Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดัชนีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

ดัชนีการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา

Published by lampung, 2018-07-05 03:02:06

Description: Evaluation_on_Surveillance_and_Indicator_of_2013

Keywords: Evaluation,Surveillance,Indicator

Search

Read the Text Version

ISSN 0125-7447ปท ่ี 44 ฉบับที่ 12 : 29 มนี าคม 2556 Volume 44 Number 12 : March 29, 2013สํานักระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข / Bureau of Epidemiology, Department of Disease Control, Ministry of Public Health การประเมินระบบเฝา้ ระวงั และตวั ชีว้ ัดของโครงการกาํ จดั โรคหัด จังหวดั สมทุ รสาคร Evaluation on Surveillance and Indicator ofMeasles Elimination Program in Samutsakorn Province, Thailand [email protected] ธนพล หวังธรี ะประเสริฐ และสุคนธา ศิริ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดลบทคัดย่อ รับงานใหม่ เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ และโรงพยาบาลกระทุ่มแบนมี การประเมินระบบเฝ้าระวังและตัวช้ีวัดของโครงการกําจัด ปญั หาเรื่องแพทยฝ์ กึ หัดไมท่ ราบเรอ่ื งระบบเฝา้ ระวงั ร่วมดว้ ยโรคหัด โดยศึกษาเชิงปริมาณ ได้แก่ ความไว ค่าพยากรณ์บวก ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย ได้แก่ เน้นให้เจ้าหน้าท่ีเห็นความถูกต้อง ความทันเวลาของระบบเฝ้าระวัง ประเมินตัวชี้วัด ความสําคัญของระบบเฝ้าระวัง ให้ความรู้แพทย์จบใหม่ถึงความไดแ้ ก่ การตรวจซีร่ัมผู้ปว่ ย การสอบสวนโรคใน 48 ชวั่ โมง ประเมิน จําเปน็ และการรายงานในระบบเฝ้าระวัง ควรสัมภาษณ์ผู้บริหารถึงเชิงคุณภาพ ได้แก่ ความพึงพอใจ ปัญหาและอุปสรรคของระบบ นโยบายการทํางานในระบบเฝา้ ระวงั ในการศกึ ษาครงั้ ต่อไปเฝ้าระวัง เก็บข้อมูลจากเวชระเบียนเทียบกับข้อมูลระบบเฝ้าระวังโครงการกําจัดโรคหัด ประชากรศึกษา คือ ผู้ท่ีมารับการรักษาที่ คําสาํ คญั : การประเมินระบบเฝ้าระวัง, หัด, โครงการกําจัดโรคหัด,โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลบ้านแพ้วและโรงพยาบาล ความไว, ความถกู ตอ้ งกระทุ่มแบน ท่ีได้รับการวินิจฉัยตามรหัสโรคที่กําหนด ระหว่างวันท่ี1 ม.ค. - 31 ธ.ค. 2555 ผู้ปว่ ยเข้านิยาม หมายถึง ผู้ที่มีอาการทาง ****************************************************คลินิคคล้ายหัดหรือแพทย์วินิจฉัยว่าเป็นหัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ร้อยละ ผลการวิจัยพบเพียงโรงพยาบาลสมุทรสาครที่รายงาน บทนาํผู้ป่วยเข้าระบบเฝ้าระวัง มีผู้ป่วยเข้านิยาม 180 ราย ความไวของ ประเทศไทยเข้าร่วมในโครงการกําจัดโรคหัดตามพันธะระบบเฝ้าระวัง ร้อยละ 55.0 ค่าพยากรณ์บวก ร้อยละ 64.7 ความถูกต้องของเพศ อายุ วันเริ่มป่วยคือ ร้อยละ 91.9, 99.0 และ 76.8 สัญญานานาชาติใน ปี พ.ศ. 2552 (1) มีเป้าหมายเพ่ือกําจัดโรคหัดความทันเวลา ร้อยละ 82.8 การตรวจซีร่ัม ร้อยละ 97.0 การ โดยต้องอยู่ภายใต้ระบบเฝ้าระวังหัดที่มีประสิทธิภาพ สํานักระบาดสอบสวนโรค ร้อยละ 82.8 เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมุทรสาครมี วิทยา กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ปรบั เปล่ยี นการเฝา้ ระวังโรคหัดในความพึงพอใจในระบบเฝ้าระวัง โรงพยาบาลบ้านแพ้วและกระทุ่ม ปี พ.ศ. 2554 เพื่อให้ตรวจจับผู้ป่วยได้แม่นยําและเข้าเกณฑ์ของแบนยังไม่เร่ิมรายงานเข้าระบบเฝ้าระวัง เนื่องจากเจ้าหน้าท่ีเพิ่งมา โครงการกําจัดโรคหัดมากข้ึน(2) เช่น ให้ส่งยืนยันการวินิจฉัยทาง ห้องปฏบิ ัติการในผูป้ ่วย (ตามลกั ษณะทางคลนิ คิ ) ทกุ ราย เก็บสิง่ ส่ง ตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ไวรัสหัดเม่ือมีเหตุการณ์การระบาด สอบสวนโรคเฉพาะรายผ้ปู ว่ ยสงสัยโรคหัดภายใน 48 ชวั่ โมง เป็นต้น‹ การประเมินระบบเฝ้าระวงั และตวั ชีว้ ัดของโครงการกาํ จดั โรคหัด จงั หวัดสมทุ รสาคร 177‹ สรุปการตรวจข่าวการระบาดของโรคในรอบสปั ดาห์ที่ 12 ระหวา่ งวันท่ี 17 – 23 มนี าคม 2556 185‹ ขอ้ มลู รายงานโรคเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยาประจาํ สปั ดาห์ที่ 12 ระหวา่ งวนั ที่ 17 – 23 มนี าคม 2556 187

วตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทํา ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังโรคหัดของโครงการกําจัดโรคหัดปี พ.ศ.รายงานการเฝ้ าระวงั ทางระบาดวิทยาประจําสปั ดาห์ 2555 พบว่าจังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดที่มีอัตราป่วยมากที่สุดใน ภาคกลาง โดยมีอัตราป่วย 47 รายต่อประชากรแสนราย(3) จังหวัด 1. เพ่ือใหหนวยงานเจาของขอมูลรายงานเฝาระวังทาง สมุครสาครยังไม่เคยมีการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคหัดของโครงการระบาดวิทยา ไดตรวจสอบและแกไขใหถูกตอง ครบถวน กําจัดโรคหัดมาก่อนดังน้ันการวิจัยครั้งน้ีจึงทําการประเมินระบบเฝ้าสมบูรณย งิ่ ขึ้น ระวังโรคหัดตามโครงการกําจัดโรคหัดของโรงพยาบาลรัฐ 3 แห่งใน จังหวัดสมุทรสาคร ได้แก่ โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลบ้าน 2. เพ่ือวิเคราะหและรายงานสถานการณโรคที่เปน แพ้วและโรงพยาบาลกระท่มุ แบน ซงึ่ ผลการวิจยั คร้งั นี้จะเป็นแนวทางปจจุบัน ท้ังใน และตา งประเทศ ในการปรบั ปรงุ ระบบเฝา้ ระวังโรคหดั ตอ่ ไป 3. เพ่ือเปนสื่อกลางในการนําเสนอผลการสอบสวน วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัยโรค หรืองานศกึ ษาวิจัยทส่ี าํ คญั และเปน ปจ จบุ นั 1. เพ่ือประเมินระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการกําจัด 4. เพื่อเผยแพรความรู ตลอดจนแนวทางการดําเนินงาน โรคหัดเชิงปริมาณ ได้แก่ ความไว (Sensitivity) ค่าพยากรณ์บวกทางระบาดวทิ ยาและสาธารณสุข (Predictive Value Positive) ความถูกต้อง (Data accuracy) และความทนั เวลา (Timeliness)คณะทปี่ รกึ ษา นายแพทยส ชุ าติ เจตนเสน นายแพทยป ระยรู กุนาศล 2. เพ่อื ประเมินผลของระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการ นายแพทยธ วชั จายนยี โยธิน นายแพทยป ระเสรฐิ ทองเจริญ กําจัดโรคหัดตามตัวชี้วัดได้แก่ การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการใน นายแพทยค ํานวณ อ้ึงชศู กั ดิ์ นายสัตวแพทยประวิทย ชุมเกษยี ร ผู้ป่วยสงสัยหัดและการสอบสวนโรคในผู้ป่วยทุกรายภายใน 48 นายองอาจ เจริญสุข ชวั่ โมงหวั หนา กองบรรณาธิการ : นายแพทยภาสกร อคั รเสวี 3. เพ่ือประเมินระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการกําจัดบรรณาธกิ ารประจําฉบับ : บรมิ าศ ศกั ดศิ์ ิริสมั พันธ โรคหัดเชิงคุณภาพ ได้แก่ ความพึงพอใจ ปัญหาและอุปสรรคของบรรณาธิการวิชาการ : แพทยหญิงชลุ พี ร จริ ะพงษา การใชร้ ะบบเฝา้ ระวังโรค นายแพทยโสภณ เอย่ี มศิรถิ าวร วธิ กี ารศกึ ษากองบรรณาธกิ าร การศึกษาคร้ังนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ บริมาศ ศกั ดศ์ิ ริ สิ มั พันธ พงษศ ริ ิ วฒั นาสุรกติ ต จากฐานข้อมูลผู้ป่วยในโครงการกําจัดโรคหัดเปรียบเทียบกับข้อมูลฝายขอ มลู เวชระเบียน โดยเก็บข้อมูลจากผู้ท่ีมารับการรักษาท่ีโรงพยาบาล สมุทรสาคร โรงพยาบาลบ้านแพ้ว และโรงพยาบาลกระทุ่มแบน สมาน สยุมภูรจุ นิ นั ท ศศธิ นั ว มาแอเคยี น พัชรี ศรหี มอก ทุกคน ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2555 และได้รับการ น.สพ. ธรี ศกั ด์ิ ชกั นํา สมเจตน ตงั้ เจริญศลิ ป วินจิ ฉยั ตามรหัสโรค (4) ได้แก่ฝายจดั สง : พีรยา คลา ยพอ แดง เชดิ ชยั ดาราแจง สวสั ดิ์ สวา งชมฝา ยศิลป : บริมาศ ศกั ดศ์ิ ริ ิสัมพนั ธ 1. B05.* Measlesสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส : บรมิ าศ ศกั ดิศ์ ิรสิ ัมพนั ธ พรี ยา คลายพอแดง 2. B06.* Rubella 3. B09 Unspecified viral infection characterized แนวทางการเฝาระวังไขห วัดนกในคน by skin and mucous membrane lesions 4. B08.3 Erythema infectiosum [fifth disease] • แนวทางการเฝา ระวงั ไขห วดั นกในคน 5. B08.2 Exanthema subitum [sixth disease] • แบบสงตัวอยางเพือ่ ตรวจวินจิ ฉยั ผปู วยสงสยั ไขหวัดใหญ/ roseola infantum 6. M30.3 Mucocutaneous lymph node syndrome ไขหวัดนก [Kawasaki] • แบบแจง ผปู วยกลุมอาการคลายไขหวดั ใหญ (ILI) ในขายเฝา ระวังทางระบาดวิทยา (AI 1) • แนวทางการสง ตัวอยางตรวจเชื้อไขห วดั นก • แบบสอบสวนผูปวยสงสัยไขห วดั ใหญใ หญ/ไขห วดั นก (AI-2) สามารถดาวนโหลดไดทางเว็บไซตสํานักระบาดวิทยาในกรณีพบผูปวยสงสัยไขหวัดนก ใหกรอกแบบรายงานผูปวยอาการคลายไขหวัดใหญ (AI 1) สงสํานักระบาดวิทยา ภายใน 24 ช่ังโมงมาท่ี [email protected] หรือโทรสารที่หมายเลข 0-2591-8579 หรือ แจงทางโทรศัพทท่ีหมายเลข 0-2590-1882,0-2590-1876, 0-2590-1895178 http://www.boe.moph.go.th/ Weekly Epidemiological Surveillance Report Vol. 44 No.12 : March 29, 2013

ผู้ป่วยเข้านิยาม หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิคของ โรงพยาบาลสมุทรสาครมีผู้ป่วยเข้านิยาม 180 ราย มี 99 ราย ถูกรายงานในโครงการกําจัดโรคหัดคิดเป็นค่าความไว ร้อยละ 55.0หัดหรือผทู้ ี่ไดร้ บั การวินจิ ฉัยจากแพทย์ ผู้ถูกรายงานเข้าโครงการกําจัดโรคหัดจํานวน 153 ราย มี 99 ราย เป็นผู้ป่วยตามนิยามคิดเป็นค่าพยากรณ์บวก ร้อยละ 64.7 ความนอกจากน้ียังมีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพในประเด็น ความ ถูกตอ้ งของขอ้ มลู ในโครงการกาํ จดั โรคหดั ของโรงพยาบาลสมทุ รสาคร ไดแ้ ก่ ตัวแปรเพศ ร้อยละ 91.1 อายุ ร้อยละ 99.0 วนั เร่ิมป่วย รอ้ ยละพงึ พอใจ ปัญหาและอปุ สรรคของการใช้ระบบเฝ้าระวงั โดยสอบถาม 76.8 ความทันเวลาของการออกสอบสวนโรคหรือรายงานโรคเข้าสู่ ระบบเฝ้าระวังสามารถวิเคราะห์ได้ในผู้ป่วยตามนิยาม 58 รายโดยเจา้ หน้าทรี่ ะบาดวทิ ยาของโรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง แห่งละ 1 คน และ มีความทนั เวลา 48 ราย คดิ เป็น ร้อยละ 82.8 ดังตารางท่ี 2แบบสอบถามเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลท้ัง 3 แห่ง ผลข้อมูลระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการกําจัดโรคหัด ตามตวั ช้วี ัดแห่งละ 1 คน การสง่ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ ารในผ้ปู ว่ ยการวิเคราะห์ผลการวิจัยเป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนา จากผู้ที่เข้านิยามผู้ป่วย (ไม่นับผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ ระบาด) และถูกรายงานเข้าฐานกําจัดหัด 99 ราย พบว่ามีการส่ง(Descriptive Research) ซึง่ จะประเมินระบบเฝา้ ระวงั ตามดัชนีชี้วัด ตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร 96 ราย (ร้อยละ 97) การสอบสวนโรคผู้ป่วยสงสัยโรคหัดภายใน 48 ช่ัวโมงต่อไปนี้ คอื ความไวของระบบเฝ้าระวัง ค่าพยากรณ์บวกของระบบ หลังจากพบผ้ปู ่วยไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 ผู้ท่ีเข้านิยามผู้ป่วยและถูกรายงาน 99 ราย พบข้อมูลเฝา้ ระวงั ความถกู ตอ้ งของข้อมูลระบบเฝ้าระวัง และความทันเวลา วันท่ีออกสอบสวนโรค 58 ราย ความทันเวลาในการออกสอบสวน โรค 48 ราย (ร้อยละ 82.8) ดังตารางที่ 2ของระบบเฝา้ ระวงั โดยเกณฑใ์ นการประเมินมีดงั น้ี ผลการศกึ ษาข้อมลู ระบบเฝา้ ระวังโรคหัดเชิงคุณภาพ ความพงึ พอใจผลการประเมนิ ระดบั เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลสมุทรสาครมีความพึงพอใจ ยินดที ีใ่ ห้ความร่วมมือ เข้าใจถึงความจําเป็นของโครงการกําจัดโรคหัดมากกว่าหรือเทา่ กับร้อยละ 80 ดี ถ้าพบว่ามีผู้ป่วยหัดจะลงไปสอบสวนให้และรายงานเข้าระบบเฝ้า ระวงั ทนั ที มกี ารทาํ งานรว่ มกับห้องปฏิบัติการเป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามระหว่างร้อยละ 60-79 ปานกลาง เจ้าหน้าท่หี ้องปฏบิ ัติการรูส้ ึกวา่ มีงานทจี่ ะต้องทาํ มากขึน้ ปัญหาและอุปสรรคนอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ควรปรบั ปรงุ เจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลสมุทรสาครไม่มีปัญหาในการ ทํางานในระบบเฝ้าระวัง อย่างไรก็ตามมีอุปสรรคเล็กน้อยในการการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยหัดและการ เจาะเลือดวินิจฉัยว่า ถ้าแพทย์ไม่ได้วินิจฉัยหรือสงสัย ก็ไม่สามารถ ไปเจาะเลือดผู้ปว่ ยได้สอบสวนโรคในผปู้ ่วยทกุ รายภายใน 48 ชั่วโมง คิดเกณฑ์ผ่านถ้าไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80ขอ้ มลู ความพึงพอใจ ปัญหา และอุปสรรคของการใช้ระบบเฝ้าระวงั จะนาํ มาสรปุ สาระสําคัญตามประเด็นผลการศกึ ษาประชากรที่ถูกคัดเข้ามาในการศึกษา จํานวน 260 รายจากโรงพยาบาลสมุทรสาคร 182 ราย มีความครอบคลุมของการค้นหาประมาณร้อยละ 85 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว 33 ราย และโรงพยาบาลกระทุ่มแบน 45 ราย มีความครอบคลุมเท่ากับ ร้อยละ100 ดงั ตารางท่ี 1ผลการศกึ ษาขอ้ มูลระบบเฝ้าระวงั โรคหัดเชิงปรมิ าณโรงพยาบาลท่ีมกี ารดาํ เนนิ งานเฝ้าระวงั โรคหดั ตามโครงการกําจัดโรคหัด ได้แก่ โรงพยาบาลสมุทรสาคร โดยโรงพยาบาลบ้านแพ้วและโรงพยาบาลกระทุ่มแบนยังไม่มีการเฝ้าระวังผู้ป่วย โรคหัดตามโครงการนี้ตารางที่ 1 ประชากรศึกษา ผู้ป่วยเข้านิยามและผู้ป่วยไม่เข้านิยามโรคหัดของโรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลบ้านแพ้ว และ โรงพยาบาลกระทมุ่ แบน ปี พ.ศ. 2555 รวม โรงพยาบาลสมทุ รสาคร โรงพยาบาลบา้ นแพว้ โรงพยาบาลกระทุ่มแบน ประชากรศึกษา 260 182ก 33ข 45ข ผปู้ ่วยเข้านิยาม 239 180 22 37 ผู้ปว่ ยไม่เขา้ นิยาม 21 2 11 8 กรอ้ ยละของความครอบคลุม ร้อยละ 80 ขรอ้ ยละของความครอบคลมุ รอ้ ยละ 100 http://www.boe.moph.go.th/ 179 รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห ปท่ี 44 ฉบับท่ี 12 : 29 มีนาคม 2556

ตารางที่ 2 ผลการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการกําจัด อตุ สาหกรรม ทําให้มีแรงงานต่างชาติเข้ามาทํางานเป็นจํานวนมาก โรงพยาบาลบ้านแพ้วพบประชากรไทย ร้อยละ 100 เน่ืองจาก โรคหัดเชงิ ปริมาณโรงพยาบาลสมุทรสาคร ปี พ.ศ. 2555 ลักษณะของอําเภอเป็นสังคมเกษตรกรรม ทําให้มีแรงงานต่างชาติ มาทํางานในบ้านแพ้วน้อยมาก และอําเภอกระทุ่มแบนมีลักษณะการประเมิน จาํ นวนผปู้ ว่ ย จาํ นวนผปู้ ่วย ร้อยละ ชุมชนผสมระหว่างอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม ทําให้พบ ประชากรต่างชาติได้ โดยมีประชากรไทย ร้อยละ 89.2 การพบความไว (ตัวหาร) (ตวั ตั้ง) 55.0 แรงงานต่างชาติซ่ึงถือเป็นกลุ่มเสี่ยง (6) จํานวนมากในอําเภอเมืองค่าพยากรณ์บวก 180 ก 99 ค 64.7 และอําเภอกระทุ่มแบน เน้นย้ําถึงความสําคัญของระบบเฝ้าระวัง 153 ข 99 ค และการส่งเสริมการใช้ระบบเฝ้าระวังของท้ังสองอําเภอนี้อย่าง เข้มข้น เน่ืองจากมีกลุ่มเส่ียงอาศัยอยู่มาก การประเมินระบบเฝ้าความถกู ตอ้ ง ระวังโรคหัดตามโครงการกําจัดของโรงพยาบาลสมุทรสาคร พบว่า ผลการประเมินความไว (Sensitivity) ของระบบเฝ้าระวัง อยู่ใน-เพศ 99 ค 91 ง 91.9 ระดับท่ีควรปรับปรุง คือ ร้อยละ 55.0 จากผลการประเมินความไว ท่ีอยู่ในระดับต่ํานั้น เกิดจากหลายสาเหตุเช่น โรคหัดเป็นโรคท่ีมี-อายุ 99 ค 98 ง 99.0 อาการทางคลินิคคล้ายกับโรคอื่นจํานวนมาก ทําให้แพทย์วินิจฉัย เบื้องต้นว่าเป็นหัดร่วมกับโรคอ่ืนๆ อย่างไรก็ตามจากการตรวจ-วนั เริม่ ปว่ ย 99 ค 76 ง 76.8 เพิ่มเติมพบว่าผู้ป่วยไม่ได้ป่วยเป็นหัดจึงไม่ได้รายงานแต่ไม่มีการ แก้ไขรหัสโรคที่ได้วินิจฉัยเบ้ืองต้น จึงทําให้ค่าความไวต่ําได้ อีกท้ังความทันเวลา 58จ 48 ฉ 82.8 การที่โรคหัดเป็นโรคที่มีอาการทางคลินิคคล้ายกับโรคอ่ืนจํานวน มากเช่น ไขผ้ ืน่ กหุ ลาบ โรคคาวาซากิ(8) หัดเยอรมัน ทําให้เข้าเกณฑ์ก ผ้ปู ่วยเข้านยิ ามโรคหัด ทางคลินคิ ของนยิ ามผู้ป่วยโรคหดั แตไ่ ม่ถูกวนิ จิ ฉัยว่าเป็นหัด ดังนั้นขผปู้ ว่ ยรายงานเข้าฐานกาํ จดั หัด จึงมีผู้ป่วยตามนิยามที่ไม่ถูกรายงานได้ อีกประการเน่ืองจากคผ้ปู ่วยตามนิยามและรายงานเข้าฐานกาํ จดั หดั เจ้าหน้าท่ีระบาดวิทยาของโรงพยาบาลสมุทรสาครมีภาระงานมากงผู้ปว่ ยตามนยิ ามและรายงานเขา้ ฐานกําจดั หัดและถูกตอ้ งตามเวชระเบยี น เช่น การออกสอบสวนโรคระบาด การรายงานโรคในระบบรายงานจผู้ป่วยตามนยิ ามและรายงานเข้าฐานกาํ จดั หัดและสามารถคดิ ความทันเวลาได้ 506 ซ่ึงมีถึง 84 โรค รวมถึงงานอื่นๆในแผนกเวชกรรม นอกจากน้ีฉผู้ป่วยตามนิยามและรายงานเข้าฐานกําจัดหัดและสามารถคิดความทันเวลาได้ ยังต้องทําหลายบทบาทหน้าที่ เช่นการทํางานเก่ียวกับงานประกัน คณุ ภาพของโรงพยาบาล เปน็ ต้น เมือ่ มงี านอืน่ กจ็ ะไมไ่ ด้รายงานโรคและรายงานทันเวลา ค่าพยากรณบ์ วก (Predictive Value Positive, PVP) ระดับ อนึ่งโรงพยาบาลบ้านแพ้วยงั ไม่มีการรายงานเข้าสู่โครงการ ปานกลาง คือ ร้อยละ 64.7 ซ่ึงใกล้เคียงกับผลการศึกษาระบบเฝ้ากําจัดโรคหัด เนื่องจากเจ้าหน้าท่ีคนปัจจุบันเพิ่งมารับงานใหม่ ระวังโรคหัดของจังหวัดตาก(9) เนื่องจากเป็นพื้นที่ท่ีมีคนต่างด้าวโรงพยาบาลกระทุ่มแบนยังไมม่ กี ารรายงานเขา้ สโู่ ครงการกาํ จดั โรคหดั อาศัยอยู่เป็นจํานวนมาก(10) ทําให้มีโอกาสเกิดโรคระบาดมากด้วยเช่นกันเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเวชกรรม (ด้านระบาดวิทยา) เชน่ กัน เจา้ หนา้ ทจี่ งึ ต้องรบี รายงานผู้ปว่ ยโดยเร็วเมอื่ สงสยั การระบาดมี 2 ท่าน ทําให้เกิดภาระงานที่มาก แพทย์ท่ีตรวจผู้ป่วยท่ัวไปเป็น ทําให้ค่าพยากรณ์บวกต่ําลง อีกทั้งผู้ป่วยท่ีถูกรายงานในโครงการแพทย์ฝึกหัด ทําให้ไม่ทราบเร่ืองระบบโครงการกําจัดโรคหัดและ กําจัดโรคหัดจํานวนมากเป็นผู้ป่วยที่พบจากเหตุการณ์ระบาด ซึ่งไมไ่ ด้สง่ั เจาะเลอื ดผู้ปว่ ย การขอความร่วมมือพยาบาลยงั ดําเนินการ เกิดขึ้นในจังหวัดสมุทรสาครในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งผู้ป่วยอาจมีอาการได้ไม่ดีนกั เนื่องจากภาระงานพยาบาลที่มาก มีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่าย นอ้ ยจงึ รักษาแบบประคับประคองท่สี ถานอี นามยั หรือคลนิ กิ เอกชน ไม่ในการส่งตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร จะต้องเสยี ค่าขนส่งเทยี่ วละ 200 ได้มารับการรกั ษาในโรงพยาบาลจงึ ไมเ่ ข้านิยามผู้ปว่ ยบาท ซึ่งโรงพยาบาลต้องเป็นผู้รับภาระคา่ ใช้จา่ ยเอง ความถูกต้องของข้อมูลระบบเฝ้าระวัง (Data Accuracy)สรุปและอภิปรายผลการศกึ ษา พบว่า ตวั แปรเพศ และอายุ มคี วามถกู ต้องของขอ้ มูลอยู่ในเกณฑ์ท่ี สงู มาก คอื รอ้ ยละ 91.9 และ 99.0 ตามลําดับ ส่วนตัวแปรวันเริ่มป่วย ความครอบคลุมของการสืบค้นของโรงพยาบาลบ้านแพ้วและโรงพยาบาลกระทุ่มแบนได้แก่ ร้อยละ 100 เนื่องจากมีการลงข้อมูลของผู้ป่วยในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ด้วย ทําให้สืบค้นได้ง่ายอย่างไรกต็ ามโรงพยาบาลสมุทรสาครยังมีการจัดเก็บขอ้ มลู ผปู้ ่วยในเวชระเบียนทําให้มีความครอบคลุมของการค้นหาประมาณ ร้อยละ85 การที่พบผู้ป่วยเข้านิยามที่โรงพยาบาลสมุทรสาครมากเน่ืองจากอําเภอเมืองสมุทรสาครเป็นอําเภอที่มีประชากรอยู่หนาแน่นท่ีสุด (5) อีกทั้งยังประกอบด้วยแรงงานต่างชาติซ่ึงถือเป็นกลุ่มเส่ียงจํานวนมาก ดังน้ันจึงพบผู้ป่วยเข้านิยามเป็นจํานวนมากการที่พบประชากรไทยในโรงพยาบาลสมุทรสาครตํ่าท่ีสุด (ร้อยละ71.1) เน่ืองจากลักษณะของอําเภอเมืองสมุทรสาครที่เป็นเมือง180 http://www.boe.moph.go.th/ Weekly Epidemiological Surveillance Report Vol. 44 No.12 : March 29, 2013

มีความถูกต้องร้อยละ 76.8 สาเหตุของตัวแปรวันเร่ิมป่วยท่ีมักมี ประเมินผู้ป่วยในสถานพยาบาลเอกชนหรือสถานีอนามัย ทําให้ผลความผิดพลาด เนื่องจากเจ้าหน้าที่บางส่วนใช้วันท่ีมารับการรักษา การประเมินระบบเฝ้าระวังอาจไม่สะท้อนภาพที่เกิดขึ้นจริงในแทนวันเริ่มป่วยซ่ึงมีโอกาสทําให้เกิดความผิดพลาดได้มาก อีกท้ัง บางอย่าง เช่น ความไวของระบบเฝ้าระวัง เพราะอาจมีผู้ป่วยหัดไม่ได้ซักประวัติวันเร่ิมป่วยตั้งแต่ตอนแรกที่ผู้ป่วยมารับการรักษา บางรายที่มีอาการน้อย ไปรักษาที่สถานพยาบาลข้างต้นและไม่ถูกหรือซักประวัติแล้วไม่ได้บันทึกไว้ การเน้นยํ้าให้เจ้าหน้าที่ตระหนัก รายงานเขา้ โครงการกาํ จัดโรคหัดได้ถึงวันเร่ิมป่วยของผู้ป่วยเป็นส่ิงจําเป็น เนื่องจากสามารถทราบถึงระยะเวลาแพร่เชื้อของผู้ป่วยหรือโอกาสที่ผู้ป่วยจะไปแพร่เช้ือให้ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย ได้แก่ เน้นให้เจ้าหน้าที่ที่ใครได้ ทําให้สามารถควบคุมการแพร่กระจายโรคได้มีประสิทธิภาพ เกี่ยวข้องเห็นความสําคัญของระบบเฝ้าระวังโครงการกําจัดโรคหัดมากย่งิ ขนึ้ ให้ความรู้แพทย์จบใหม่ถึงความจําเป็นและการรายงานในข้อมูล ผู้ป่วยสงสัยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง และในการศึกษาครั้งต่อไปควร ความทันเวลาของระบบเฝ้าระวังอยู่ในเกณฑ์ดี (11) คือ ร้อยละ สัมภาษณ์ผู้บริหารถึงนโยบายของแต่ละโรงพยาบาลในการทํางาน82.8 ซ่ึงสะท้อนจากข้อมูลเชิงคุณภาพโดยเจ้าหน้าท่ีเวชกรรมของ ในระบบเฝ้าระวงั ในโครงการนี้ดว้ ยโรงพยาบาลสมุทรสาคร มีการยอมรับและให้ความร่วมมือในการดําเนินงานตามโครงการกําจัดโรคหัดเป็นอย่างดี เช่น สอบสวนโรค เอกสารอา้ งองิทันทีที่ได้รับแจ้งว่าพบผู้ป่วย ซึ่งสอดคล้องกับตัวช้ีวัดอีกข้อหน่ึงไดแ้ ก่ การสง่ ตรวจทางห้องปฏบิ ตั ิการถงึ รอ้ ยละ 97 ของผปู้ ่วยตาม 1. WHO. Report of the regional consultation onนิยามซึ่งใกล้เคียงกับการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในระดับ measles, 2009. [cited 2555 3/10/2555]. Availableประเทศที่ ร้อยละ 99 สะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือและความ from: http://203.90.70.117/PDS_DOCS/B4512.pdfแขง็ แกร่งของโครงการกําจัดโรคหดั ในโรงพยาบาล 2. Bureau of Epidemiology MoPH, Thailand. Measles เจ้าหนา้ ที่เวชกรรมโรงพยาบาลสมทุ รสาครมคี วามพึงพอใจ Situation, Thailand 2011 – May 2012. [cited 2555ในการทํางานในระบบเฝ้าระวังตามโครงการกําจัดโรคหัด อีกท้ังมี 3/10/2555]. Available from: http://thaigcd.ddc.การทํางานประสานกับเจ้าหน้าท่ีส่วนอื่นเช่น เจ้าหน้าท่ีห้อง moph.go.th/uploads/file/pat2/EPI%20PATTAYA/Meaปฏบิ ตั ิการ แพทย์ เปน็ อย่างดี อาจเนอื่ งมาจากความเขา้ ใจถึงความ sles%20Thailand_May2012.pdfจาํ เปน็ และประโยชนข์ องโครงการดังกลา่ ว ถึงแม้ว่าจะตอ้ งมภี าระงานที่มากข้ึนก็ตาม การที่เจ้าหน้าท่ีเวชกรรมไม่มีอํานาจส่ังตรวจเลือด 3. สํานักโรคติดต่อท่ัวไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.เม่ือสงสัยผู้ป่วยโรคหัดเน่ืองจากแพทย์ไม่ได้วินิจฉัยหรือสงสัย เป็น ฐานข้อมูลโครงการกําจัดหัด. [สืบค้นวันที่ 18 กันยายนอุปสรรคต่อความไวของระบบเฝา้ ระวงั โดยอาจเป็นเหตุผลหน่ึงที่ทํา 2555]; เข้าถึงได้จาก http://www.eradicationthai.com/ให้ความไวของระบบเฝ้าระวังตาํ่ ได้ report.php โรงพยาบาลบ้านแพ้วและโรงพยาบาลกระทุ่มแบนยังไม่ได้ 4. ดารนิ ทร์ อารียโ์ ชคชยั . แนวทางการเฝ้าระวังควบคุมโรค การตรวจดําเนินการเฝ้าระวังโรคหัดตามโครงการกําจัดโรคหัดเนื่องจาก รักษา และส่งตัวอย่างตรวจทางห้องปฏิบัติการเพ่ือการกําจัดปัญหาด้านบุคลากร โดยโรงพยาบาลบ้านแพ้วมีเจ้าหน้าท่ีมาใหม่ โรคหัดตามโครงการกําจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ:โรงพยาบาลกระทุ่มแบนมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานน้อย เน้นย้ําถึง โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย; 2554.ความสาํ คัญของบคุ ลากรตอ่ การทาํ งานในระบบเฝ้าระวัง โดยต้องมีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหนา้ ท่ีทเี่ พียงพอและการเพิม่ เจา้ หนา้ ท่ใี ห้ 5. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร. ข้อมูลประชากรเหมาะกับภาระงาน อีกท้ังโรงพยาบาลกระทุ่มแบนยังมีปัญหาด้าน เมืองสมุทรสาคร พ.ศ. 2553. [สืบค้นวันท่ี 3 มีนาคม 2556].การประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังแพทย์และพยาบาลทํา เข้าถึงได้จาก http://skno.moph.go.th/webinformation/ให้ยงั ไม่มีการรายงานผปู้ ว่ ยเข้าโครงการนี้ pop.html ข้อจาํ กดั ของการศกึ ษาน้ี ได้แก่ การไม่ได้สมั ภาษณผ์ บู้ ริหาร 6. สํานักโรคติดต่อท่ัวไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.ทําให้อาจไม่เข้าใจถึงบริบทด้านนโยบาย หรือการบริหารได้ เช่น แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคหัด. [สืบค้นนโยบายการเบิกค่าใช้จ่ายส่งตรวจ นโยบายการส่งเสริมการใช้ วันที่ 4 มีนาคม 2556]. เข้าถึงได้จาก http://thaigcd.ddc.ระบบเฝ้าระวังโครงการกําจัดโรคหัดของโรงพยาบาลการไม่ได้ moph.go.th/ 7. สิริกร เค้าภูไทย. วงจรของโรคระบาดในฤดูหนาว. [สืบค้นวันท่ี 5 มีนาคม 2556]. เข้าถึงได้จาก http://www.hiso.or.th/ hiso/tonkit/tonkits_34.php http://www.boe.moph.go.th/ 181รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห ปที่ 44 ฉบับท่ี 12 : 29 มีนาคม 2556

8. Tait DR, Ward KN, Brown DW, Miller E. Exanthem 10. กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร สํานักงานจังหวัด subitum (roseola infantum) misdiagnosed as สมุทรสาคร. ปัญหาสําคัญและการแก้ไขปัญหาของจังหวัด. measles or rubella [corrected]. BMJ. 1996 Jan [สืบค้นวันที่ 18 กันยายน 2555]. เข้าถึงได้จาก http://www. 13;312(7023):101-2. samutsakhon.go.th/support40853/source/problem.pdf9. วิจิตรและคณะ. การประเมินระบบเฝ้าระวังโรคหัด จังหวัดตาก 11. สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. ปี พ.ศ. 2554. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจํา แนวทางการประเมินระบบเฝ้าระวังทางสาธารณสุข. นนทบุรี, สปั ดาห์. 2555; 43: 529-34. 2551.แนะนาํ การอ้างอิงสาํ หรับบทความนี้ Suggested Citation for this Articleธนพล หวังธีระประเสริฐ และสุคนธา ศิริ. การประเมินระบบเฝ้า Tanapol W, Sukhontha S. Evaluation on Surveillanceระวังและตัวชี้วัดของโครงการกําจัดโรคหัด จังหวัดสมุทรสาคร. and Indicator of Measles Elimination Program in Samutsakorn Province, Thailand. Weekly Epidemiologicalรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห์ 2556; 44:177-183. Surveillance Report 2013; 44: 177-183. ****************************************************** หลักเกณฑก ารสง บทความวิชาการ คณะกองบรรณาธิการฯ ไดเปดเวทีใหผูท่ีสนใจสงบทความวิชาการ/ผลการศึกษาวิจัย เก่ียวกับการดําเนินงานปองกัน ควบคุมโรคเพ่ือตีพิมพเผยแพรในรายงานเฝาระวังทางระบาดวิทยา ประจําสัปดาห และฉบับผนวก (Supplement) ของสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคโดยกําหนดหลกั เกณฑ การสง บทความวชิ าการ/ผลการศึกษาวิจยั ดังนี้ลักษณะรูปแบบเรอื่ งทางวชิ าการทีจ่ ะตพี ิมพ (ตัวอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 16) 1. บทความวชิ าการ เนอ้ื ความตัวอักษร จาํ นวนไมเกนิ 1 - 3 หนา กระดาษ เอ 4 ประกอบดว ย - บทนาํ ซ่งึ อาจมวี ตั ถปุ ระสงคกไ็ ด - เนื้อหา - สรุป - เอกสารอางอิง (ถา มี) 2. การสอบสวนโรค เนอ้ื ความตัวอักษร จํานวนไมเ กนิ 6 - 8 หนา กระดาษ เอ 4 และ รูปจาํ นวน 1 หนากระดาษ เอ 4 3. การศกึ ษาวจิ ัย เน้อื ความตัวอักษร จาํ นวนไมเ กิน 6 - 8 หนา กระดาษ เอ 4 และ รปู จํานวน 1 หนากระดาษ เอ 4 4. แนวทาง/ผลการวเิ คราะหการเฝาระวังโรค เนอ้ื ความตวั อักษร จาํ นวนไมเ กนิ 3 - 5 หนา กระดาษ เอ 4 5. งานแปล ประกอบดว ย หนังสอื /เอกสารทีแ่ ปล, ชอ่ื ผแู ปล, เนอื้ หาที่แปล จาํ นวนไมเกนิ 3 - 5 หนา กระดาษ เอ 4การสง ตน ฉบบั สงแผน ดสิ กพ รอมกับตน ฉบบั จริง จํานวน 1 ชดุ หรือ สง E-mail พรอ มแนบไฟลบทความที่จะลงตีพิมพ พรอมทั้งแจงสถานที่อยูหมายเลขโทรศัพทข องเจา ของเรอ่ื ง เพื่อทคี่ ณะกองบรรณาธิการจะติดตอได และสงมาที่ กลุมงานเผยแพร สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรคโทรศัพท 0-2590-1723 โทรสาร 0-2590-1784 E-mail : [email protected] หรอื [email protected] http://www.boe.moph.go.th/ Weekly Epidemiological Surveillance Report Vol. 44 No.12 : March 29, 2013

Evaluation on Surveillance and Indicator of Measles Elimination Program in Samutsakorn Province, Thailand Authors: W Tanapol, S Sukhontha Faculty of Public Health, Mahidol University, Bangkok, Thailand Abstract Evaluation on Surveillance and indicator of a measles elimination program was done by assessing quantitative data (sensitivity, predictive value positive (PVP), data accuracy and timeliness), indicator of the program (collecting serum of cases and individual investigation within 48 hours) and qualitative aspect (satisfaction and problems). We compared medical records with surveillance data on measles elimination program. Studied population was patients who were treated at Samutsakorn, Banphaeo and Krathumban Hospitals, and were diagnosed with specific ICD10 codes between 1 January and 31 December 2012. Defined cases were people who had clinical measles manifestations or were diagnosed by a doctor. The results showed that only Samutsakorn Hospital, which had 180 defined cases, had reported data to the system. Sensitivity was 55.0% while PVP was 64.7% and timeliness was 82.8%. Data accuracy of age was 99.0% followed by gender with 91.9% and onset date with 76.8%. Only 97% of patients’ serum were collected and individual investigation was conducted only for 82.8%. Officers of Samutsakorn Hospital had satisfaction with the program. Both Banphaeo and Krathumban Hospital did not start implementing the program yet because there were no sufficient human resources, the newly assigned officer might not understand about the program and interns in the hospitals did not know about the program. We recommended that importance of the measles elimination program should be explained to hospital officers. In addition, knowledge on importance and process of the program should be provided to the interns. Administrators of the hospitals should be interviewed to understand the policy relating to the program. Keywords: Surveillance, Evaluation, Measles, Elimination************************************************************************************************************* http://www.boe.moph.go.th/ 183รายงานการเฝาระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห ปที่ 44 ฉบับท่ี 12 : 29 มีนาคม 2556

การนาํ เสนอผลงานวชิ าการการบาดเจบ็ ในวันที่ 12 มถิ นุ ายน 2556 ประเดน็ หลกั 3 หวั ข้อ 1. การนําข้อมลู IS และหรือ trauma registry มาใช้แกไ้ ขปญั หา acute trauma care including refer ใน รพ. หรือ IS for HA 2. การใชข้ อ้ มูลในระบบใดระบบหนึ่ง แหลง่ ใดแหลง่ หน่ึง หรือหลายแหลง่ รว่ มกันสงั เคราะห์องค์ความรนู้ ําไปสู่ การป้องกันและแก้ไขบญั หาอุบตั ิเหตุทางถนน (ROAD TRAFFIC INJURIES PREVENTION AND CONTROL): IS , EMS, 19 สาเหตุ, Death registration data, Behavior risk survey ,RST & POLIS police Data, Insurance, Investigation and small researches ,etc.) 3. การใชข้ อ้ มลู IS, investigation report and other researches or data sources for other injuries (Drowning, Falls, Fireworks related injuries, Violence, etc.) prevention and control” รปู แบบการประชุม - รูปแบบการประชุมผเู้ ขา้ รว่ มประมาณ 120 คน - การบรรยายพิเศษโดยวทิ ยากรผ้ทู รงคุณวฒุ ทิ ง้ั ในระดบั ประเทศและ WHO-SEARO • Plenary Lecture • Panel Discussion - การนําเสนอผลงานวิชาการ (Free paper) • Free paper: Oral presentation (15 เร่ืองท่ีได้รบั คัดเลอื ก) ในวันท่ี 12 มิ.ย. 2556 • Free paper: Poster presentation (คนที่ไดร้ ับการคัดเลอื ก กําหนดให้โปสเตอรม์ ีขนาด กว้าง 80 เซนตเิ มตร และยาว 120 เซนตเิ มตร) ผเู้ ข้ารว่ มประชุม แพทย์ นกั วชิ าการ นักวิจยั ผ้ปู ฎบิ ตั งิ านในเครือข่ายเฝา้ ระวงั การบาดเจบ็ และ สถานพยาบาลท่ีสนใจเก่ยี วกับการปอ้ งกนั ควบคุมการบาดเจบ็ ในประเทศ ผรู้ ับผดิ ชอบ สํานักระบาดวิทยา กลุ่มงานพฒั นาระบบเฝา้ ระวังทางระบาดวิทยาการบาดเจ็บ องคก์ ร/ภาคีรว่ มจดั สาํ นักโรคไมต่ ดิ ต่อ, เครือขา่ ย สอจร และศูนย์วิชาการปลอดภยั ทางถนน มสช. กําหนดการ - ปิดรับการส่งผลงานวิชาการเข้าประกวด 30 เมษายน 2556 - ประกาศผล 10 พฤษภาคม 2556 ติดต่อรับแบบตอบรบั และสง่ การนาํ เสนอมาท่ี สํานักระบาดวทิ ยา ถ.ติวานนท์ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2590 3354 โทรสาร 0 2590 3337 ภายในวันที่ 30 เมษายน 2556 ติดตอ่ ผู้ประสานงาน อรัฐา รังผึง้ email: [email protected] http://www.boe.moph.go.th/ Weekly Epidemiological Surveillance Report Vol. 44 No.12 : March 29, 2013


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook