Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter7

Chapter7

Published by benzthanan, 2018-09-03 05:45:23

Description: Chapter7

Search

Read the Text Version

ส่อื กลางในการส่งข้อมลู

ปัจจุบันนี้การสื่อสาร ประเภทของสื่อกลางในการส่งขอ้ มูลข้ อ มู ล แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ยค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ไ ด้ สือ่ กลางในการส่งขอ้ มูล แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือก ล า ย เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ 1. สื่อกลางทีก่ าหนดเสน้ ทางได้ หรือใชร้ ะบบใชส้ ายจ า เ ป็ น ต่ อ 2. สือ่ กลางที่กาหนดเส้นทางไมไ่ ด้ หรือระบบไร้สายชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ข อ งม นุ ษ ย์ เ ร า แ ต่ ก า รสื่ อ ส า ร ข้ อ มู ล แ ล ะเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะไมส่ ามารถทางานได้เ ล ย ถ้ า ป ร า ศ จ า กสื่อกลางที่ใช้ในการส่งขอ้ มูล

1. สือ่ กลางทีก่ าหนดเสน้ ทางได้ หรือใชร้ ะบบใช้สาย 1.1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair) 1.2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable) 1.3 สายใยแกว้ นาแสง (Optic Fiber Cable)

1.1 สายคูต่ ีเกลียว (Twisted Pair)ลักษณะของสายคู่ตีเกลียวสายคูต่ ีเกลียวแต่ละคู่ทาด้วยสายทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุ้ม พันกันเป็นเกลียว เพือ่ ป้องกันการรบกวนจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า สายคู่ตีเกลียว 1 คู่ ใช้แทน 1ชอ่ งทางการสื่อสารสามารถใช้ส่งสัญญาณได้ทั้งสัญญาณอนาล็อกและสัญญาณดจิ ติ อล

1.1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)ประเภทของสายคูต่ ีเกลียวสายคูต่ ีเกลียวทีน่ ยิ มใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1. สายคูต่ ีเกลียวชนิดไมม่ ีฉนวนโลหะหุ้ม (UTP) - ในสายเคเบิล 1 เส้น ประกอบดว้ ยสายคู่ตเี กลียว 4 คู่ (8 เส้น) - เหมาะสาหรับการเชื่อมตอ่ อุปกรณท์ ีม่ ีระยะหา่ งไม่เกิน 30 เมตร2. สายคู่ตีเกลียวชนิดมีฉนวนโลหะหุ้ม (STP) - ในสายเคเบลิ 1 เส้น ประกอบดว้ ยสายคู่ตเี กลียว 4 คู่ (8 เสน้ ) - สายเคเบลิ แตล่ ะเสน้ หุม้ ด้วยฉนวนโลหะ เพื่อป้องกันการรบกวนจากภายนอก - สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 150 bps

1.1 สายคู่ตีเกลียว (Twisted Pair)วธิ ีการใชง้ านของสายคูต่ ีเกลียว- การนาสายคู่ตีเกลียวมาเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ในเครือข่าย ปลายสายแต่ละข้างจะต้องใช้คอนเน็กเตอร์ที่มีลักษณะคล้ายกับใช้คอนเน็กเตอร์ของสายโทรศัพท์เรียกว่าRJ-45- การเชื่อมต่อคอนเน็กเตอร์ ทาได้ 2 รูปแบบคอื1. สายคู่ตีเกลียวที่ใชเ้ ชื่อมต่อระหวา่ งฮับกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ปลายด้านหนึ่งต้องต่อกับคอนเนก็ เตอรอ์ าร์เจ-45 ตามมาตรฐาน EIA/TIA 568B2.สายคู่ตีเกลียวที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทั้งสองด้านตอ้ งตอ่ กับคอนเน็กเตอร์ อาร์เจ-45 ตามมาตรฐาน EIA/TIA 568B ส่วนปลายอีกดา้ นหนงึ่ ต้องต่อกับคอนเนก็ เตอร์อารเ์ จ-45 ตามมาตรฐาน EIA/TIA 568A

1.2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable)ลักษณะของสายโคแอกเชียลสายโคแอกเชียล 1 เสน้ ประกอบด้วย- เสน้ ลวดทองแดงอยูต่ รงกลางเพือ่ ใชเ้ ปน็ ตัวนาสัญญาณ- ชัน้ ที่ 1 หุม้ ด้วยพลาสตกิ- ชัน้ ที่ 2 หุ้มดว้ ยฉนวนโลหะทีถ่ ักทอเป็นตาขา่ ย- ชัน้ ที่ 3 (ชัน้ นอกสุด) หุม้ ดว้ ยฉนวนพลาสติก- มีแบนวดิ สูงถงึ 500 MHz- สามารถใชส้ ง่ สัญญาณได้ทัง้ สัญญาณดิจิตอลและสัญญาณอนาลอ็ ก

1.2 สายโคแอกเชียล (Co-axial Cable)ประเภทของสายคูต่ ีเกลียวสายโคแอกเชียลที่นยิ มใชใ้ นปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ- สายโคแอกเชียลประเภท 50 โอหม์ ใชส้ ายสง่ ขอ้ มูลดจิ ิตอล- สายโคแอกเชียลประเภท 75 โอหม์ ใช้สายสง่ ขอ้ มูลอนาลอ็ กวิธีการใชง้ านของสายโคแอกเชียล- การนาสายโคแอกเชียลเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ในเครือข่ายปลายสายแต่ละข้างจะต้องใช้คอนเน็กเตอร์ที่มีลักษณะคล้ายกับคอนเน็กเตอร์ของสายทีวีเรียกว่า บีเอน็ ซี

1.3 สายใยแกว้ นาแสง (Optic Fiber Cable)ลักษณะของสายใยแก้วนาแสงสายใยแก้วนาแสง ประกอบด้วย- แกนนาแสงซ่ึงทาด้วยแก้ว เรียกว่าท่อใยแก้วนาแสง มีขนาดเล็กมากประมาณเท่าเส้นผม แกนนาแสง 1 อัน ประกอบด้วยท่อใยแก้วนาแสงจานวนมาก เชน่ ถ้ามีทอ่ ใยแก้วนาแสง 10 อัน เรียกว่าสายใยแกว้ นาแสง 10 Core- แก้วสาหรับท่อหุ้มแกนนาแสง เรียกวา่ Reflective Cladding- วัสดุทอ่ หุ้มภายนอก เรียกวา่ Protection Buffer การส่งข้อมูลสัญญาณของข้อมูลดิจิตอล ( 0 และ 1 ) จะถูกแปลงเป็นสัญญาณแสงที่มีความเข้มของแสงตา่ งระดับ

1.3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable)ประเภทของสายใยแกว้ นาแสงสายใยแก้วนาแสงที่นยิ มใช้ในปัจจุบัน แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ- Multi Mode Step Index ใช้หลักการให้แสงสะท้อนด้วยมุมต่าง ๆ จนถึงปลายทาง ราคาไม่แพง ประสิทธิภาพในการส่งขอ้ มูลปานกลาง- Graded Index Multi Mode ใชห้ ลักการทาให้เกิดจุดรวมของการสะท้อนแสงประสิทธิภาพในการสง่ ขอ้ มูลดีกวา่ Multi Mide Step Index- Single Modeเป็นสายใยแกว้ นาแสงทีมีความเร็วในการส่งขอ้ มูลมากที่สุดโดยใช้หลักการส่งสัญญาณแสงออกไปเป็นเส้นตรงไม่มีการสะท้อนของแสง

1.3 สายใยแก้วนาแสง (Optic Fiber Cable)วิธีการใชง้ านของสายใยแก้วนาแสงการนาสายใยแกว้ นาแสงมาใชง้ าน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ- การส่งข้อมูล จะต้องมีอุปกรณ์กาเนิดแสง เพื่อทาการแปลงกระแสไฟฟ้าให้เปน็ สัญญาณแสง- ตัวกลาง หรือแกนนาแสง ทาหน้าที่สง่ ผ่านสัญญาณข้อมูล- การรับข้อมูล จะต้องมีอุปกรณ์ตรวจรับแสง ทาการแปลงสัญญาณแสงให้เป็นกระแสไฟฟ้าเหมือนเดิม

2. สือ่ กลางทีก่ าหนดเสน้ ทางไมไ่ ด้ หรือระบบไรส้ าย 1. คลื่นไมโครเวฟ 2. แสงอินฟาเรด 3. ระบบสือ่ สารวทิ ยุ 4. ระบบดาวเทียม 5. บลูทูธ

1. คลื่นไมโครเวฟลักษณะของคลนื่ ไมโครเวฟ- การรับ - ส่ง สัญญาณขอ้ มูลของคลืน่ ไมโครเวฟ ใช้จานสะทอ้ นรูปพาลาโบลา- การส่งสัญญาณข้อมูลจะทาการส่งต่อ ๆ กันไป จากสถานีหนง่ึ ไปยังอีกสถานหนึง่ ซงึ่ การส่งสัญญาณขอ้ มูลระหวา่ งสถานี สัญญาณขอ้ มูลจะเดนิ ทางเป็นเสน้ ตรง- สถานีหนงึ่ ๆ ครอบคลุมพื้นที่ในการรับสัญญาณได้ 30 - 50 กิโลเมตร- ใช้ความถี่ในการส่งข้อมูลในช่วง 2 -40 GHz โดยทีค่ วามถี่ในชว่ ง 2.40 -2.484 GHz ไม่ต้องเสียคา่ ใช้จา่ ย

2. แสงอนิ ฟาเรดลักษณะของแสงอินฟาเรด- ใชใ้ นการสื่อสารข้อมูลระยะใกล้ ๆ เทา่ นัน้- นยิ มใช้ในการสื่อสารขอ้ มูลระหวา่ ง 2 อุปกรณเ์ ท่านั้น- มีอัตราความเร็วในการส่งขอ้ มูลไมส่ ูง ประมาณ 4 Mbps

3. ระบบสือ่ สารวทิ ยุลักษณะของระบบสือ่ สารวิทยุ- ระบบสือ่ สารวทิ ยุ 1 ช่องสัญญาณ สามารถใช้ได้กับหลายสถานี- ใชค้ วามถี่ในการส่งสัญญาณขอ้ มูลในช่วง 400 - 900 MHz

3. ระบบสือ่ สารวทิ ยุอัตราการส่งผา่ นขอ้ มูลอัตราการส่งผ่านข้อมูล (transmission rate) คือ จานวนของข้อมูลที่สามารถส่งผ่านสื่อกลางที่ใช้ส่งผ่านข้อมูลได้ มีหนว่ ยวัดเป็นบิตต่อวนิ าที (bits per second : bps) อัตราการส่งผา่ นขอ้ มูลจะขึ้นอยูก่ ับคา่ ของตัวแปร 2 ตัว คอื ความถี่ และแถบกวา้ งความถี่ความถี่ (frequency) คือ จานวนของคลืน่ ความถีท่ ีส่ ามารถส่งผา่ นสื่อกลางแต่ละประเภท มีหน่วยวัดเป็นเฮิตรซ์ (hertz) หรือรอบต่อวินาทีแถบกว้างความถี่ (bandwidth) หรือแบนด์วิดท์ คือระยะความถี่ที่สามารถส่งสัญญาณผ่านระบบสือ่ สารได้ ซง่ึ จะมีคา่ เท่ากับผลต่างระหวา่ งความถี่สูงสุด และความถี่ต่าสุดทีส่ ามารถจะสือ่ สารกันได้บนสือ่ กลางแต่ละประเภท เชน่ เครือข่ายโทรศัพท์แห่งหน่ึงสามารถส่งสัญญาณความถี่ได้ในระยะระหว่าง 300 ถึง 3,400 เฮิตรซ์ นั่นคือ เครือข่ายโทรศัพท์นี้จะมีแบนด์วดิ ท์เทา่ กับ 3,100 เฮติ รซ์

4. ระบบดาวเทียมลักษณะของระบบดาวเทียม- การทางานของระบบดาวเทียมคล้ายกับคลืน่ ไมโครเวฟ- การส่งสัญญาณข้อมูลจากภาคพื้นดินไปยังดาวเทียม เรียกว่า สัญญาณอัปลิงค์- การสง่ สัญญาณข้อมูลจากระบบดาวเทียมมายังพืน้ ดิน เรียกวา่ สัญญาณดาวนล์ งิ ค์- การสือ่ สารขอ้ มูลโดยใช้ระบบดาวเทียมมีอุปกรณ์ เรียกว่า Transponder ทาหนา้ ทีร่ ับ - สง่

5. บลูทูธBLUETOOTH คือ ระบบสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคแบบสองทาง ด้วยคลื่นวิทยุระยะสั้น (Short-Range Radio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือสายสัญญาณเชื่อมต่อ และไม่จาเป็นจะต้องใช้การเดินทางแบบเส้นตรงเหมือนกับอินฟราเรด ซ่ึงถือว่าเพ่ิมความสะดวกมากกว่าการเชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่างโทรศัพท์มือถือ กับอุปกรณ์ ในโทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นก่อนๆ และในการวิจัย ไม่ได้มุ่งเฉพาะการส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว แต่ยังศึกษาถึงการส่งข้อมูลที่เป็นเสียง เพือ่ ใชส้ าหรับ Headset บนโทรศัพทม์ ือถือดว้ ย

จัดทาโดยนางสาวธนัญญา บุญกองปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook