อุปกรณ์สำหรับเชอื่ มต่อเครือข่ำย ประเภท LAN
21. เครื่องศูนยบ์ รกิ ารขอ้ มลู (Servers) เครื่องศูนย์บริการข้อมูล มักเรียกว่าเครื่องเซิร์ฟเวอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่บริการทรัพยากรให้กบั เครื่องลูกข่ายบนเครือข่าย เช่น บรกิ ารไฟล์ (File Server) บรกิ ารงานพิมพ์ (Print Server) เปน็ ตน้ เครื่องเซิรฟ์ เวอร์อาจเปน็ คอมพิวเตอร์ระดบั เมนเฟรมมินิคอมพิวเตอร์ หรือไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้ โดยคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานเป็นเซิรฟ์ เวอร์นีม้ ักมีสมรรถนะสูง เนื่องจากถกู ออกแบบมาเพื่อทนทานต่อความผดิ พลาด (FaultTolerance) และทางานหนักด้วยการรองรับงานตลอด 24 ช่วั โมง ดงั น้นั เครือ่ งเซิรฟ์ เวอร์จึงมีราคาที่สูงมากเมือ่ เทียบกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานท่ัวไป อย่างไรก็ตาม การเชือ่ มต่อเครือข่ายยงั สามารถพิจารณาจากขนาดของเครือขา่ ยทีใ่ ช้งาน ซง่ึ จะเกีย่ วขอ้ งกับงบประมาณการติดตั้งด้วย
3 2. เครือ่ งลูกขา่ ย (Clients/Workstation) เครื่องลูกข่ายเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายสาหรับเครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์ เครื่องลูกข่ายจะต้องล็อกออนเข้าระบบเพื่อติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้ ได้ก่อน จึงสามารถขอใช้บริการทรัพยากรจากเซิร์ฟเวอร์ได้ อย่างไรก็ตาม เครื่องลูกข่ายอาจเป็นคอมพิวเตอร์ที่ไม่จาเป็นต้องมีสมรรถนะสูง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นพีซีคอมพิวเตอร์ท่ัวไป แต่ในกรณีที่เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายสามารถเป็นได้ทั้งเซิร์ฟเวอร์ และไคลเอนต์ในขณะเดียวกัน
43. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card: NIC) การ์ดเครือข่ายเป็นแผงวงจรที่ติดต้ังอยู่ภายในคอมพิวเตอร์ท้ังเครื่อง เซิร์ฟเวอร์และเครื่องลูกข่าย หน้าที่สาคัญของการ์ดเครือข่ายก็คือจะใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับสายเคเบิลเครือข่าย และถือเป็นส่วนหนึ่งของการเชื่อมต่อทางกายภาพบนช้ันสื่อสารฟิสิคัล ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่ได้บรรจุพอร์ตเครือข่ายชนิด RJ-45 ลงบนบอร์ดมาให้เบ็ดเสร็จ แต่สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีการ์ดเครือข่าย ก็สามารถใช้แผงวงจรเครือข่ายติดตั้งลงในเครื่องเพิม่ เติมได้
4. สายเคเบลิ (Network Cables) 5 คอมพิวเตอร์บนเครือข่ายจะสามารถเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายได้ จาเป็นต้องมีสายเคเบิลที่ใช้ลาเลียงสัญญาณไฟฟ้าจากต้นทางไปยังปลายทาง เครือข่ายส่วนใหญ่ในปัจจุบันมักใช้สาย UTPเนื่องจากมีราคาถูก แต่หากต้องการเชื่อมโยงระยะไกลโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ก็จะต้องใช้สายไฟเบอร์ออปติกเนื่องจากสามารถเชื่อมโยงได้ไกลเป็นกิโลเมตร ในขณะที่สาย UTPเชื่อมโยงได้ไกลสุดเพียง 100 เมตรเท่านั้น นอกจากสายเคเบิลแล้วก็ยังสามารถใช้คลื่นวิทยุในการสื่อสารได้ ซ่ึงถือเป็นทางเลือกหนงึ่ ที่สร้างความสะดวกในการเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยแลนแบบ ไรส้ าย
65. อปุ กรณ์ฮับ (Network Hubs) ฮับที่นามาใช้งานบนเครือข่ายมีจุดประสงค์อยู่ 2 ประการด้วยกันคือประการแรกเป็นศูนย์รวมของสายเคเบิลท้ังหมดทีจ่ ะตอ้ งนามาเสียบเข้ากับพอร์ดบน ฮับ ซ่ึงปกติฮับจะมีจานวนพอร์ตให้เลือกใช้งานต้ังแต่ 4, 8, 16 และ 24 พอร์ต โดยปกติจะเป็นพอร์ตชนิด RJ-45 ที่ใชง้ านกบั สาย UTP แต่ก็มีฮับบางรุ่นที่มีพอร์ตชนิดอื่นเตรียมไวเ้ พื่อการเชือ่ มตอ่ สายเคเบิล ประเภทอื่น ๆ ที่นอกจากสาย UTP เชน่ สายโคแอกเชียบหรือสายไฟเบอร์ออปติก เป็นต้น ส่วนจุดประสงค์ประการที่สองก็คือ ฮับจะนามาใช้เป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณ(Repeater) ซึง่ โดยธรรมชาติแล้วสัญญาณไฟฟ้าทีส่งผ่านสื่อกลาง จะถูกลดทอนลงเมื่อมีการส่งไปในระยะไกล ๆ ดังนั้นฮับจึงนามาใช้เพื่อเป็นอุปกรณ์ทวนสัญญาณ เพื่อให้สัญญาณสามารถสง่ ทอดออกไปไกลได้อีก แต่ท้งั นีก้ ารส่งสัญญาณฮับจะส่งกระจายไปยังพอร์ตทกุ พอรต์ที่เชือ่ มต่อ
76. ระบบปฏบิ ัตกิ ารเครือข่าย (Network Operating System: NOS) ระบบปฏิบัติการเครือข่ายคือซอฟต์แวร์ที่นามาใช้สาหรับ ควบคุมเครือข่าย ปกติแล้วชุดระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะมีอยู่ 2 ชุด ด้วยกัน โดยชุดแรกคือกลุ่มซอฟต์แวร์ที่นามาใช้บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ และชุดที่สองคือกลุ่มของซอฟต์แวร์ที่นามาใช้บนเครื่องไคลเอนต์ ที่ นามาใช้เพื่อให้เครื่องลูกข่ายสามารถเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์ได้ ตัวอย่าง ระบบปฏิบัติการเครือขา่ ย เช่น Novell NetWare, Windows 2000 Server, Windows Server 2003, Unix, Linux
อปุ กรณ์สาหรับเชือ่ มต่อเครือขา่ ย 8(Connecting Devices)1. รีพีตเตอร์/ฮบั (Repeaters/Hub) 2. บริดจ์ (Bridges)/สวติ ช์ (Switch) อุปกรณ์ฮับหรือรีพีตเตอร์จะทางานอยู่บนช้ัน ความสามารถในการทางานของบริดจ์จะเหนือกว่าสือ่ สารฟิสิคัลบนแบบจาลอง OSI โดยที่รีพีตเตอร์ การทางานของรีพีตเตอร์ โดยที่บริดจ์สามารถแบ่งมักจะบรรจุพอร์ตมาให้เพียง 2 พอร์ตด้วยกัน เพื่อ เครือข่ายขนาดใหญ่ออกเป็นเครือข่ายย่อยหรือเป็นเซกเมนต์นามาใช้เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย ซ่ึงการเชื่อมต่อ ย่อย ๆ ได้ ซ่ึงไม่เหมือนกับรีพีตเตอร์ตรงที่เซกเมนต์ย่อยระหว่างเครือข่ายด้วยรีพีตเตอร์ อาจเชื่อมต่อด้วย ต่าง ๆ ที่เชื่อมต่อด้วยบริดจ์นั้นจะถือว่าเป็นเครือข่ายคนละสายสัญญาณชนิดเดียวกัน หรือคนละชนิดก็ได้ วงกัน กล่าวคือมไิ ด้อยบู่ น Collision Domain เดียวกนัในขณะที่ฮับก็เหมือนกับรีพีตเตอร์ กล่าวคือ ฮับกค็ ือ ดงั น้นั บริดจจ์ ึงสามารถลดความคับค่ังของข้อมูลบนเครือข่ายรีพีตเตอร์ที่มีหลาย ๆ พอร์ตนั่นเอง โดยฮับ ได้ โดยเครือข่ายแต่ละวงนอกจากจะรับส่งข้อมูลภายในวงนอกจากสามารถนามาใช้เป็นศูนย์กลางการรับส่ง แลนตัวเองแล้ว หากต้องการส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายก็ข้อมูลแลว้ ยงั เป็นอุปกรณ์ ทวนสญั ญาณในตัว สามารถกระทาได้ ซ่ึงแตกต่างกับฮับที่ทาหน้าที่เพียงแพร่ ข่าวสาร หรือข้อมูลออกไปยังทุกพอร์ตหรือทุกเซกเมนต์ที่ เชือ่ มต่อ
อปุ กรณ์สาหรับเชื่อมต่อเครือขา่ ย 9 (Connecting Devices)3. เร้าเตอร์ (Routers) 4. เกตเวย์ (Gateways) เรา้ เตอร์ถูกนามาใชเ้ พื่อการเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ย เกตเวย์สามารถปฏิบัติงานได้ในทุกชั้นสื่อสารหลาย ๆ กลุ่มเข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายแลน บ น แ บ บ จ า ล อ ง OSI โ ด ย เ ก ต เ ว ย์ อ นุ ญ า ต ใ ห้ด้วยกัน หรือระหว่างเครือข่ายแลนกับแวน โดย คอมพิวเตอร์บนเครือข่าย ที่เชื่อมต่อกันที่ใช้โปรโตคอลฟังก์ชันการทางานที่สาคัญของเร้าเตอร์ ก็คือ การ แตกต่างกัน รวมถึงสถาปัตยกรรมของคอมพิวเตอร์ที่เลือกเส้นทางเพื่อส่งแพ็กเก็ตข้อมูลไปยังปลายทางได้ แตกต่างกันอย่างส้ินเชิง เช่น พีซีคอมพิวเตอร์ และอย่างถูกต้องและเหมาะ สม รวมถึงความสามารถ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ให้สามารถสื่อสารกันได้ กล่าวคือในการเปลี่ยนเส้นทางเดินของข้อมูลในกรณีที่ เกตเวย์จะอนุญาตให้เครือข่ายต่างแพลตฟอร์ม ไม่ว่าจะเส้นทางเดมิ ที่ ใช้งานอย่เู กิดข้อขดั ขอ้ ง เป็นด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้สามารถเชื่อมโยง สื่อสารกันได้ เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายท้ังอีเทอร์เน็ต โทเค็นริง และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ด้วย อุปกรณ์เกตเวย์
อปุ กรณส์ าหรับเชือ่ มต่อเครือขา่ ย 10 (Connecting Devices)5. โมเดม (Modem) 6. มลั ตเิ พล็กซ์เซอร์ (Multiplexer) MODEM ม า จ า ก ค า ว่ า Modulator วิ ธี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ ก า ร สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง ผู้ รั บ แ ล ะ ผู้ ส่ งDEModulator ทาหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูล ปลายทางที่ง่ายที่สุดคือ การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดดิจิตอล ที่ได้รับจากเครื่องส่งหรือคอมพิวเตอร์ เป็น (Point to Point) แต่ต้องเสียค่าใชจ้ ่ายสูงและใช้สัญญาณแบบอนาลอกก่อนทาการส่งไปยังปลายทาง งานไม่เต็มที่ จึงมีวิธีการเชื่อมต่อที่ยุ่งยากข้ึน คือการต่อไป โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ และเมื่อส่งถึง เชื่อมต่อแบบหลายจุดซึ่งใช้สายสื่อสารเพียงเสน้ 802.3ปลายทางก็จะมีโมเด็มทาหน้าที่แปลงสัญญาณจากอนาลอกให้เป็นดิจิตอล เพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ปลายทาง
อปุ กรณ์สาหรับเชือ่ มต่อเครือข่าย 11 (Connecting Devices)7 . ค อ น เ ซ น เ ต ร เ ต อ ร์ 8. ฟรอนต์ เอ็นโปรเซสเซอร์ FEP (Front-End Processor)(Concentrator)คอนเซนเตรเตอร์เป็นมัลติเพล็กซ์เซอร์ที่ FEP เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์คอมพิวเตอร์ หรือมีประสิทธิภาพสูง สามารถเพ่ิมสาย มินิคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์เครือข่ายสาหรับสื่อสารข้อมูล เช่น โมเด็มหรือช่องทางการส่งข้อมูลได้มากข้ึน มลั ติเลก็ ซ์เซอร์ เปน็ ต้น FEP เป็นอุปกรณ์ทีมีหนว่ ยความจา (RAM)การส่งข้อมูลจะเปน็ แบบอซงิ โครนสั และซอฟต์แวร์สาหรับควบคุมการทางานเป็นของตัวเองโดยมีหน้าที่ หลักคือ ทาหน้าที่แก้ไขข่าวสาร เก็บข่าวสาร เปลี่ยนรหัสรวบรวมหรือ กระจายอกั ขระ ควบคุมอตั ราความเรว็ ในการรบั ส่งข้อมลู จัดคิวเขา้ ออก ของข้อมลู ตรวจสอบข้อผิดพลาดในการสง่ ข้อมลู
อุปกรณส์ าหรบั เชือ่ มตอ่ เครือข่าย 12 (Connecting Devices)9. อิมูเลเตอร์ (Emulator) อิมูเลเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เปลี่ยนกลุ่มข่าวสารจากโปรโตคอลแบบหนึ่งไปเป็นกลุ่มข่าวสาร ซึ่งใช้โปรโตคอลอีกแบบหนึ่ง แต่จะเป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์หรือเป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์ก็ได้ บางครั้งอาจจะเป็นทั้ง 2 อย่าง โดยทาให้คอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ามาน้ันดูเหมือนเป็นเครือ่ งเทอร์มนิ ัลหน่ึงเครื่อง โฮสต์หรือมนิ ิคอมพิวเตอรใ์ นปัจจุบันนยิ มนาเครื่อง PC มาใช้เป็นเทอร์มินัลของเครื่องเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้เพราะประหยัดกว่าและเมือ่ ไรที่ไมใ่ ช้ติดต่อกับมินหิ รือเมนเฟรมกส็ ามารถใชเ้ ป็น PC ท่ัวไปได้
13 จัดทาโดยนางสาวธนญั ญา บุญกองปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: