Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter1

chapter1

Published by benzthanan, 2018-08-26 23:51:28

Description: chapter1

Search

Read the Text Version

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

ประเภทของการรับ - ส่งสัญญาณข้อมูล (ต่อ) Asynchronous Transmission เพม่ิ บิตควบคุม Start Bit, Stop Bit และ Parity Bit เพือ่ ใชแ้ บ่งขอ้ มูลออกมาเป็น 1 ตวั อกั ขระ (1 Character) ความเร็วในการรับส่งขอ้ มูลจะชา้ เน่ืองจากตอ้ งมีการเพ่ิมท้งั 3 บิตน้นั ลงไปยงั ตวั อกั ขระทุกตวั พบการรับส่งขอ้ มูลแบบน้ีไดใ้ นอุปกรณ์ท่ีมีความเร็วในการรับส่งขอ้ มูลต่า เช่นโมเดม็ คียบ์ อร์ด เป็นตน้ Synchronous Transmission เพิ่มไบตท์ ่ีเป็น Header Trailer และParity Bit ไวท้ ่ีส่วนหวั และทา้ ยของแพค็ เกต็ ขอ้ มูลทาให้ สามารถรับ – ส่งขอ้ มูลไดเ้ ป็นจานวนมาก ซ่ึงการรับส่งขอ้ มูลน้นั ท้งั ฝ่ังรับและฝ่ังส่งจะตอ้ ง ทางานใหส้ อดคลอ้ งโดยใชส้ ญั ญาณนาฬิกา (Clock) ท่ีมีความถ่ีเท่ากนั หากใชค้ วามถี่ไม่ เท่ากนั จะทาใหก้ ารรับ - ส่งขอ้ มูลผดิ พลาดวธิ ีน้ีจะเหมาะกบั ระบบท่ีตอ้ งมีการรับ – ส่งขอ้ มูล ตลอดเวลา

ทศิ ทางของการส่ือสารข้อมูล แบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission) ผสู้ ่งสามารถส่งขอ้ มูลไดเ้ พียงทางเดียวเท่าน้นั ผรู้ ับไม่สามารถส่งขอ้ มูลตอบ กลบั มาได้ เช่น การกระจายเสียงทางวิทยแุ ละการแพร่ภาพทางโทรทศั น์ เป็นตน้ แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplex Transmission) แต่ละฝ่ ายสามารถรับ – ส่งขอ้ มูลไดแ้ ต่จะไม่สามารถทาไดใ้ นเวลาเดียวกนั เช่น การใชว้ ิทยสุ ่ือสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นตน้ แบบสองทศิ ทาง (Full-duplex Transmission) สามารถรับส่ง – ขอ้ มูลไดพ้ ร้อมกนั ท้งั สองทาง ตวั อยา่ งเช่น การคุยโทรศพั ท์ การ สนทนาออนไลน์ในหอ้ งสนทนา (Chat Room) เป็นตน้

ทศิ ทางของการส่ือสารข้อมูล (ต่อ)

ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ระบบเครือขา่ ย (Network) คือ กลุ่มของเทคโนโลยี (ประกอบดว้ ยฮาร์ดแวร์ ซอฟตแ์ วร์ ตวั กลาง และอ่ืนๆ) ท่ีสามารถเช่ือมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์เขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์เหล่าน้นั สามารถติดต่อสื่อสารกนั และเปล่ียน สารสนเทศระหวา่ งกนั และใชแ้ หล่งขอ้ มูลร่วมกนั แบบเรียลไทม์ (real time) ในปัจจุบนั องคก์ รบางองคก์ รใชร้ ะบบรวมศูนยก์ ลาง คือ ใชเ้ คร่ืองเมนเฟรมและ เคร่ืองเทอร์มินลั แต่ในขณะเดียวกนั ระบบธุรกิจและโรงเรียนจานวนมากได้ เปลี่ยนจากระบบรวมศูนยก์ ลางเป็นระบบเครือข่ายแบบใชเ้ คร่ืองพซี ี เพราะมี ความยดื หยนุ่ มากกวา่ การใชเ้ ครื่องเมนเฟรมร่วมกบั เครื่องเทอร์มินลั

ประโยชน์ของการใช้ระบบเครือข่าย การใช้งานพร้อมกนั ระบบเครือข่ายจะอนุญาตใหผ้ ใู้ ชห้ ลายๆ คนใชโ้ ปรแกรมและขอ้ มูลตา่ งๆ ไดใ้ นเวลา เดียวกนั การใช้อุปกรณ์รอบข้างร่วมกนั ระบบเครือข่ายจะอนุญาตใหผ้ ใู้ ชห้ ลายๆ คน ใชอ้ ุปกรณ์ตา่ งๆ ในเครือข่ายร่วมกนั ได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ เป็นตน้ การส่ือสารส่วนบุคคล ระบบเครือข่ายสามารถทาใหผ้ ใู้ ชต้ ิดตอ่ ส่ือสารกนั ไดง้ ่ายข้ึน การสารองข้อมูลทีง่ ่ายขึน้ ระบบเครือขา่ ยสามารถทาใหผ้ ใู้ ชแ้ ละผดู้ ูแลระบบสารองขอ้ มูลท่ีสาคญั ไดง้ ่าย

ชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายระยะใกล้หรือเครือข่ายแลน แลน คือระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ท่ีอยใู่ นพ้ืนที่ใกลๆ้ กนั เช่น ใน แผนกเดียวกนั ในสานกั งาน หรือตึกทาการเดียวกนั โดยแต่ละเคร่ือง สามารถติดต่อส่ือสารกนั ได้

ชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) เครือขา่ ยแลนเป็นเครือขา่ ยสาคญั ท่ีปรับเปลี่ยนการทางานภายในสานกั งานให้ เป็นระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ โดยการใชเ้ ทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และการส่ือสาร ขอ้ มูลมาช่วยอานวยความสะดวก ในการทางานในสานกั งานดา้ นต่างๆ ไดแ้ ก่ - การติดต่อสื่อสารภายในสานกั งาน เช่น การส่งไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ระหวา่ ง พนกั งาน การนดั หมาย เป็นตน้ - การใชท้ รัพยากรต่างๆ ร่วมกนั เช่น การใชแ้ ฟ้มขอ้ มูล หรือ ฐานขอ้ มูลกลาง ระหวา่ งหน่วยงาน การใชเ้ ครื่องพิมพร์ ่วมกนั เป็นตน้ - การทางานร่วมกนั เช่น การทางานกลุ่ม เพอ่ื ส่งเอกสารระหวา่ งสมาชิกในกลุ่ม การประชุมทางไกล เป็นตน้

ชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ชนิดของเครือข่ายแลน (แบ่งตามการจดั การทรัพยากรของเครือข่ายคอมพิวเตอร์)  แบบลูกขา่ ย/แม่ข่าย (Client/Server) มีแม่ข่าย (Server) ซ่ึงเป็นคอมพวิ เตอร์ท่ีมกั จะใชค้ วบคุมการทางานในเครือข่ายเป็นผู้ ใหบ้ ริการแก่คอมพวิ เตอร์ลูกขา่ ย (Client) ท่ีเชื่อมตอ่ ในเครือขา่ ยแลน - แบบแม่ขา่ ยกาหนดหนา้ ที่เฉพาะ (Delicate Server) - แบบแม่ข่ายไม่กาหนดหนา้ ท่ีเฉพาะ (Non delicate server)  แบบเพยี ร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer) คอมพวิ เตอร์แตล่ ะเคร่ืองในเครือขา่ ยมีสถานะเท่าเทียมกนั หมด คอมพวิ เตอร์แต่ละ เคร่ืองสามารถเป็นผใู้ หบ้ ริการและผรู้ ับบริการในขณะใดขณะหน่ึง

ชนิดของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) เครือข่ายระยะไกลหรือเครือข่ายแวน แวน คือ ระบบเครือขา่ ยแลนสองระบบเครือขา่ ยหรือมากกวา่ เชื่อมต่อกนั โดย ส่วนมากจะครอบคลุมพ้นื ที่กวา้ ง ตวั อยา่ งเช่น บริษทั แห่งหน่ึงมีสานกั งานขนาด ใหญ่ และฝ่ ายการผลิตต้งั อยทู่ ่ีเมืองหน่ึง ฝ่ ายการตลาดต้งั อยอู่ ีกเมืองหน่ึง แต่ละ แผนกตอ้ งมีการใชท้ รัพยากร ขอ้ มูล และโปรแกรม นอกจากน้ีแต่ละแผนก ตอ้ งการใชข้ อ้ มูลร่วมกบั แผนกอื่นดว้ ย จึงตอ้ งมีการระบบแวน

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การเช่ือมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus Network) ใชส้ ายสญั ญาณต่อเชื่อม ซ่ึงเรียกวา่ “บสั (Bus)” เป็นทางเดินของขอ้ มูล ร่วมกนั ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์โดยสญั ญาณจะถูกกระจายไปตลอด ท้งั เสน้ ทาง

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบสั (Bus Network)  การใชส้ ายส่งขอ้ มูลจะใชส้ ายส่งขอ้ มูลร่วมกนั ทาใหใ้ ชส้ ายส่งขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งงเตม็ ประสิทธิภาพช่วยลดค่าใชจ้ ่ายในการติดต้งั และการบารุง  เครือขา่ ยแบบบสั มีโครงสร้างที่ง่ายและมีความน่าเช่ือถือ เนื่องจากใชส้ ายส่งขอ้ มูลเพียง เส้นเดียว  การเพ่ิมจุดใชบ้ ริการใหม่เขา้ ไปในเครือขา่ ยสามารถทาไดง้ ่าย เน่ืองจากจดุ ใหม่จะใชส้ าย ส่งขอ้ มูลท่ีมีอยแู่ ลว้ ได้

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อเสียของการเช่ือมต่อเครือข่ายแบบบสั (Bus Network)  การหาขอ้ ผดิ พลาดทาไดย้ าก เนื่องจากในเครือข่ายจะไม่มีศูนยก์ ลางในการควบคุมอยทู่ ่ี จุดใดจุดหน่ึง ดงั น้นั การตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดจึงตอ้ งทาจากหลาย ๆ จุดในเครือข่าย  ในกรณีท่ีเกิดการเสียหายในสายส่งขอ้ มูล จะทาใหท้ ้งั เครือข่ายไม่สามารถทางานได้  เมื่อมีผใู้ ชง้ านเพิ่มข้ึนอาจทาใหเ้ กิดการชนกนั ของขอ้ มูลเม่ือมีการับส่งขอ้ มูล

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ (Star Network) การเช่ือมต่อเครือขา่ ยแบบสตาร์ เป็นการเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ต่าง ๆ เขา้ สู่ คอมพวิ เตอร์ท่ีเป็นศูนยก์ ลางโดยใชฮ้ บั (Hub) หรือสวติ ช์ (Switch) เป็นจุด เช่ือมต่อและจะเรียกคอมพวิ เตอร์ที่เป็นศูนยก์ ลางน้นั วา่ “โฮสตค์ อมพวิ เตอร์ (Host Computer)”

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อดขี องการเช่ือมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ (Star Network) เครือขา่ ยแบบสตาร์จะมีโฮสตค์ อมพวิ เตอร์อยทู่ ี่จุดเดียวทาใหง้ ่ายใน การติดต้งั หรือจดั การกบั ระบบ จุดใชง้ าน 1 จุด ต่อกบั สายส่งขอ้ มูล 1 เสน้ เม่ือเกิดการเสียหายของจุด ใชง้ านใดในเครือขา่ ยจะไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของจุดอ่ืน ๆ

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อเสียของการเช่ือมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ (Star Network)  เนื่องจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกบั โฮสตค์ อมพิวเตอร์ ดงั น้นั จึงตอ้ ง ใชส้ ายส่งขอ้ มูลจานวนมากทาใหต้ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ิมข้ึนในการ ติดต้งั และบารุงรักษา  การเพ่ิมจุดใหม่เขา้ ในระบบจะตอ้ งเดินสายจากโฮสตค์ อมพวิ เตอร์ ออกมาส่งผลใหก้ ารขยายระบบทาไดย้ าก  การทางานข้ึนอยกู่ บั โฮสตค์ อมพวิ เตอร์ถา้ โฮสตค์ อมพิวเตอร์เกิด เสียหายข้ึนกจ็ ะไม่สามารถใชง้ านเครือขา่ ยได้

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเช่ือมต่อเครือข่ายแบบริง (Ring Network) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง มีการต่อเชื่อมกนั เป็นวงแหวน (Ring Network) การรับส่งขอ้ มูลจะเป็นไปในทิศทางเดียวกนั การติดต่อส่ือสารจะใช้ “โทเคน็ (Token)” เป็นสื่อกลางในการติดต่อภายในเครือข่าย

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อดขี องการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง (Ring Network)  ใชส้ ายส่งขอ้ มูลนอ้ ย ความยาวของสายส่งขอ้ มูลจะใกลเ้ คียงกบั แบบบสั แต่ จะนอ้ ยกวา่ แบบสตาร์ ทาใหเ้ พม่ิ ความน่าเช่ือถือของการส่งขอ้ มลู ไดม้ ากข้ึน  เหมาะสาหรับใชก้ บั เคเบิลเสน้ ใยแกว้ นาแสง เนื่องจากจะช่วยใหส้ ่งขอ้ มูลได้ ดว้ ยความเร็วสูง ขอ้ มูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่งแต่ละจุดจะ เช่ือมกบั จุดติดกนั ดว้ ยสายส่งขอ้ มูลทาใหส้ ามารถเลือกไดว้ า่ จะใชส้ ายส่ง ขอ้ มูลแบบไหนในแต่ละส่วนของระบบ เช่น เลือกใชเ้ คเบิลใยแกว้ นาแสงใน ส่วนท่ีใชใ้ นโรงงานซ่ึงมีปัญหาดา้ นสญั ญาณ ไฟฟ้ารบกวนมาก เป็นตน้

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) ข้อเสียของการเช่ือมต่อเครือข่ายแบบริง (Ring Network)  การส่งขอ้ มูลบนวงแหวนจะตอ้ งผา่ นทุก ๆ จุดที่อยใู่ นวงแหวน ดงั น้นั หากมี จุดใดจุดหน่ึงเสียหาย ท้งั เครือขา่ ยกจ็ ะไม่สามารถติดต่อกนั ได้ จนกวา่ จะนา จุดที่เสียหายออกไป หรือแกไ้ ขใหใ้ ชง้ านได้  ในการตรวจสอบขอ้ ผดิ พลาดอาจตอ้ งทดสอบระหวา่ งจุดกบั จุดถดั ไป เพื่อหา ดูวา่ จุดใดเสียหาย ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ียากและเสียเวลามาก  ยากต่อการเพม่ิ จุดใชง้ านใหม่

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเชื่อมเครือข่ายแบบผสม (Mesh Network) การเชื่อมต่อเครือขา่ ยแบบผสม เป็นเครือข่ายท่ีไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอน เครือข่าย แบบผสมน้ีจะใชก้ ารผสมรูปแบบการเช่ือมต่อหลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ใช้ เครือขา่ ยแบบบสั ผสมกบั เครือข่ายแบบสตาร์ เป็นตน้

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network) เริ่มแรกน้นั สามารถรับส่งขอ้ มูลได้ 2 Mbps (Megabits per Second) จน พฒั นาใหส้ ามารถส่งขอ้ มูลได้ 11 Mbps ดว้ ยราคาที่ถูกลง ทาใหเ้ ครือขา่ ยไร้สาย ไดร้ ับความนิยมมากข้ึน ซ่ึงเครือข่ายไร้สายน้ีจะใชเ้ ทคโนโลยที ี่สามารถส่งขอ้ มูล ไปบนความถี่ท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลาได้ ซ่ึงเรียกวา่ “Spread Spectrum” โดย ขอ้ มูลท่ีแยกส่งออกไปน้นั จะประกอบกนั เหมือนเดิมที่ ตวั รับสญั ญาณ เครือขา่ ยไร้สายจะช่วยอานวยความสะดวกและความคล่องตวั ในการใชง้ าน เครือขา่ ย ไม่วา่ จะอยทู่ ี่ไหนภายในบริเวณพ้นื ท่ีของเครือขา่ ยกส็ ามารถเขา้ ถึง ขอ้ มูลและใชข้ อ้ มูลไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ีเช่นเดียวกบั เครือข่ายปกติ

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเช่ือมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network)

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (ต่อ) การเช่ือมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย (Wireless Network)

อปุ กรณ์เครือข่าย (Network Devices) อปุ กรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater) อุปกรณ์ทวนสัญญาณทางานใน Layer ที่ 1 ของ OSI Model เป็นอุปกรณ์ท่ีทา หนา้ ท่ีรับสญั ญาณดิจิตอลเขา้ มาแลว้ สร้างใหม่ (Regenerate) ใหเ้ ป็นเหมือน สญั ญาณขอ้ มูลเดิมที่ส่งมาจากตน้ ทาง จากน้นั ค่อยส่งต่อออกไปยงั อุปกรณ์ตวั อ่ืน ทาใหส้ ามารถส่งสญั ญาณไปไดไ้ กลข้ึน โดยที่สญั ญาณไม่สูญหาย

อุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices) (ต่อ) ฮับ (Hub) Hub ใชใ้ นการเช่ือมต่อคอมพวิ เตอร์เขา้ กบั เครือขา่ ย จะมี “พอร์ต (Port)” ใช้ เช่ือมต่อระหวา่ ง Hub กบั เครื่องคอมพวิ เตอร์ หรืออุปกรณ์เครือขา่ ยตวั อ่ืน ๆ Hub จะทวนสญั ญาณและส่งต่อขอ้ มูลน้นั ออกไปท่ีเครื่องคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองที่ เช่ือมต่ออยกู่ บั Hub

อปุ กรณ์เครือข่าย (Network Devices) (ต่อ) บริดจ์ (Bridge) บริดจ์ ทางานใน Layer ที่ 2 ของ OSI Mode ใชเ้ ชื่อมต่อ Segment ของเครือขา่ ย 2 Segment หรือมากกวา่ เขา้ ดว้ ยกนั โดยจะตอ้ งเป็นเครือขา่ ยที่ใช้ Data Link Protocol ตวั เดียวกนั และ Network Protocol ตวั เดียวกนั เช่น ต่อ Ethernet LAN (ใช้ Topology แบบบสั และใชโ้ ปรโตคอล Ethernet) 2 Segment เขา้ ดว้ ยกนั Bridge สามารถกรองขอ้ มูลที่จะส่งต่อได้ โดยตรวจสอบวา่ ขอ้ มูลท่ีส่งน้นั มี ปลายทางอยทู่ ่ีใด ทาใหส้ ามารถจดั การกบั ความหนาแน่นของขอ้ มูลไดม้ ี ประสิทธิภาพมากข้ึน

อุปกรณ์เครือข่าย (Network Devices) (ต่อ) เราเตอร์ (Router) เราเตอร์ ทางานใน Layer ท่ี 3 ของ OSI Model ใชเ้ ชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่าย หรือมากกวา่ เขา้ ดว้ ยกนั โดยท่ีเครือขา่ ยน้นั จะตอ้ งใช้ Network Protocol ตวั เดียวกนั แต่ใช้ Data Link Protocol ต่างกนั ได้ (ต่อ Ethernet LAN เขา้ กบั Token LAN ได)้ Router สามารถกรองขอ้ มูลไดเ้ ช่นเดียวกบั Bridge และสามารถหา เสน้ ทางในการส่งแพค็ เกต็ ขอ้ มูลไปยงั เคร่ืองปลายทางไดส้ ้นั ท่ีสุดดว้ ย

OSI Model (Open Systems Interconnection Model) หน่วยงานกาหนดมาตรฐานสากล หรือ ISO ระบุวา่ ควรแบ่งโปรโตคอล ออกเป็น 7 เลเยอร์ (Layer) และในแต่ละเลเยอร์ควรมีหนา้ ท่ีอะไรบา้ ง ดงั น้นั เม่ือบริษทั ต่าง ๆ ไดผ้ ลิตโปรโตคอลใหม่ข้ึนมา กอ็ อกแบบให้ สอดคลอ้ งกบั OSI Model น้ีเพื่อใหส้ ามารถติดต่อส่ือสารกบั ระบบของ ต่างบริษทั ได้

OSI Model (Open Systems Interconnection Model) (ต่อ) Application Layer ประกอบไปดว้ ย Application Protocol ต่าง ๆ ท่ีมีผนู้ ิยมใช้ งาน เช่น E-mail, File Transfer เป็นตน้ Presentation Layer จดั การเก่ียวกบั รูปแบบของขอ้ มูลโดยการแปลงขอ้ มูลใหอ้ ยู่ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานที่ทุกเคร่ืองเขา้ ใจ Session Layer สร้างการเชื่อมต่อเชิงตรรกะระหวา่ งเคร่ืองสองเคร่ือง ทาการ Synchronize ขอ้ มูลเพอื่ ป้องกนั ปัญหาการเช่ือมต่อหลุด Transport Layer ตดั ขอ้ มูลออกเป็น segment ตรวจสอบความครบถว้ น ใหบ้ ริการเร่ืองคุณภาพ Network layer แปลงขอ้ มูลเป็น packet และกาหนดเส้นทาง Data Link Layer อธิบายการส่งขอ้ มูลไปบนสื่อกลาง เพ่ิม Header และ Trailer เพอื่ ใชใ้ นการตรวจสอบต่าง ๆ Physical Layer ทาหนา้ ท่ีดูแลการส่งขอ้ มูลที่เป็น Bit ไปในช่องทางการ สื่อสาร

โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอล คือ ระเบียบ วธิ ีการ กฎ และ ขอ้ กาหนดต่าง ๆ ใน การติดต่อส่ือสารรวมถึง มาตรฐานท่ีใชเ้ พอื่ ให้ สามารถส่งผา่ นขอ้ มูล ไปยงั ปลายทางไดอ้ ยา่ ง ถูกตอ้ ง

โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) โปรโตคอลมาตรฐานท่ีใชใ้ นการสื่อสารระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ แตกต่างกนั ใชร้ ะบบปฏิบตั ิการที่ต่างกนั และอยบู่ นเครือข่ายที่ต่างกนั ให้ สามารถส่ือสารกนั ผา่ นทางเครือข่ายไดโ้ ดย TCP/IP จะประกอบไปดว้ ย โปรโคตอล 2 ตวั TCP (Transmission Control Protocol) และ IP (Internet Protocol)

โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) โปรโตคอลท่ีใชใ้ นการส่งเวบ็ เพจ (Web Page) ที่อยบู่ นเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์มาให้ เครื่องไคลเอน็ ทท์ ่ีทาการร้องขอไปทาใหผ้ ใู้ ชง้ านสามารถท่องไปในเวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ ทวั่ โลกได้ FTP (File Transfer Protocol ) โปรโตคอลท่ีใชใ้ นการส่งโอนไฟลข์ อ้ มูลผา่ นเครือขา่ ยอินเตอร์โดยจะเรียกการ โอนไฟลจ์ ากเครื่องเซิร์ฟเวอร์มาท่ีเคลื่อนไคลเอน็ ทว์ า่ “Download” และเรียกการ โอนไฟลจ์ ากเคร่ืองไคลเอน็ ทไ์ ปไวท้ ี่เคร่ืองเซิร์ฟเวอร์วา่ “Upload”

โปรโตคอล (Protocol) (ต่อ) SMTP (Simple Mail Transport Protocol) โปรโตคอลที่ใชใ้ นการส่ง E-mail ไปยงั Mailbox ท่ีจุดหมายปลายทาง POP3 (Post Office Protocol – 3) โปรโตคอลที่ใชใ้ นการดึง E-mail จาก Maibox ของผใู้ หบ้ ริการมาเกบ็ ไว้ ที่เคร่ืองตนเองเพือ่ ใหส้ ะดวกต่อการจดั การับ E-Mail

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารในธุรกจิ Videoconference เป็นการรวมเทคโนโลยี 2 อยา่ ง เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั นนั่ คือ เทคโนโลยวี ีดีโอและ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ จุดประสงคข์ องการใชเ้ ทคโนโลยี Videoconference น้นั เพอ่ื สนบั สนุนการประชุมทางไกลเป็นหลกั Videoconference เป็นเทคโนโลยที ่ีตอ้ งใชอ้ ุปกรณ์ ไดแ้ ก่ เคร่ือง คอมพิวเตอร์พร้อมการ์ดเสียง กลอ้ งถ่ายวดี ีโอขนาดเลก็ ไมโครโฟน ลาโพง (หรือ หูฟัง หรือ Head-Set) และตอ้ งมีโปรแกรมที่ใชค้ วบคุมการรับส่งขอ้ ความ ภาพ และเสียง ตลอดจนไฟลต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ซ่ึงท้งั หมดจะทาใหผ้ รู้ ่วม ประชุมเห็นภาพและไดย้ นิ เสียงของผรู้ ่วมประชุมคนอ่ืน ๆ ได้

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารส่ือสารในธุรกจิ (ต่อ) Voice Mail Voice Mail เป็นเทคโนโลยที ี่ทาหนา้ ที่คลา้ ยกบั เคร่ืองตอบรับโทรศพั ทอ์ ตั โนมตั ิ โดยบนั ทึกเสียงของผพู้ ดู ไวใ้ น Voice Mailbox ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ดว้ ย สญั ญาณดิจิตอล ภายใน Voice Mailbox น้ีสามารถแบ่งเป็นโฟลเดอร์ยอ่ ย ๆ ให้ ผใู้ ชแ้ ต่ละคนไดท้ าใหส้ ามารถเรียกขอ้ ความข้ึนมาฟังตอบกลบั หรือส่งต่อ ขอ้ ความไปถึงผใู้ ชค้ นอ่ืน ๆ ไดแ้ ละหากตอ้ งการส่งขอ้ ความไปถึงผรู้ ับพร้อมกนั หลายคนกส็ ามารถทาได้

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารส่ือสารในธุรกจิ (ต่อ) Fax ขอ้ มูลอาจเป็นขอ้ ความที่พมิ พข์ ้ึนหรือเขียนข้ึนดว้ ยมือ และอาจจะมีรูปภาพดว้ ยก็ ได้ ผใู้ ชส้ ามารถเลือกใชเ้ คร่ืองแฟ็กซ์ หรือจะใชค้ อมพิวเตอร์ที่มีการติดต้งั แฟ็กซ์/ โมเดม็ เป็นอุปกรณ์ส่ือสารกไ็ ด้ ผใู้ ชส้ ามารถดูขอ้ ความหรือรูปภาพผา่ นทาง หนา้ จอไดท้ นั ทีไม่จาเป็นตอ้ งพิมพอ์ อกมาเป็นเอกสาร นอกจากน้ียงั เกบ็ ขอ้ มูล ต่าง ๆ ไวเ้ ป็นไฟลไ์ ด้

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยกี ารส่ือสารในธุรกจิ (ต่อ) Group Ware Group Ware คือ โปรแกรมท่ีช่วยสนบั สนุนใหม้ ีการแบ่งปันสารสนเทศผา่ นทาง เครือขา่ ย (LAN และ WAN) โดย GroupWare เป็นองคป์ ระกอบของแนวความคิด อิสระท่ีเรียกวา่ “Workgroup Computing” ซ่ึงประกอบไปดว้ ยฮาร์ดแวร์และ ซอฟตแ์ วร์ต่าง ๆ ของเครือข่ายซ่ึงจะทาใหผ้ รู้ ่วมงานทุกคนสามารถสื่อสารถึงกนั และร่วมกนั จดั การโครงการต่าง ๆ ร่วมประชุมตามหมายกาหนดการตลอดจน ร่วมกนั ตดั สินใจเป็นกลุ่มได้

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารในธุรกจิ (ต่อ) Collaboration Collaboration เป็นความสามารถของซอฟตแ์ วร์แต่ละชนิดที่ทาใหผ้ ใู้ ชง้ านทางาน ร่วมกนั ไดโ้ ดยต่อเช่ือมถึงกนั ผา่ น Server เช่น โปรแกรม Microsoft Office XP ที่ สามารถปฏิบตั ิงานหรือติดต่องานร่วมกบั ผอู้ ื่นไดแ้ ละมีความสามารถในการ ควบคุมการประชุมแบบออนไลน์ (Online Meeting) เช่น สามารถแบ่งปันไฟล์ เอกสารใหก้ บั ผอู้ ื่นไดเ้ ปิ ดอ่านพร้อมกนั และถา้ มีใครซกั คนเปล่ียนแปลงขอ้ มูล ไฟลค์ นอื่น ๆ ท่ีกาลงั เปิ ดไฟลอ์ ยกู่ จ็ ะเห็นการเปล่ียนแปลงน้นั ดว้ ย เป็นตน้

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารในธุรกจิ (ต่อ) EDI (Electronic Data Interchange) EDI คือ การแลกเปล่ียนเอกสารทางธุรกิจระหวา่ งบริษทั คูค่ า้ ในรูปแบบ มาตรฐานสากลจากเครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่ืองหน่ึงไปยงั เครื่อง คอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหน่ึง โดยระบบ EDI จะมีองคป์ ระกอบที่สาคญั อยู่ 2 อยา่ ง คือ การใชเ้ อกสารอิเลก็ ทรอนิกส์แทนเอกสารท่ีเป็นกระดาษและ เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์เหล่าน้ีตอ้ งอยใู่ นรูปแบบมาตรฐานสากลดว้ ยสอง องคป์ ระกอบน้ีใหท้ ุกธุรกิจสามารถแลกเปล่ียนเอกสารกนั ไดท้ วั่ โลก

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารในธุรกจิ (ต่อ) GPS (Global Positioning System) ระบบ GPS ประกอบไปดว้ ยเทคโนโลยที ่ีใชต้ รวจสอบตาแหน่งท่ีต้งั ของ GPS Receiver (อุปกรณ์รับสัญญาณ) ผา่ นทางดาวเทียม ปัจจุบนั น้ีไดม้ ีผนู้ าระบบ GPS ไปประยกุ ตใ์ ชม้ ากมาย ตวั อยา่ งเช่น การ ป้องกนั การโจรกรรมทรัพยส์ ิน การนาร่องเรือเดินสมุทร การควบคุมการบิน อตั โนมตั ิ เป็นตน้ นอกจากน้ียงั มีผนู้ าไปใชใ้ นโครงการวจิ ยั สตั วป์ ่ า โดยฝัง GPS Receiver ไวท้ ่ีในตวั สตั ว์ (GPS Receiver จะถูกออกแบบและสร้างมาใหเ้ ลก็ เป็น พิเศษ) เพอ่ื เฝ้าสะกดรอยตาม หรือหากนาไปฝังไวใ้ นตวั นกั โทษกจ็ ะทาใหก้ าร ติดตามจบั กมุ นกั โทษแหกคุกทาไดง้ ่ายข้ึน

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารส่ือสารในธุรกจิ (ต่อ) อนิ เตอร์เน็ต (Internet) อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่มีขนาดใหญ่มาก ซ่ึงเกิดจากการเช่ือม เครือข่ายยอ่ ย ๆ จานวนมากเขา้ ไวด้ ว้ ยกนั ทาใหค้ อมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองทว่ั โลกไม่ วา่ จะเป็นชนิดใดหรือขนาดใดตาม สามารถส่งผา่ นและแลกเปล่ียนขอ้ มูลและ สารสนเทศซ่ึงกนั และกนั ได้ โดยใชโ้ ปรโตคอลเป็นสื่อกลางในการติดต่อส่ือสาร และแลกเปล่ียนขอ้ มูลขา่ วสารระหวา่ งกนั เหมือนเสน้ ใยแมงมุม หรือท่ีนิยมเรียก กนั โดยทว่ั ไปวา่ “เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (World Wide Web: WWW)”

การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ารสื่อสารในธุรกจิ (ต่อ) ตัวอย่างบริการบนอนิ เตอร์เน็ต (Internet)  E-mail  Telnet  Gopher, Archie  Instant Messaging, Chat Room  Internet Telephony  Newsgroup  USENET


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook