพราะมี คาประพันธ์ บันทึกไว้เป็นหลักฐาน กล่าวอีกนัยหนึ่ง จะโดยรู้สึกตนหรือไม่ก็ตาม นักประพันธ์ย่อมจะแต่งเรื่องที่กล่าวถึง วฒั นธรรมของตน (และอาจจะของผอู้ ่ืนด้วย) และในบางคร้งั บางคราว เม่ือแปลหรือเรยี บเรียงหรือเอาเค้าเดิม มาจากคาประพันธ์ต่างประเทศ ก็จะกล่าวถึงวัฒนธรรมของต่างประเทศเท่าที่ตนรู้และเข้าใจด้วย ผู้อ่านก็จะ เกิดความรืน่ รมยแ์ ละชนื่ ชมหรอื แปลกประหลาดไปกบั วฒั นธรรมนั้นๆด้วย กล่าวโดยสรุปได้ว่า คุณค่าของคาประพันธ์ในภาษาของเพลงพระราชนิพนธ์ อยู่ในบทเพลงซ่ึงเป็น เครื่องมือสื่อสารความรู้สึกนึกคิดถ่ายทอดจินตนาการและแสดงออกซ่ึงศิลปะอันงดงาม การศึกษาหรืออ่าน วรรณกรรมแต่ละเรื่องทาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพสังคม วัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจ ของยุคสมัยท่ี ผู้ประพนั ธไ์ ด้สะท้อนผ่านมุมมองของตนออกมา โดยอาจพิจารณาถงึ คณุ ค่าทางภาษาของบทเพลงในด้านต่างๆ ได้ดงั น้ี คือ คณุ ค่าดา้ นภาษา คุณคา่ ดา้ นศีลธรรมและคณุ ค่าด้านความเชอ่ื คา่ นิยม 6. ทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21หมายถงึ ทักษะพนื้ ฐานในการเรยี นร้สู ิง่ ตา่ ง ๆ อย่างรอบดา้ น ได้แก่ สามารถค้นคว้า ใฝห่ าความรจู้ ากทรัพยากรการเรียนรู้และแหล่งเรียนรทู้ ่ีหลากหลายผา่ นการอา่ นออกเขียนได้ การคดิ คานวณ การใชเ้ หตผุ ลทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทกั ษะการคิด ได้แก่ สามารถใชเ้ หตผุ ลและความคิดใน การวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างดี ทักษะการทางาน ไดแ้ ก่ สามารถประยกุ ต์ใชค้ วามรู้และทกั ษะในการทางาน การตดิ ต่อส่อื สาร การทางานเป็นทีม แสดงภาวะ ผ้นู าและความรับผิดชอบ มีความยดื หยุ่นและปรบั ตวั ได้ดี รเิ รมิ่ งานและดูแลตนเองได้ อดทนและขยันทางาน หนัก ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ไดแ้ ก่ สามารถรับรู้ เข้าใจการใช้และการจัดการส่อื สารสนเทศ เปิด ใจรับสารและเทคโนโลยสี มัยใหม่อย่างเท่าทนั สามารถบริหารจดั การเทคโนโลยี เรียนรเู้ ทคนิควิทยาการต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสามารถนาข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และเป็นประโยชน์ท้ังต่อ ตนเองและผูอ้ ื่น ทกั ษะการใช้ชวี ิต ได้แก่ สามารถแสวงหาความรู้ นาตนเองในการเรยี นรู้ได้ มีความมั่นใจใน ตัวเอง กระตือรือร้นในความรู้ เป็นผผู้ ลิตมุ่งความเป็นเลศิ สามารถดารงชวี ิตด้วยความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง และผู้อน่ื เปน็ พลเมอื งท่ีดี ร้แู ละเคารพกตกิ า มรี ะเบียบวนิ ัย คานึงถึงสังคม คิดถงึ ภาพรวมโลก มีคุณธรรม ยดึ มน่ั ในสันตธิ รรม มคี วามเป็นไทย เข้าใจความหลากหลายทางวฒั นธรรม และแบง่ ปันประสบการณ์
กลา่ วโดยสรุป การเรยี นรูใ้ นทกั ษะศตวรรษที่ 21 คือการสง่ เสริมทกั ษะการเรียนรูต้ ลอดชีวิต ที่ทุกคน จะตอ้ งไดร้ บั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการอ่าน เขยี น การคดิ คานวณ โดยใชท้ ักษะในด้านการคิดวเิ คราะห์ คิด สร้างสรรค์ แกป้ ญั หาได้ ทกั ษะการทางาน ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยี และทักษะการใช้ชวี ติ ทางานไดเ้ ปน็ ทมี รับผิดชอบตอ่ ส่วนรวม คานึงถงึ สังคม มีคณุ ธรรมดารงชวี ิตร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมีความสขุ
บทที่ 3 วธิ ีดาเนนิ งาน 3.1 การดาเนินงาน มขี ้ันตอนในการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. ผู้ศึกษานาเสนอหัวข้อโครงงานต่ออาจารย์ทีป่ รกึ ษาเพอ่ื ขอคาแนะนา และกาหนดขอบเขต ในการทาโครงงาน 2. ผ้ศู กึ ษาร่วมกันประชมุ วางแผนวิเคราะหต์ ามหัวข้อวัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 3. ผูศ้ ึกษารว่ มกันคน้ คว้าขอ้ มูลรายละเอยี ดเกี่ยวกับเพลงพระราชนิพนธ์จากหนังสือ ส่อื ตา่ งๆ และเวป็ ไซต์ในอนิ เตอรเ์ น็ต 4. เกบ็ รวบรวบข้อมลู เกยี่ วกบั เพลงพระราชนพิ นธ์ท่เี ก่ียวข้องกับ โครงงานเพ่อื มาวเิ คราะห์และสรปุ เน้ือหาท่สี าคญั ทจ่ี ะนามาจดั ทา โครงงาน 5. นาขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้มาจดั พมิ พ์เปน็ รปู เล่ม 6. ตรวจสอบความสมบรู ณ์ ความถกู ตอ้ งของโครงงาน แก้ไขข้อผิดพลาด
7. จัดทาส่อื ต่างๆ เพ่ือใช้ประกอบการรายงานผลการดาเนินงาน ไดแ้ ก่ ปา้ ยนิเทศนาเสนอโครงงาน แผน่ พับ และป๊อบอพั เพลงพระราชนิพนธ์ 8. นาเสนอผลงานตอ่ อาจารย์ที่ปรกึ ษาเพอ่ื รายงานผลการดาเนินงาน 9. เผยแพร่โครงงานภาษาไทย ให้กับเพื่อนๆพี่ๆน้องๆและผู้ท่ีสนใจ ท้ังนี้ เพื่อเป็นการเผยแพร่ พระอัจฉริยภาพทางดนตรีเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 และยังเป็นการถ่ายทอดความรู้เร่ืองความงาม และคุณค่าของภาษาผ่านการเรยี นร้ใู นทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ใหบ้ ุคคลอ่นื ๆ โดยได้ดาเนินการ ดงั นี้ 1) จัดทาสมดุ เลม่ เล็กสอนร้องเพลงพระราชนพิ นธใ์ นชั้นเรียนใหก้ บั เพ่ือนๆ โดยขออนุญาตครู ประจากล่มุ สาระการเรียนรู้ 2) จดั ทาทาแผน่ พบั เพ่อื ทาเสนอโครงงานแจกให้ผทู้ ่ีสนใจ 3) จัดทาสื่อการเรียนรู้เร่ืองความงามและคุณค่าของภาษา เพ่ือช่วยอธิบายหลักภาษาให้ เข้าใจง่าย 4) นาเสนอโครงงานภาษาไทยท่หี น้าเสาธงกบั นักเรยี นทงั้ โรงเรียน 5) เผยแพร่ผลงานจากคิวอาร์โค้ดการจัดทาโครงงานความงามภาษา คุณค่าเพลงพระราช นิพนธใ์ นรัชกาลที่ 9 สู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3.2 วัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีใช้ในการศึกษา 1. หนงั สือเพลงพระราชนพิ นธ์ 2. หนังสือทกั ษะภาษาไทย 3. คอมพวิ เตอร์ 4. ดนิ สอ ปากกา และยางลบ 5.ป้ายนเิ ทศ 6. กรรไกร และ คัดเตอร์ 7. กระดาษ A4 8. กระดาษสที าปก แผน่ พับ และตกแตง่ ป้ายนเิ ทศ 9. เครอ่ื งเยบ็ กระดาษและลวดเยบ็ กระดาษ
บทที่ 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ จากการศกึ ษาโครงงาน “ความงามของภาษา คุณคา่ ของเพลงพระราชนิพนธ์ในรชั กาลท่ี 9 ส่ทู ักษะ การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ” โดยมวี ัตถุประสงค์ของโครงงาน คอื 1. เพื่อศกึ ษาความงามของภาษาในเพลงพระราชนพิ นธ์ 2. เพือ่ ศกึ ษาคุณค่าในเพลงพระราชนพิ นธ์ 3. เพ่ือศกึ ษาเพลงพระราชนิพนธ์ตามทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ผลการศึกษา พบว่า 1. ผลการศึกษาความงามของภาษาในเพลงพระราชนพิ นธ์ เพลงพระราชนิพนธ์ปรากฏความงามของภาษาในด้านตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.1 การเล่นเสยี งสัมผัส 1. สัมผสั นอก คือ คาท่ีคลอ้ งจองกันมี 2 ลักษณะ คือ สมั ผัสระหว่างวรรค มกั พบในรอ้ ยกรอง ทุกชนิด และสมั ผัสระหวา่ งบท พบในรอ้ ยกรองท่ีมมี ากกว่า 1 บท จะมคี าส่งสัมผัสในบทต่อไป ซ่งึ เพลง พระราชนพิ นธใ์ นรัชกาลท่ี 9 ทป่ี ระพันธ์คาร้องโดย พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ จักรพนั ธ์เพญ็ ศิริ ทัง้ 16 เพลง ปรากฏสัมผัสนอกทุกเพลง โดยสามารถยกตวั อยา่ งของท้ัง 16 เพลงท่ีปรากฏสัมผัสนอกได้ดังน้ี แดดรอนรอน เม่อื ทินกรจะลาโลกไปไกล ยามนี้จาตอ้ งพรากจากดวงใจ ไกลแสนไกลสุดห่วงยอดดวงตา แต่ก่อนเคยคลอเคลยี กนั ทุกวันคนื รื่นอุรา ต้องอยู่เดียวเปล่ยี ววิญญาณ์ เหมอื นดงั นภาไรท้ ินกร เม่ือลมฝนบนฟา้ มาล่ิว เพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเยน็ ” ต้นไม้พลวิ้ ล่กู ง่ิ ใบ เหมอื นจะเอนรากคลอนถอนไป แตเ่ หล่าไม้ยิ่งกลับงาม พระพรหมชว่ ยทา่ นบันดาลใหฝ้ นหลง่ั เพือ่ ประทงั ชวี ติ มทิ ราม นา้ ทิพย์สาดเป็นสายพรายพล้วิ ทิวงาม ทัว่ เขตคามชมุ่ ธารา เพลงพระราชนพิ นธ์ “สายฝน”
ได้ยนิ เสียงแวว่ ดงั แผ่วมาแตไ่ กลไกล ชมุ่ ชืน่ ฤทัยหวานใดจะปาน ฟังเสียงบรรเลงขบั เพลงประสาน จากทิพย์วิมานประทานกลอ่ มใจ ใกลย้ ามเมือ่ แสงทองส่อง ฉนั คอยมองจอ้ งฟ้าเรืองรองราไร ลมโบกโชยมาหนาวใจ รอช้าเพียงไรตะวนั จะมา นกน้อยคลอ้ ยบินมาเดยี วดาย เพลงพระราชนพิ นธ์ “ใกล้รุง่ ” คิดคดิ มวิ ายกังวลใหห้ ม่นฤทยั หมอง ขาดมวลมติ รไรค้ นสนทิ คู่เคียงครอง หลงใหลหมายปองคนปรานี ขาดเรือนแหลง่ พกั พานักนอน ขากญาติมติ รบิดรและนอ้ งพี่ บาปกรรมคงมีจาทนระทม คา่ คนื นภาดาราพราว เพลงพระราชนิพนธ์ “ชะตาชีวิต” ประกายแสงดาวพราวตา ดาษเรยี งเคียงแสงดวงจันทรา เพลนิ ชมแสงพรายนภาเห็นดวงดาราล้อมจันทร์ ทจ่ี รงิ น้ันเดือนและดวงดาว ตา่ งเรอื งแสงวาวพราวพรรณ ดว้ ยแรงจากแสงดวงตะวนั จงึ มแี สงเดือนงามครนั แสงดาวประชันน่าชม เพลงพระราชนิพนธ์ “ดวงใจกบั ความรกั ” เคยชม ร่วมภิรมยใ์ จ ดว้ ยความรักจริงย่ิงใหญ่ ผกู พันหัวใจเรามั่น รักเอย เคยอย่เู คียงกัน รว่ มเยน็ มเิ วน้ วายวัน ด้วยความสัมพนั ธ์ยืนยง เพลงพระราชนพิ นธ์ “อาทติ ยอ์ ับแสง”
ชา่ งงามทัศน์ทวิ เขตคามงดงามน่าดู ทัง้ มวลลน้ เปน็ คชู่ ีวิตชูเชยชมร่มรืน่ แตฉ่ นั ดวงใจผูกพนั ใฝ่ฝันทุกคืน เฝา้ ปองเคยี งครองคู่ชืน่ ใหร้ นื่ เรงิ ใจ โลกนัน้ ดงั เมอื งสวรรคเ์ ทวัญสร้างไว้ พศิ ดเู ปน็ คูท่ ุกส่ิงลว้ นมรี ักจริงยิ่งใหญ่ อันธรรมชาติไซร้ ใช้แรงความรกั ความใคร่ย้อมชวี ิตใหย้ นื ยง ไดย้ ินเพลงหวานกอ้ ง เพลงพระราชนิพนธ์ “เทวาพาคู่ฝัน” ถอ้ ยทานองร้องราพนั ฝากความรักไว้มนั่ ด้วยถ้อยอันอ่อนหวาน เปรยี บดงั เพลงทพิ ย์มา จากฟากฟา้ บนั ดาล เสยี งเพลงปานเพลงวมิ าน ประทานมากลอ่ ม เพลงพระราชนิพนธ์ “คาหวาน” แก้วตาขวัญใจเธออยู่แหง่ ใดขวญั เอย ขาดชู้คเู่ ชยรักเอยเดยี วดาย เฝา้ คอยรกั เศรา้ เหงาใจแสนหนา่ ย เปลยี่ วปานชวี าวางวายคลาสขุ ตรม โอเ้ วรไหนมาพาโชคชะตาแสนชว่ั โลกนี้มืดมัวหวาดกลวั ระทม ไดแ้ ตห่ วังนัง่ แตฝ่ ันคอยคขู่ วญั ดันอกตรม รอ้ นอารมณ์หวังชมชดิ เชยดวงใจ สวสั ดวี นั ปีใหมพ่ า เพลงพระราชนพิ นธ์ “แกว้ ตาขวัญใจ” ให้บรรดาเราทา่ นร่ืนรมย์ ฤกษย์ ามดเี ปรมปรดี ์ิชืน่ ชม ตา่ งสขุ สมนิยมยินดี ขา้ วิงวอนขอพรจากฟ้า ใหบ้ รรดาปวงทา่ นสขุ ศรี โปรดประทานพรโดยปรานี ให้ชาวไทยล้านมีโชคชยั เพลงพระราชนพิ นธ์ “พรปีใหม”่
โอร้ ักเอย๋ รักเคยชดิ เชยชูชนื่ สดุ หวานอมสุดขมกลนื สดุ รกั ยนื ย่ิงยง เม่อื รักหวาน รกั ปานดงั ลมบนสง่ โบกพดั ไปให้รักคง ล่วิ พดั ตรงทศิ ทาง ยามประกายแสงทองส่อง เพลงพระราชนพิ นธ์ “รกั คืนเรอื น” งามเรืองผอ่ งนภา ประเทืองผองมวลชีวา ดังพรจากฟ้าเสกมาให้ ยามประกายแสงเดือนส่อง ยามนวลผอ่ งฟา้ ไกล ชื่นชมสมดงั ดวงใจ สบสุขสดุ ใสหทัยบาน โลกจะสุขสบายนนั้ เปน็ ได้หลายทาง เพลงพระราชนิพนธ์ “ยามคา่ ” ตอ้ งหลบส่ิงกีดขวางหนทางใหพ้ น้ ไป จะสบความสุขสันต์สาคัญที่ใจ สขุ และทุกข์อย่างไรเพราะใจตนเอง ฝ่าลู่ทางชีวิตตอ้ งคิดเฝา้ ยอ้ มใจ โลกมดื มนเพียงใดหวั ใจอยา่ คลา้ มเกรง ตง้ั หนา้ ช่นื เอาไวย้ ้อมใจดว้ ยเพลง ไยนึกกลัวหวาดเกรงยิม้ สู้ ทา่ มกลางฟากฟา้ มวั หม่น เพลงพระราชนพิ นธ์ “ย้มิ สู้” ล่ิวลมหลง่ั ฝนโปรยทัว่ เยอื กเย็นชพี เฉาเมามัว จติ ใจไหวหวาดกลวั หวน่ั ฟ้าคารามลน่ั โรจนเ์ รอื งแปลบแสงฟา้ ผา่ ลอ่ งลอยล่วิ มาเสยี งสนน่ั โอล้ มหนอลมพดั คนื วัน โบกโบยเพียงไหนกันพดั จนไมร่ ู้วนั สงบเอย เพลงพระราชนิพนธ์ “สายลม”
นวล...แสงนวลผอ่ งงามตา แสงจันทรา...สอ่ งเรอื งฟากฟ้าไกล งาม...แสงงามผ่องอาไพ ยอ้ มดวงใจ...ใหค้ งคลัง่ ไคล้เดอื น เพลนิ พิศเพลนิ อยู.่ ..ไม่รูล้ ืมเลอื น ชมแลว้ ชมเล่าเฝา้ ชะแง้แลดู แสงจันทร์เพ็ญ....เดน่ งามใดจะเหมือน เดอื น...แสงเดอื นผ่องวนั เพ็ญ เพลงพระราชนพิ นธ์ “แสงเดือน” 2. สัมผัสใน คอื คาท่ีคลอ้ งจองกันดว้ ยเสยี งสระหรอื พยัญชนะ แบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ สัมผัส สระและสัมผสั อกั ษร ซ่งึ เพลงพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวที่ ประพนั ธค์ าร้องโดย พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าจกั รพนั ธ์เพ็ญศิริ ทั้ง 16 เพลง ปรากฏสมั ผัสในทกุ เพลง โดยสามารถ ยกตวั อยา่ งบางตอนของทง้ั 16 เพลง ทป่ี รากฏสัมผสั ในทงั้ สมั ผัสสระและสมั ผัสอกั ษร ไดด้ งั นี้ 2.1 สัมผัสสระ จดุ เทยี นบวงสรวงปวงเทพเจ้า สวดมนต์คา่ เช้าถึงคราวระทมทน โอช้ วี ิตหนอลว้ นรอความตายทุกคน หลีกไปไมพ่ ้นทกุ ขท์ นอาทรร้อนใจ ตา่ งคนเกิดแลว้ ตายไป ชดใช้เวรกรรมจากจร แดดรอนรอน เพลงพระราชนิพนธ์ “แสงเทียน” เมื่อทินกรจะลาโลกไปไกล ยามนีจ้ าตอ้ งพรากจากดวงใจ ไกลแสนไกลสดุ หว่ งยอดดวงตา เมอื่ ลมฝนบนฟา้ มาล่ิว เพลงพระราชนิพนธ์ “ยามเย็น” ตน้ ไม้พลว้ิ ลู่ก่ิงใบ เหมอื นจะเอนรากคลอนถอนไป แตเ่ หล่าไมย้ ิง่ กลับงาม เพลงพระราชนพิ นธ์ “สายฝน” ได้ยินเสยี งแว่วดังแผว่ มาแต่ไกลไกล ชมุ่ ชืน่ ฤทัยหวานใดจะปาน ฟังเสียงบรรเลงขบั เพลงประสาน จากทพิ ย์วิมานประทานกล่อมใจ เพลงพระราชนพิ นธ์ “ใกลร้ ุ่ง”
นกน้อยคลอ้ ยบนิ มาเดยี วดาย คดิ คดิ มวิ ายกงั วลใหห้ ม่นฤทยั หมอง ขาดมวลมิตรไรค้ นสนทิ คู่เคยี งครอง หลงใหลหมายปองคนปรานี คา่ คนื นภาดาราพราว เพลงพระราชนพิ นธ์ “ชะตาชีวิต” ประกายแสงดาวพราวตา ดาษเรียงเคยี งแสงดวงจันทรา เพลินชมแสงพรายนภาเหน็ ดวงดาราลอ้ มจันทร์ เพลงพระราชนพิ นธ์ “ดวงใจกับความรกั ” ร้างกัน วนั หา่ งไปไกล มืดมนหมองมัวปานใด เยือกเย็นเข็ญใจรัญจวน เพลงพระราชนิพนธ์ “อาทิตย์อับแสง” ชา่ งงามทัศน์ทิวเขตคามงดงามนา่ ดู ทง้ั มวลลว้ นเป็นคู่ชวี ิตชูเชยชมรมย์รืน่ แตฉ่ นั ดวงใจผกู พนั ใฝ่ฝนั ทกุ คืน เฝ้าปองเคียงครองคชู่ นื่ ใหร้ น่ื เริงใจ ได้ยนิ เพลงหวานก้อง เพลงพระราชนพิ นธ์ “เทวาพาคู่ฝนั ” ถ้อยทานองรอ้ งราพนั ฝากความรักไวม้ ่ัน ด้วยถ้อยอันอ่อนหวาน เพลงพระราชนพิ นธ์ “คาหวาน” แกว้ ตาขวัญใจเธออยู่แหง่ ใดขวญั เอย ขาดชู้คูเ่ ชยรักเอยเดียวดาย เฝ้าคอยรักเศร้าเหงาใจแสนหน่าย เปลย่ี วปานชวี าวางวายคลายสุขตรม สวสั ดีวนั ปใี หม่พา เพลงพระราชนพิ นธ์ “แกว้ ตาขวญั ใจ” ใหบ้ รรดาเราทา่ นรนื่ รมย์ ฤกษย์ ามดีเปรมปรีด์ิช่ืนชม ต่างสขุ สมนิยมยนิ ดี เพลงพระราชนิพนธ์ “พรปีใหม”่
โอ้รักเอ๋ย รกั เคยชดิ เชยชูชนื่ สุดหวานอมสุดขมกลนื สดุ รักยนื ยง่ิ ยง เพลงพระราชนิพนธ์ “รักคนื เรอื น” ยามประกายแสงทองส่อง งามเรืองผอ่ งนภา ประเทอื งผองมวลชีวา ดังพรจากฟา้ เสกมาให้ เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยามคา่ ” โลกจะสุขสบายนัน้ เป็นได้หลายทาง ต้องหลบส่ิงกีดขวางหนทางให้พน้ ไป จะสบความสขุ สนั ต์สาคญั ที่ใจ สุขและทุกขอ์ ย่างไรเพราะใจตนเอง ท่ามกลางฟากฟ้ามัวหม่น เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยิม้ สู้” ลิ่วลมหล่งั ฝนโปรยทว่ั เยอื กเย็นชีพเฉาเมามวั จติ ใจไหวหวาดกลวั หว่นั ฟ้าคารามลัน่ นวล...แสงนวลผ่องงามตา เพลงพระราชนิพนธ์ “สายลม” แสงจันทรา...ส่องเรืองฟากฟา้ ไกล งาม...แสงงามผอ่ งอาไพ ย้อมดวงใจ...ใหค้ งคล่ังไคล้เดอื น เพลงพระราชนิพนธ์ “แสงเดอื น” 1.2 สัมผสั อกั ษร สวดมนตค์ า่ เชา้ ถงึ คราวระทมทน จุดเทยี นบวงสรวงปวงเทพเจา้ หลีกไปไมพ่ ้นทกุ ข์ทนอาทรรอ้ นใจ ชดใช้เวรกรรมจากจร โอช้ ีวิตหนอล้วนรอความตายทุกคน ตา่ งคนเกิดแล้วตายไป เพลงพระราชนพิ นธ์ “แสงเทยี น”
แดดรอนรอน เมอ่ื ทนิ กรจะลาโลกไปไกล ยามน้ีจาตอ้ งพรากจากดวงใจ ไกลแสนไกลสุดหว่ งยอดดวงตา เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยามเย็น” เม่อื ลมฝนบนฟ้ามาลวิ่ ต้นไม้พล้ิวลู่ก่ิงใบ เหมอื นจะเอนรากคลอนถอนไป แตเ่ หล่าไม้ยงิ่ กลบั งาม เพลงพระราชนพิ นธ์ “สายฝน” ได้ยินเสียงแวว่ ดงั แผ่วมาแต่ไกลไกล ชมุ่ ชนื่ ฤทัยหวานใดจะปาน ฟังเสียงบรรเลงขบั เพลงประสาน จากทิพย์วิมานประทานกลอ่ มใจ นกนอ้ ยคลอ้ ยบินมาเดยี วดาย เพลงพระราชนพิ นธ์ “ใกล้ร่งุ ” คิดคดิ มิวายกังวลใหห้ ม่นฤทยั หมอง ขาดมวลมติ รไร้คนสนิทคู่เคียงครอง หลงใหลหมายปองคนปรานี ค่าคืนนภาดาราพราว เพลงพระราชนพิ นธ์ “ชะตาชีวติ ” ประกายแสงดาวพราวตา ดาษเรอื งเคยี งแสงดวงจนั ทรา เพลนิ ชมแสงพรายนภาเห็นดวงดาราลอ้ มจนั ทร์ เพลงพระราชนิพนธ์ “ดวงใจกบั ความรกั ” รา้ งกัน วันหา่ งไปไกล มดื มนหมองมัวปานใด เยือกเย็นเข็ญใจรญั จวน เพลงพระราชนิพนธ์ “อาทติ ย์อบั แสง” ชา่ งงามทศั นท์ วิ เขตคามงดงามนา่ ดู ท้งั มวลล้วนมีเป็นคู่ชดิ ชเู ชยชมรมย์รน่ื แต่ฉันดวงใจผกู พันใฝ่ฝันทุกคนื เฝา้ ปองเคียงครองคู่ชน่ื ใหร้ ื่นเริงใจ เพลงพระราชนิพนธ์ “เทวาพาคู่ฝัน”
ได้ยนิ เพลงหวานกอ้ ง ถ้อยทานองรอ้ งราพนั ฝากความรักไว้มั่น ด้วยถ้อยอันออ่ นหวาน เพลงพระราชนิพนธ์ “คาหวาน” แก้วตาขวัญใจเธออยแู่ หง่ ใดขวญั เอย ขาดชู้คเู่ ชยรกั เอยเดียวดาย เฝ้าคอยรักเศร้าเหงาใจแสนหน่าย เปลยี่ วปานชวี าวางวายคลาสุขตรม เพลงพระราชนิพนธ์ “แกว้ ตาขวญั ใจ” สวัสดวี นั ปีใหม่พา ใหบ้ รรดาเราทา่ นรน่ื รมย์ ฤกษ์ยามดเี ปรมปรดี ์ิช่นื ชม ตา่ งสุขสมนิยมยนิ ดี โอ้รกั เอย๋ เพลงพระราชนิพนธ์ “พรปใี หม”่ รักเคยชิดเชยชูช่นื สุดหวานอมสดุ ขมกลนื สดุ รกั ยนื ยง่ิ ยง ยามประกายแสงทองส่อง เพลงพระราชนิพนธ์ “รกั คืนเรือน” งามเรอื งผ่องนภา ประเทอื งผองมวลชวี า ดังพรจากฟ้าเสกมาให้ เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยามค่า” โลกจะสุขสบายนนั้ เปน็ ไดห้ ลายทาง ต้องหลบส่ิงกดี ขวางหนทางให้พน้ ไป จะสบความสขุ สันต์สาคญั ท่ีใจ สุขและทกุ ข์อย่างไรเพราะใจตนเอง ท่ามกลางฟากฟ้ามัวหม่น เพลงพระราชนิพนธ์ “ย้ิมสู้” ลิ่วลมหล่งั ฝนโปรยทัว่ เยอื กเย็นชีพเฉาเมามัว จิตใจไหวหวาดกลวั หว่นั ฟา้ คารามลัน่ เพลงพระราชนิพนธ์ “สายลม”
นวล...แสงนวลผอ่ งงามตา แสงจันทรา...ส่องเรอื งฟากฟ้าไกล งาม...แสงงามผ่องอาไพ ย้อมดวงใจ...ให้คงคล่งั ไคล้เดอื น เพลงพระราชนิพนธ์ “แสงเดือน” 2.2 การใช้คาซา้ คาซ้าคอื การใช้คาเดมิ ท่มี ีความหมายเหมอื นเดมิ ซ้า ๆ กนั เพอื่ ยา้ คาและความหมายใหเ้ กิด ความงามของถอ้ ยคาและเสยี ง ซ่งึ เพลงพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ท่ีประพันธค์ า รอ้ งโดยพระเจ้าวรวงศเ์ ธอพระองค์เจ้าจกั รพนั ธ์เพ็ญศริ ิ พบวา่ มีความงามของภาษาในด้านการซา้ คา ปรากฏอย่ดู งั น้ี ทาบุญทาทานกันไว้เถดิ เกดิ เป็นคน ไวเ้ ตรียมผจญชวี ิตใหม่ เคยทาบญุ ทาคุณปางกอ่ นใด ขอบุญคุ้มไปชวี ติ หน้า ทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา แสงเทยี นบชู าจะดบั พลนั แสงเทยี นบูชาดบั ลับไป แดดรอนรอน เพลงพระราชนพิ นธ์ “แสงเทยี น” เมื่อทินกรจะลับเหล่ือมเมฆา ทอแสงเรอื งอร่ามชา่ งงามตา ในนภาสลับจับอัมพร แดดรอนรอน เมอ่ื ทนิ กรจะลาโลกไปไกล ยามน้จี าต้องพรากจากดวงใจ ไกลแสนไกลสดุ หว่ งยอดดวงตา แต่กอ่ นเคยคลอเคลยี กนั ทุกวันคืนรน่ื อรุ า ตอ้ งอย่เู ดียวเปลย่ี ววิญญาณ์ เหมอื นดังนภาไร้ทินกร แดดรอนรอน หากทนิ กรจะลาโลกไปไกล ความรกั เราคงอยู่คกู่ ันไป ในหวั ใจคงอย่คู เู่ ชยชม แดดรอนรอน หมูม่ วลภมรบินลอยลอ่ งตามลม คลอเคลา้ พฤกษาชาติช่นื เชยชม ชมสมตามอารมณ์ลอ่ งเลยไป เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยามเย็น”
ได้ยนิ เสยี งแวว่ ดังแผว่ มาแต่ไกลไกล ชมุ่ ชน่ื ฤทัยหวานใดจะปาน ฟังเสยี งบรรเลงขบั เพลงประสาน จากทิพย์วิมานประทานกล่อมใจ นกนอ้ ยคล้อยบนิ มาเดยี วดาย เพลงพระราชนพิ นธ์ “ใกลร้ ่งุ ” คดิ คิดมิวายกงั วลให้หมน่ ฤทยั หมอง ขาดมวลมติ รไร้คนสนิทคู่เคียงครอง หลงใหลหมายปองคนปรานี ขาดเรอื นแหล่งพักพานกั นอน ขาดญาติบิดรและนอ้ งพ่ี บาปกรรมคงมจี าทนระทม เพลงพระราชนพิ นธ์ “ชะตาชีวติ ” คา่ คนื นภาดาราพราว ประกายแสงดาวพราวตา ดาษเรอื งเคยี งแสงดวงจันทรา เพลนิ ชมแสงพรายนภาเหน็ ดวงดาราลอ้ มจนั ทร์ ท่จี รงิ นน้ั เดอื นและดวงดาว ต่างเรืองแสงวาวพราวพรรณ ดว้ ยแรงจากแสงดวงตะวัน จึงมีแสงเดอื นงามครันแสงดาวประชนั น่าชม เพลงพระราชนพิ นธ์ “ดวงใจกบั ความรกั ” แกว้ ตาขวัญใจเธออยู่แหง่ ใดหนอเธอ เฝา้ เพอ้ เฝา้ ละเมอใฝ่เธอมาเชย สดุ จะเหลาเฝ้าแต่ฝันทรวงกระสันพรนั่ จติ เลย ฝนั ถงึ วันขวัญเอยชดิ เชยชืน่ สวสั ดีวันปใี หมพ่ า เพลงพระราชนพิ นธ์ “แกว้ ตาขวญั ใจ” ใหบ้ รรดาเราท่านรื่นรมย์ ฤกษ์ยามดเี ปรมปรดี ิ์ช่ืนชม ตา่ งสุขสมนยิ มยนิ ดี ขา้ วงิ วอนขอพรจากฟา้ ใหบ้ รรดาปวงทา่ นสุขศรี โปรดประทานพรโดยปรานี ใหช้ าวไทยลว้ นมโี ชคชัย ใหบ้ รรดาปวงท่านสุขสันต์ ทุกวันทุกคนื ช่นื ชมให้สมฤทัย ใหร้ ุง่ เรอื งในวันปใี หม่ ผองชาวไทยจงสวัสดี ตลอดปีจงมีสขุ ใจ ตลอดไปนับแต่บัดน้ี
ใหส้ น้ิ ทุกข์สุขเกษมเปรมปรีด์ิ สวัสดวี นั ปีใหมเ่ ทอญ เพลงพระราชนิพนธ์ “พรปีใหม”่ โอ้รกั เอย๋ สุดหวานอมสุดขมกลืน รักเคยชดิ เชยชูช่ืน สดุ รกั ยืนยง่ิ ยง เมอื่ รักหวาน รกั ปานดงั ลมบนสง่ โบกพัดไปใหร้ ักคง ลิ่วพัดตรงทิศทาง เพลงพระราชนพิ นธ์ “รักคืนเรอื น” ยามประกายแสงทองสอ่ ง งามเรืองผ่องนภา ประเทอื งผองมวลชวี า ดงั พรจากฟ้าเสกมาให้ ยามนวลผ่องฟ้าไกล ยามประกายแสงเดือนส่อง สบสุขสุดใสหทัยบาน ช่นื ชมสมดังดวงใจ ในเม่อื ยามทวิ าต่อราตรกี าล เหงาปานขาดใจ ยามค่าลงโพล้เพลถ้ า่ ยเทประภา เพลงพระราชนิพนธ์ “ยามคา่ ” มแี ตค่ วามมดื มนอบั จนดวงมาน ตอ้ งหลบสิง่ กดี ขวางหนทางใหพ้ ้นไป สุขและทกุ ขอ์ ย่างไรเพราะใจตนเอง โลกจะสขุ สบายน้ันเปน็ ได้หลายทาง เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยิ้มสู้” จะสบความสุขสันต์สาคญั ที่ใจ ล่องลอยล่วิ มาเสยี งสนั่น โบกโบยเพยี งไหนกนั พดั จนไม่รู้สงบเอย โรจนเ์ รอื งแปลบแสงฟ้าผา่ ลู่ใบลุ่ยพล้ิวปลวิ ว่อน โอล้ มหนอลมพดั คืนวนั ดว้ ยลมพดั โบกวอนล่องหนวนเวยี นไป เปลยี่ นแปลงซึมเซาเหลงิ รกั ใหม่ ต้องลมเหลา่ ไมเ้ อนลวิ่ จติ ใจอ่อนทอ้ อาทร อย่าเป็นอย่างสายลมเลา่
โอ้ลมหนอลมพัดเลยไป โลกเคยรฉู้ ันใดแล้วคงสขุ ใจย่งิ เอย นวล...แสงนวลผอ่ งงามตา เพลงพระราชนพิ นธ์ “สายลม” แสงจันทรา...ส่องเรืองฟากฟา้ ไกล งาม...แสงงามผ่องอาไพ ยอ้ มดวงใจ...ให้คงคลั่งไคล้เดอื น ชมแล้วชมเลา่ เฝา้ ชะแงด้ ู เพลินพศิ เพลินอยู่....ไม่รู้ลืมเลือน เดอื น...แสงเดือนผอ่ งวนั เพ็ญ แสงจนั ทร์เพญ็ ...เด่นจะงามใดจะเหมอื น โฉมงามเทียบ....เปรียบเดอื นแสงงาม เพลงพระราชนพิ นธ์ “แสงเดือน” 1.3 คาตรงกนั ขา้ ม คาตรงกนั ข้าม คอื ถอ้ ยคาหรือความคดิ ทขี่ ดั แยง้ กัน แต่นามาใช้รวมกนั เพอื่ แสดงใหเ้ ห็น ความกลมกลนื ของสิง่ ใดส่ิงหนึง่ ในสภาพทตี่ ่างกนั เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้สึกหรือลึกซ้งึ สะเทอื นอารมณ์ ซึ่งเพลง พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวที่ประพันธ์โดยพระเจา้ วรวงศ์เธอพระองค์เจ้าจักรพันธเ์ พ็ญ ศิริ พบว่ามีความงามของภาษาในด้านการใชค้ าปฏิพากย์ปรากฏอยู่ดงั นี้ จดุ เทยี นบวงสรวงปวงเทพเจ้า สวดมนตค์ ่าเชา้ ถงึ คราวระทมทน โอ้ชวี ติ หนอลว้ นรอดความตายทกุ คน หลกั ไปไม่พน้ ทกุ ขท์ นอาทรร้อนใจ ต่างคนเกิดแลว้ ตายไป ชดใช้เวรกรรมจากจร เพลงพระราชนพิ นธ์ “แสงเทยี น” ลิ่วลมโชย กลิ่นพรรณไมโ้ ปรยโรยรว่ งหว่ งอาลยั ยามสายัณหพ์ ลนั พรากจากดวงใจ คอยแสงทองวนั ใหม่กลบั คืนมา ตะวันนน้ั เหมอื นดงั ดวงใจ เพลงพระราชนพิ นธ์ “ยามเยน็ ” หากส้ินแสงไปรักคลาย ขาดความรักเหมอื นชวี าวาย จะเป็นหรือตายท้งั ใจและกายไม่วาย เพลงพระราชนพิ นธ์ “ดวงใจกบั ความรกั ”
จวบวนั ราตรีเฉดิ ฉนั ดวงจันทร์แจ่มฟ้า พบความรักดังใจมั่นเหมือนเดือนตะวนั กลางหล้า สมพรจากฟ้า โอ้รกั เอย๋ เพลงพระราชนพิ นธ์ “เทวาพาคูฝ่ ัน” รักเคยชดิ เชยชชู นื่ สดุ หวานอมสุดขมกลืน สุดรักยนื ย่งิ ยง เพลงพระราชนิพนธ์ “รกั คนื เรอื น” โลกจะสุขสบายนั้นเป็นไดห้ ลายทาง ต้องหลบส่ิงกดี ขวางหนทางให้พน้ ไป จะสบความสขุ สนั ต์สาคญั ท่ีใจ สขุ และทกุ ขอ์ ย่างไรเพราะใจตนเอง ฝ่าลู่ทางชวี ติ ต้องคิดเฝา้ ยอ้ มใจ โลกมืดมนเพยี งใดยา่ คร้ามเกรง ต้งั หน้าช่ืนเอาไวย้ อ้ มใจดว้ ยเพลง ไยนกึ กลัวหวาดเกรงยม้ิ สู้ คนเปน็ คนจะจนหรือมี รา้ ยหรอื ดมี ีหลังอยู่ ยามปวงมารมาพาลลบหลู่ ยมิ้ ละมยั ใจสหู่ มมู่ วลเภทภัย เพลงพระราชนิพนธ์ “ยิม้ สู้” 2. ผลการศกึ ษาคณุ ค่าในเพลงพระราชนพิ นธ์ เพลงพระราชนิพนธใ์ นรชั กาลท่ี 9 ทปี่ ระพันธ์คารอ้ งโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองคเ์ จา้ จักรพันธ์เพญ็ ศิริ ทั้ง 16 เพลง พบว่า มีคุณค่าในเพลงพระราชนิพนธด์ า้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 2.1 คณุ ค่าด้านการใชภ้ าษา เพลงพระราชนิพนธใ์ นรัชกาลท่ี 9 ที่ประพันธค์ ารอ้ งโดยพระเจ้าวรวงศเ์ ธอพระองค์เจ้าจกั รพนั ธ์ เพญ็ ศิริทง้ั 16 เพลงนน้ั สามารถใช้ภาษาใน ถ่ายทอดความคิด ไดอ้ ย่างสละสลวยไพเราะ และงดงาม เปน็ การ ใช้ภาษาเพอื่ การสือ่ สาร กับผู้ฟังไดอ้ ย่างเหมาะสม มกี ารเลือกใชถ้ อ้ ยคาท่ีทาใหเ้ กดิ ความงามของภาษา มกี าร เลน่ เสียงสมั ผัสคลอ้ งจองเหมือนกบั คาประพนั ธป์ ระเภทรอ้ ยกรองของไทย มกี ารสรรคา การซา้ คาและคา ตรงกันข้าม
2.2 คุณค่าดา้ นศีลธรรม เพลงพระราชนิพนธใ์ นพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถ บพิตรทปี่ ระพนั ธ์คารอ้ งโดยพระเจา้ วรวงศเ์ ธอพระองคเ์ จา้ จักรพันธเ์ พญ็ ศิริ ปรากฏคณุ ค่าด้านศีลธรรม คอื มี เนื้อหาของเน้อื เพลงท่ใี ห้ คติหรอื แงค่ ดิ แทรก อยู่ในถ้อยคาภาษา ซ่ึงชว่ ยให้ผ้ฟู งั ไดข้ ้อคดิ ขอ้ เตอื นใจ ให้ มองเหน็ ความจรงิ ความดี แนะส่ิงท่คี วรปฏิบตั ิหรอื สงิ่ ท่คี วรละเวน้ ซงึ่ ผู้อ่านหรอื ผูฟ้ งั สามารถนาแนวคดิ ท่ี ไดร้ บั จากบทเพลง ไปประยุกตใ์ ช้หรอื แก้ปัญหาในชีวติ ประจาวนั ไดเ้ ช่น - เพลงแสงเทยี น สอนเรื่องการเวียนว่ายตายเกดิ ทุกคนเกดิ มาแล้วตอ้ งตายเป็นธรรมดาของโลก ใคร กระทาเชน่ ใดก็ไดร้ ับผลของการกระทาเช่นนัน้ และสอนให้รจู้ กั ทาบญุ สรา้ งความดีเพ่อื บุญนัน้ จะได้เกือ้ หนุนใน ภพหนา้ - เพลงชะตาชีวิต สอนเร่ืองบญุ กรรม วา่ หากชวี ิตมีความทุกขน์ ่าจะเกดิ จากรรมที่แต่ละคนกระทามา ให้ เรายอมรับความเป็นไปไดน้ ้ัน และการใหก้ าลังใจว่าไม่มีชวี ิตใครที่จะพบเจอแต่ความทุกข์ สักวนั เราต้องพบเจอ กับความสุขแน่นอน - เพลงยม้ิ สู่ สอนเรอื่ งความสุขและความทุกข์ทกุ อย่างล้วนอยทู่ ่ีใจเราเอง ทาใจใหส้ ุขเรากม็ คี วามสขุ ทา ใจให้ทุกขเ์ รากจ็ ะเป็นทุกข์ สอนใหย้ ิ้มสู้ใหม้ ีกาลงั ใจในการดาเนินชวี ิต สอนวา่ ไม่วา่ คนรวยหรือคนจนทกุ คน สามารถสรา้ งความหวงั ใหต้ นเองไม่ต่างกนั สอนให้กระทาแต่ความดีเพราะความดจี ะทาใหม้ ีความสุข มจี ติ ใจท่ี ช่นื บาน - เพลงอาทติ ยอ์ ับแสงและเพลงรักคนื เรือน สอนให้มคี วามหวงั อยา่ ท้อถอยสักวนั ก็จบพบกับความสุข 2.3 คณุ ค่าด้านค่านิยมและคณุ คา่ ด้านความเชอ่ื เพลงพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ท่ปี ระพันธ์คาร้องโดยพระเจา้ วรวงศ์เธอพระองค์ เจ้าจักรพนั ธ์เพ็ญศริ ิ ท้งั ปรากฏคุณค่าดา้ นค่านยิ มและความเช่อื ของคนไทยทีย่ ึดถือ สืบตอ่ กนั มาจากรุ่นหน่งึ ไปสู่คนอกี รุ่นหนงึ่ เช่น - คา่ นิยมและความเชอ่ื เร่อื งบุญกรรม ไดแ้ ก่ เพลงแสงเทยี น เพลงชะตาชีวิต เพลงแกว้ ตาขวญั ใจ เพลง ยิ้มสู้ เพลงเทวาพาคู่ฝัน - คา่ นยิ มและความเชื่อเรอื่ งภพหน้า ได้แกเ่ พลงแสงเทยี น - ค่านิยมและความเช่อื เร่อื งเทพเทวดา ได้แกเ่ พลงแสงเทยี น เพลงสายฝน เพลงเทวาพาคู่ฝัน เพลงคา หวาน เพลงพรปีใหม่ 3. ผลการศึกษาเพลงพระราชนพิ นธ์ตามทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 ผลจากการเรียนรู้ ศึกษาเพลงพระราชนิพนธ์ โดยใช้ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ทาให้ผู้เรยี นได้ ฝึกกระบวนการอ่าน เขียนเพลงพระราชนิพนธ์ และได้ฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์จากการอ่านเน้ือหาของ เพลงพระราชนิพนธ์ การคิดสรา้ งสรรคจ์ ากการทางานหนังสือเล่มเลก็ และหนังสือทามือ การจัดบอร์ดความรู้ ต่าง ๆ พร้อมทั้งได้ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยี จากการค้นคว้าหาข้อมูล และการจัดทารูปเล่มโครงงาน การใช้ โทรศพั ทม์ อื ถอื สแกนคิวอาร์โคด้ เข้าไปศกึ ษาข้อมูลการจัดทาโครงงานความงามของภาษา คณุ ค่าเพลง พระ ราชนิพนธใ์ นรชั กาลท่ี 9 สกู่ ารเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21
บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา 5.1 สรปุ ผลการศึกษา โครงงานภาษาไทยเรื่อง “ความของภาษา คุณค่าเพลงพระราชนพิ นธ์ในรชั กาลท่ี 9 สูก่ ารเรียนรูใ้ น ศตวรรษที่ 21 ” จากการศกึ ษาค้นควา้ สามารถสรปุ ผลได้ดังนี้ 5.1.1เพลงพระราชนิพนธ์ทัง้ 16 เพลง ท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตรทรงพระราชนพิ นธ์ทานอง และโปรดเกล้าฯให้พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จกั รพันธ์ เพญ็ ศริ ิ ประพนั ธค์ ารอ้ งเป็นภาษาไทยนน้ั ปรากฏความงามของภาษาในดา้ นตา่ ง ๆ 3 ดา้ น คอื 1) มีการเล่นเสยี งสมั ผสั ท้งั สมั ผัสนอก สัมผสั ใน สัมผัสสระ และสมั ผัสอักษร 2) มกี ารใช้คาซา้ 3) มีการใช้คาตรงกันข้าม 5.1.2 เพลงพระราชนพิ นธ์ท้ัง 16 เพลงที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพติ รพระราชนพิ นธท์ านอง และโปรดเกล้าฯใหพ้ ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธเ์ พญ็ ศริ ิ ประพันธค์ าร้องเป็นภาษาไทยนัน้ ยงั ปรากฏคุณคา่ ด้านต่าง ๆ 3 ด้านคอื 1) คณุ คา่ ด้านการใชภ้ าษา 2) คณุ ค่าด้านศลี ธรรม 3) คณุ ค่าค่านิยมและความเช่อื 5.1.3 เพลงพระราชนิพนธ์ตามทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 จากการเรียนรู้เพลงพระราชนิพนธ์ ทาใหผ้ ู้ศึกษาอ่าน เขยี นหนังสือได้คลอ่ งข้นึ และไดฝ้ กึ กระบวนการ คดิ วเิ คราะห์ การคิดสร้างสรรค์จากการทางาน จากการทาส่ือต่าง ๆ หนังสอื เล่มเล็ก และหนังสอื ทามอื พรอ้ ม ทั้งได้ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยี จากการค้นคว้าหาข้อมูล และการจัดทารูปเล่มโครงงาน การทางานเป็นทีม และการได้เรียนรู้ ลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ทาให้เกิดทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างแท้จรงิ
5.2 อภปิ รายผล 5.2.1 โครงงานภาษาไทย “ความงามของภาษา คุณค่าเพลงพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 9 สู่ทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 คณะผู้ศึกษาได้ศึกษาความงามของภาษาในเพลงพระราชนิพนธ์ โดยศึกษา 3 ดา้ น การเลน่ เสียงสัมผสั ทั้งสัมผสั นอก สมั ผสั ใน สัมผัสสระ และสัมผัสอักษรการใช้คาซ้าและการใช้คาตรงกัน ข้ามซ่ึงในการศึกษาเพลงพระราชนิพนธ์ผู้ศึกษาต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายแหล่งข้อมูล ทาให้ผู้ศึกษามี ความเข้าใจในเนื้อหาเพลงพระราชนิพนธว์ ่ามลี ักษณะของการสัมผสั สระ สัมผสั อักษะ สัมผัสนอกและสัมผัส ในอย่างไร รู้จักการใช้คาซ้าและการใชค้ าตรงกนั ข้ามจากเนอ้ื หาของเพลงได้อยา่ งชดั เจน 5.2.2 ในการศึกษาคุณค่าของเพลงพระราชนิพนธ์ ผู้ศึกษาเห็นความชัดเจนในด้านคุณค่าของบท เพลงพระราชนิพนธ์ 3 คณุ คา่ คณุ ค่าด้านการใชภ้ าษาคุณคา่ ดา้ นศีลธรรม แล ะ คุ ณค่ าด้ าน คว าม เช่ื อ ความนิยมและ ซึ่งในการศึกษาผู้ศึกษาได้วิเคราะห์จากเน้ือหาของเพลงที่เลือกมาศึกษาทั้ง 16 เพลง ทาให้ มองเหน็ ภาพในด้านสัจธรรมในชวี ติ เรื่องเวรกรรม การให้กาลังใจกันเมือ่ ต้องพบเจอกบั อุปสรรคปญั หาตา่ ง ๆ และความเช่ือค่านิยมของคนในเรื่องต่าง ๆบ่งบอกให้เห็นว่า บทเพลงเป็นส่ิงท่ีช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกใน แงม่ ุมต่าง ๆ มากมาย มคี ตแิ ง่คดิ ตา่ ง ๆ ใหส้ ามารถนาไปปรบั ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ 5.2.3 จากการศึกษาเพลงพระราชนิพนธ์ ทาให้ผู้ศึกษามีทักษะกระบวนการอ่าน เขียนหนังสือได้ คล่องขึ้น และได้ฝึกกระบวนการคิดวเิ คราะห์ การคิดสรา้ งสรรคจ์ ากการทางาน จากการทาสอ่ื ต่าง ๆ หนังสือ เล่มเล็ก และหนังสือทามือ พร้อมท้ังได้ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยี จากการค้นคว้าหาข้อมูล และการจัดทา รปู เลม่ โครงงาน การทางานเป็นทีม และการได้เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติจรงิ ทาใหเ้ กิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างแท้จริง 5.3 ประโยชน์ท่ีได้รบั 5.2.1 ทาให้ทราบถึงความงามของภาษาในเพลงพระราชนพิ นธ์ 5.2.2 ทาให้ทราบถงึ คุณคา่ ของเพลงพระราชนิพนธ์ 5.2.3 ทาให้ทราบถงึ การเรียนรู้เพลงพระราชนพิ นธ์โดยใช้ทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 5.4 ขอ้ เสนอแนะ 5.3.1 ควรศึกษาเพลงพระราชนิพนธ์ในรชั กาลท่ี 9 ท่ี ทรงพระราชนพิ นธท์ านอง และโปรดเกลา้ ฯให้ ผู้อืน่ แต่งคารอ้ งภาษาไทยประกอบในเพลงพระราชนพิ นธอ์ น่ื ๆเพ่มิ เตมิ อกี เช่น ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร , ทา่ นผู้หญิงมณรี ตั น์ บุนนาค เปน็ ตน้ 5.3.2 ควรนาความร้ทู ีไ่ ด้ในเรือ่ งความงามของภาษาและคณุ ค่าของภาษาจากการทาโครงงาน ภาษาไทยนี้ไปศกึ ษาเรี่องอ่ืน ๆ อีก เช่น ศกึ ษาภาษาในเพลงลูกทุง่ ศกึ ษาภาษาในวรรณคดีไทยเรื่องตา่ ง ๆ เป็นต้น
บรรณานกุ รม กงิ่ แกว้ อตั ถากร. คติชนวิทยา: เอกสารนิเทศการศกึ ษา ฉบับท่ี 185. กรงุ เทพมหานคร,2549 ปฐม หงส์สุวรรณ. กาลคร้ังหน่งึ : วา่ ด้วยตานานกบั วฒั นธรรม. กรุงเทพ : สานักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย,2553 ประคอง นิมมานเหมินทร์. นิทานพน้ื บา้ นศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : โครงการตาราและอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย,2543 เรไร ไพรวรรณ์. วรรณกรรมท้องถนิ่ . กรุงเทพมหานคร : โครงการผลงานวชิ าการมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ธนบุรี เฉลิมพระเกยี รติ เน่ืองในวโรกาสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงครองสิรริ าชสมบตั คิ รบ 60 ปี,2551 วิจารณ์ พานิช. วถิ สี ร้างการเรยี นรเู้ พ่อื ศิษย์ในศตรรรษท่ี 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี –สวัสดวิ งศ์, 2555. สนิท สัตโยภาส. ภาษาไทยเพอื่ การสอ่ื สารและสบื ค้น.กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัทเคล็ดไทย จากัด, 2545 hpp://www.angelfire.com hpp://www.macdeucation.com hpp://www.t2k.ac.th hpp://www.thaifolk.com hpp://www. thaigoodview.com hpp://www.tlcthai.com
ภาคผนวก
เพลงแสงเทียน จุดเทียนบวงสรวงปวงเทพเจา้ สวดมนต์ค่าเชา้ ถึงคราวระทมทน โอ้ชีวิตหนอล้วนรอความตายทุกคนหลีกไปไม่พ้นทกุ ข์ทนอาทรร้อนใจ ตา่ งคนเกิดแล้วตายไปชดใช้เวรกรรมจากจร นจิ จังสังขารนัน้ ไม่เท่ยี งเสย่ี งบญุ กรรมทกุ คนเคยทากรรมไว้กอ่ น เชญิ ปวงเทวดาขา้ ไหว้วอนขอพรคุม้ ไปชวี ิตหนา้ ทนทรมานมามากแลว้ จะกราบลาหนปี วงโรคาท่ีเบียดเบยี น แสงแววชวี าเปรยี บแสงเทยี นเปรยี บเทยี นสิ้นแสงยามแรงลมเปา่ ชีพดับอบั เฉาเหมอื นเงาไร้ดวงเทยี นจดุ เทยี นถวายหมายบนบชู าร้องเรียน โรคภัยเบียดเบยี นแสงเทยี นทานลมพัดโบยโรครุมเรา่ ร้อนแรงโรย หวนโหยอาวรณ์ออ่ นใจทาบุญทาทานกนั ไวเ้ ถดิ เกดิ เป็นคน ไว้เตรยี มผจญชวี ิตใหม่เคยทาบญุ ทาคุณปางก่อนใด ขอบุญค้มุ ไปชวี ิตหน้าทนทรมานมามากแล้วจะกราบลา แสงเทยี นบูชาจะดบั พลนั แสงเทยี นบูชาดบั ลบั ไป เพลงยามเย็น แดดรอนรอน เมอ่ื ทนิ กรจะลบั เหลยี่ มเมฆำ ทอแสงเรอื งอรำ่ มช่ำงงำมตำ ในนภำสลับจับอมั พร แดดรอนรอน เม่อื ทินกรจะลำโลกไปไกล ยำมน้ีจำตอ้ งพรำกจำกดวงใจ ไกลแสนไกลสุดห่วงยอดดวงตำ แตก่ ่อนเคยคลอเคลียกัน ทุกวันคืนรืน่ อรุ ำ ตอ้ งอยเู่ ดยี วเปลี่ยนวญิ ญำณ์ เหมือนดังนภำไร้ทนิ กร แดดรอนรอน หำกทินกรจะลำโลกไปไกล ควำมรกั เรำคงอย่คู ูก่ นั ไป ในหัวใจคงอยู่คู่เชยชม แดดรอนรอน หมู่มวลภมรบนิ ลอยลอ่ งตำมลม คลอเคลำ้ พฤกษำชำติชื่นเชยชม ชมสมตำมอำรมณล์ ่องเลยไป ลิว่ ลมโชย กลิ่นพรรณไม้โปรยโรยรว่ งห่วงอำลัย ยำมสำยณั ห์พลันพรำกจำกดวงใจ คอยแสงทองวันใหม่กลบั คนื มำ แตก่ ่อนเคยคลอเคลียกนั ทกุ วันคืนชื่นอรุ ำ ตอ้ งอยเู่ ดียวเปล่ยี ววญิ ญำณ์ เหมอื นดังนภำไร้ทนิ กร โอย้ ำมเย็น จวบยำมนเี้ ป็นเวลำสดุ อำวรณ์ ยำมไร้ควำมสวำ่ งห่ำงทนิ กร ยำมรักจำจะจรจำกกันไป
เพลงสายฝน เมื่อลมฝนบนฟา้ มาลิ่วต้นไมพ้ ลิว้ ล่กู ่ิงใบ เหมอื นจะเอนรากคลอนถอนไปแตเ่ หลา่ ไม้ย่ิงกลบั งาม พระพรหมทา่ นบันดาลใหฝ้ นหลงั่ เพอ่ื ประทังชีวติ มิทราม น้าทิพยส์ าดเป็นสายพรายพลิว้ ทิวงามทัว่ เขตคามชุม่ ธารา สาดเปน็ สายพรายพลวิ้ ทิวทุ่งแดดทอรงุ้ อร่ามตา ร้งุ เลื่อมลายพร่างพรายนภายามเม่อื ฝนมาแตไ่ กล พระพรหมช่วยอานวยใหช้ ื่นฉ่าเพื่อจะนาดับความรอ้ นใจ นา้ ฝนหล่ังลงมาจากฟ้าแดนไกลพชื พรรณไมช้ ่นื ยนื ยง เพลงใกลร้ ุง่ ไดย้ ินเสียงแว่วดงั แผ่วมาแตไ่ กลไกลช่มุ ชนื่ ฤทัยหวานใดจะปาน ฟงั เสียงบรรเลงกบั เพลงประสานจากทิพยว์ ิมานประทานกลอ่ มใจ ใกล้ยามเม่ือแสงทองสอ่ งฉันคอยมองจ้องฟา้ เรอื งราไร ลมโบกโบยมาหนาวใจรอช้าเพียงไรตะวันจะมา เพลดิ เพลนิ ฤทัยฟงั ไกป่ ระสานเสียงกนั ดอกมะลิวัลยอ์ วลกลน่ิ ระคนมณฑา โอใ้ นยามนเี้ พลินหนักหนาแสงทองนวลผ่องนภาแสนเพลนิ อรุ าสาราญ หมมู่ วลวหิ คบนิ ผกมาแต่รังนอนเฝา้ เชยชิดชอ้ นลิ้มชมบวั บาน ยนิ เสียงบรรเลงดงั เพลงขับขานสอดคล้องกงั วานซาบซา่ นจบั ใจ เพลงชะตาชีวิต นกน้อยคล้อยบนิ ตามเดียวดายคดิ คิดมิวายกงั วลให้หมน่ ฤทยั หมอง ขาดมวลมติ รไรค้ นสนทิ คู่เคยี งครองหลงใหลหมายปองคนปรานี ขาดเรอื นแหลง่ พักพานักนอนขาดญาตบิ ดิ รและนอ้ งพ่ี บาปกรรมคงมีจาทนระทม ทอ้ งฟ้าสายัณห์ตะวนั เลอื นแสงลบั นบั วนั จะเตอื นให้ใจต้องข่ืนขม หากเย็นลงฟ้าคงยิง่ มดื ย่ิงตรอมตรมชวี ิตระทมเพราะรอมา จวบจันทร์แจ่มฟา้ นภาผ่องเฝ้ามองให้เดอื นชุบวญิ ญาณ์ สกั วนั บุญมาชะตาคงดี
เพลงดวงใจกบั ความรกั ค่าคืนนภาดาราพราวประกายแสงดาวพราวตา ดาษเรียงเคียงแสงดวงจนั ทราเพลินชมแสงพรายนภาเห็นดวงดาราลอ้ มจันทร์ ทจี่ รงิ นัน้ เดอื นและดวงดาวต่างเรอื งแสงวาวพราวพรรณ ด้วยแรงจากแสงดวงตะวันจึงมีแสงเดือนงามครนั แสงดาวประชันนา่ ชม เปรยี บดวงดาวและดวงเดอื นกเ็ หมือนแมแ้ ววมโนรมย์ เปล่งแววไปเปลี่ยนใจชมด้วยจินตนาอารมณน์ านาประการ แนน่ อนแท้จรงิ คือดวงใจสอ่ งแววรกั ไปยืนนาน เปรียบดงั กับแสงตะวนั ตระการยังคงแสงงามสะคราญแสงทองยนื นานเรอ่ื ยมา ตะวันฉายมาดารารายสอ่ งแสงพร้มิ พรายนัยนต์ า ร่นื รมยช์ มแสงดวงจันทราชมดาวล้อมเดือนงามตาพรมิ้ พรายนภาแสงงาม มาตรแมน้ สูญดวงตะวนั ไปประดาแสงในฟา้ ทราม ผู้คนสตั ว์ไม้จะตายตามตะวันสูญไปเป็นยามล้วนมีแต่ความมืดมน เปรียบดวงดาวและดวงเดือนก็เหมอื นแมน้ แววมโนรมย์ เปล่งแววไปตา่ งใจคนเปลย่ี นแปลงไปตามใจตนเวียนวนจนตาย ตะวันนน้ั เหมือนดังดวงใจหากส้ินแสงไปรกั คลาย ขาดความรักเหมอื นชวี าวายจะเป็นหรือตายทัง้ ใจและกายไมว่ ายโศรกโทรม เพลงอาทติ ยอ์ บั แสง เคยชมรว่ มภิรมย์ใจ ดว้ ยความรกั จรงิ ยง่ิ ใหญ่ผกู พนั หัวใจเรามั่น รักเอยเคยอย่เู คียงกนั รม่ เยน็ มิเวน้ วายวันด้วยความสัมพนั ธย์ นื ยง ทวิ างามยามอยูเ่ คียงคง สุรยิ าแสงส่งปวงชีวติ ในโลกดารงเรงิ ใจ รา้ งกันวนั ห่างไปไกล มดื มนหมองมวั ปานใดเยือกเยน็ เขญ็ ใจรัญจวน ไกลกนั พาพรนั่ ใจครวญ ร่างกายทรุดโทรมทุกส่วนจติ ใจร้อนรวนแรงอ่อน รกั เอยเลยกลับอาวรณ์ ค่าคนื ฝืนใจไปนอนยงิ่ ดูเหมอื นฟอนไฟลน ทวิ าทรามยามห่างดวงกมล สุรยิ าหมองหม่นปวงชีวิตในโลกอับจนเส่อื มทราม หวงั คอยคอยเฝา้ โมงยาม จวบจนทิวาเรืองงามสบความรกั ยามคนื คง
เพลงเทวา พาคฝู่ นั ชา่ งงามทศั นท์ วิ เขตคามงดงามน่าดูท้งั มวลลว้ นมเี ปน็ คู่ชิดชูเชยชมรมย์รื่น แตฉ่ ันดวงใจผกู พนั ใฝ่ฝันทุกคนื เฝ้าปองเคยี งครองคชู่ ่นื ให้ร่ืนเริงใจโลกนน้ั ดังเมืองสวรรคเ์ ทวัญ สรา้ งไวพ้ ศิ ดเู ปน็ คู่ทุกสงิ่ ล้วนมีรักจรงิ ยง่ิ ใหญ่ อนั ธรรมชาตไิ ซรใ้ ช้แรงความรักความใคร่ย้อมชีวิตให้ยืนยงอยเู่ ดียวเปลีย่ วใจหทยั ใฝฝ่ ันเดช กามเทพพันผูกใจให้หลง แมเ้ คยทาคุณบุญส่งฟ้าคงปรานดี อี ยู่ โปรดจงประทานความเอน็ ดูใหม้ ยี อดชเู้ ป็นคู่ชใู จจวบวนั ทิวาเฉดิ ฉนั ตะวันสดใสฟ้าดลบนั ดาล รักใหส้ มดงั ดวงใจมุง่ ม่นั เฝา้ วอนพระทรงเสกพรไหวว้ อนทุกวนั โศกทรวงดวงใจอัดอ้นั ตืน้ ตนั อุราจวบวนั ราตรเี ฉดิ ฉันดวง จันทรแ์ จม่ ฟ้าพบความรกั ดงั ใจม่ันเหมอื นเดอื นตะวันกลางหล้า สมพรจากฟ้าพระทรงประทานปวงข้าชวี ิตในหลา้ ยนื ยง เพลงคาหวาน ไดย้ นิ เพลงหวานกอ้ งถอ้ ยทานองร้องราพัน ฝากความรกั ไว้มัน่ ดว้ ยถ้อยอันออ่ นหวาน เปรียบดงั เพลงทพิ ย์มาจากฟากฟ้าบันดาล เสยี งเพลงปานเพลงวิมานประทานมากลอ่ ม เม่อื ไดย้ ินเพลงเพราะดังว่าดั่งเทวาพาจติ โน้มน้อม หรอื มาลวงลองร้องเพลงกลอ่ มจะประนอมใหย้ อมปลงใจ หากคาหวานขานเอย่ เพือ่ เฉลยนา้ ใจ รักจรงิ ใจขอฟังไปฟังให้ช่ืนเชย ชื่นอารมณส์ มปองแว่วเพลงรอ้ งคมคา พลอดความรกั เพอ้ พร่าดว้ ยถอ้ ยคางามสม ถอ้ ยทานองรอ้ งส่งกอ่ ใหห้ ลงลน้ิ ลม เพลินเพลงชมยอ้ มอารมณ์นยิ มกลมกลอ่ ม เมอ่ื ไดย้ นิ เพลงเพราะดงั ว่าดั่งเทวาพาจิตโนม้ นอ้ ม หรือมาลวงลองร้องเพลงกลอ่ มจะประนอมใหย้ อมปลงใจ หากคาหวานขานเอ่ยเพ่ือเฉลยน้าใจ รักจรงิ ใจขอฟังไปฟังให้ชนื่ เชย
เพลงแก้วตาขวัญใจ แก้วตาขวัญใจเธออยู่แหง่ ใดขวญั เอยขาดช้คู ู่เชยรกั เอยเดยี วดาย เฝ้าคอยรักเศร้าเหงาใจแสนหนา่ ยเปล่ียนปานชีวาวางวายคลายสุขตรม โอเ้ วรไหนมาพาโชคชะตาแสนชั่วโลกน้มี ดื มัวหวาดกลัวระทม ได้แต่หวงั น่งั แตฝ่ ันคอยคขู่ วญั ตนั อกตรมรอ้ นอารมณ์หวงั ชมชดิ เชยดวงใจ อย่คู นเดียวเปล่าเปล่ียวปานใดอกใจระทมขาดคนนยิ มขาดคู่ชิดชมระบมทรวงใน โอ้บญุ ไม่ชว่ ยนาพาแก้วตาขวญั ใจไดแ้ ตฝ่ ันไปไม่สบสมใจรักเอย แกว้ ตาขวัญใจเธออยู่แห่งใดหนอเธอเฝ้าเพอ้ เฝ้าละเมอใฝเ่ ธอมาเชย สดุ จะเหงาเฝา้ แต่ฝันทรวงกระสันพรนั่ จิตเลยฝนั ถึงวันขวญั เอยชดิ เชยชื่นชม เพลงพรปีใหม่ สวสั ดีวันปใี หมพ่ าให้บรรดาเราท่านรื่นรมย์ ฤกษ์ยามดเี ปรมปรดี ์ิช่นื ชมตา่ งสขุ สมนิยมยนิ ดขี ้าวิงวอนขอพรจากฟ้าใหบ้ รรดาปวงทา่ นสุขศรี โปรดประทานพรโดยปรานใี ห้ชาวไทยล้วนมีโชคชัยให้บรรดาปวงทา่ นสขุ สันต์ทกุ วันทกุ คืนช่ืน ชมใหส้ มฤทัย ให้รงุ่ เรืองในวันปใี หม่ผองชาวไทยจงสวัสดตี ลอดปีจงมสี ขุ ใจตลอดไปนับแต่บดั น้ี ใหส้ นิ้ ทุกข์สุขเกษมเปรมปรีดสิ์ วัสดีวันปใี หม่เทอญ
เพลงรักคืนเรอื น โอ้ลมหวนสายลมแปรปรวนไปได้ ใฝ่พดั มาฝ่าพดั ไปเปล่ยี นเหมอื นใจคนเรา โอล้ มเอย๋ ลมเคยราเพยเชยชนื่ กลับพดั เวียนเปล่ียนทิศคืนไม่พดั ยนื เรอ่ื ยไป เปรียบรักหวนรกั มาแปรปรวนไปใหม่ จิตวกเวยี นเปลยี่ นนา้ ใจสดุ เสยี ดายรักเรา แม้รกั แปรปรวนไปจะช่นื สุขใจนั้นทาเนา แทจ้ รงิ ทุกขม์ ิเบาด้วยถ่านไฟเก่ารุมรม เฝา้ แต่หวังรกั เราเธอยังคงบม่ อยา่ วกเวยี นเปลี่ยนเหมือนลมด้วยหวงั ชมชน่ื เชย เด่นจนั ทร์ฉายจันทรแ์ รมยงั กลายมัวหมน่ เปรียบเหมอื นเดือนกเ็ หมือนคนจติ วกวนงา่ ยดาย กอ่ นเคยเหน็ ดวงจนั ทรว์ นั เพ็ญพรา่ งพราย ก่อนแสงแรงกลับแสงคลายดั่งรักกลายรักจาง เพราะมบี างอารมณ์พาให้ขนื่ ขมรกั เบาบาง เหมือนเดือนเวยี นตามทางเดือนมดื มวั จางห่างไป จวบวันเพญ็ ดวงจันทร์เวยี นเปน็ เดือนใหม่ เปรียบรักเราอบั เฉาไปกลับรกั ใหม่คนื คง เพลงยามคา่ ยามประกายแสงทองส่องงามเรืองผ่องนภา ประเทืองผองมวลชวี าดังพรจากฟา้ เสกมาให้ ยามประกายแสงเดือนส่องยามนวลผ่องฟ้าไกล ชื่นชมสมดงั ดวงใจสบสขุ สดุ ใสหทยั บาน ยามคา่ ลงโพล้เพลถ้ ่ายเทประภาในเมื่อยามทิวาตอ่ ราตรกี าล มีแตค่ วามมืดมนอบั จนดวงมาลย์เหงาปานขาดใจ แทท้ ่จี รงิ น้นั ยามค่านาให้ร่ืนฤทยั ค่าลงแลว้ ราตรีใหม่เคลอ่ื นมาพาใจใหช้ ื้นชนื่ เชย ยามรุ่งแสงทิวางามเรืองอรา่ มวิไล โลกเรงิ สาราญปานใดหม่มู วลพนั ธ์ุไม้ดอกใบบาน ครนั้ เมือ่ ยามแสงเดือนส่องราตรผี ่องสาราญ หมดู่ าววับวามงามตระการโลกเป็นสถานช่ืนบานใจ ยามคา่ ลงสลัวมืดมัวแสงสีแสนเปลีย่ วในฤดสู ุดทีอ่ าลัย มีแตค่ วามมดื มนอับจนดวงใจคอยคืนใหมง่ าม แท้ท่จี ริงน้ันยามคา่ นายามเนือ่ งถงึ ยาม คา่ ลงแลว้ ราตรีตามโลกย่ิงสุดงามสมความชนื่ ชม
เพลงย้ิมสู้ โลกจะสุขสบายนั้นเป็นไดห้ ลายทางตอ้ งหลบส่ิงกีดขวางหนทางให้พ้นไป จะสบความสุขสนั ต์สาคญั ที่ใจสขุ และทกุ ข์อย่างไรเพราะใจตนเอง ฝ่าลู่ทางชวี ิตต้องคิดเฝ้ายอ้ มใจโลกมืดมนเพียงใดหัวใจอย่าครา้ มเกรง ตั้งหนา้ ชน่ื เอาไวย้ อ้ มใจดว้ ยเพลงไยนกึ กลัวหวาดเกรงยิ้มสู้ คนเป็นคนจะจนหรือมีรา้ ยหรอื ดีคงมหี วังอยู่ ยามปวงมารมาพาลลบหลยู่ ้ิมละมัยใจสู้หมูม่ วลเภทภัย ใฝก่ ระทาความดีให้มจี ิตโสภาสรา้ งแตค่ วามเมตตาหาความสุขสนั ตไ์ ป จะสบความสขุ สันต์สาคัญท่ีใจเฝ้าแต่ยิม้ สไู้ ปแล้วใจชน่ื บาน เพลงสายลม ท่ามกลางฟากฟ้ามัวหมน่ ลิว่ ลมหล่งั ฝนโปรยทัว่ เยอื กเยน็ ชีพเฉาเมามัวจิตใจไหวหวาดกลัวหวัน่ ฟา้ คารามล่นั โรจนเ์ รอื งแปลบแสงฟา้ ผา่ ลอ่ งลอยล่ิวมาเสียงสน่ัน โอ้ลมหนอลมพดั คนื วันโบกโบยเพยี งไหนกนั พดั จนไมร่ ู้วนั สงบเอย ตอ้ งลมเหลา่ ไมเ้ อนลิว่ ลู่ใบลุ่ยพลวิ้ ปลิววอ่ น จิตใจอ่อนท้ออาทรด้วยลมพัดโบกวอนล่องหนวนเวยี นไป อย่าเป็นอยา่ งสายลมเล่าเปล่ียนแปลงซมึ เซาเหลิงรักใหม่ โอ้ลมหนอลมพดั เลยไปโลกเคยรฉู้ ันใดแลว้ คงสุขสมใจยิ่งเอย เพลงแสงเดือน นวลแสงนวลผอ่ งงามตา แสงจันทราส่องเรอื งฟากฟา้ ไกล งามแสงงามผอ่ งอาไพ ยอ้ มดวงใจให้คงคลงั่ ไคลเ้ ดือน ชมแลว้ ชมเลา่ เฝา้ วชะแง้แลดู เพลนิ พิศเพลนิ อยไู่ มร้ ลู้ มื เลือน เดือนแสงเดอื นผ่องวนั เพญ็ แสงจันทรเ์ พญ็ เด่นงามใดจะเหมือน โฉมงามเทยี บ เปรียบเดอื นแสงงาม
Search