Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter4

chapter4

Published by benzthanan, 2018-09-01 05:43:12

Description: chapter4

Search

Read the Text Version

1.แบง่ ตามลักษณะทางกายภาพ 2.แบ่งตามหนา้ ที่ของคอมพวิ เตอร์  PAN (Personal area network)  Peer-to-Peer  LAN (Local Area Network)  MAN (Metropolitan Area Network)  Client-Server  WAN (Wide Area Network)3.แบง่ ตามระดับความปลอดภัยของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์ Intranet Internet Extranet

1.แบ่งตามลักษณะทางกายภาพ PAN (Personal area network) คือ \"ระบบการติดต่อส่ือสารไร้สายส่วนบคุ คล\" ย่อมาจาก Personal AreaNetwork หรือเรียกวา่ Bluetooth Personal Area Network (PAN) คือเทคโนโลยีการเขา้ ถึงไร้สายในพ้ืนทีเ่ ฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกนิ 1เมตร และมีอัตราการรับส่งขอ้ มูลความเรว็ สูงมาก (สูงถงึ 480 Mbps) ซงึ่เทคโนโลยที ่ีใช้กันแพร่หลาย เชน่ • Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a • Bluetoothตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1 • Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4 เทคโนโลยีเหล่าน้ีใช้สาหรับการติดต่อส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง(peripherals) ให้สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้และยังใช้สาหรับการรับส่งสัญญาณวดิ ีโอท่มี คี วามละเอยี ดภาพสูง (high-definition video signal) ได้ด้วยPersonal AreaNetwork (PAN) ช่วยใหเ้ ราสามารถจัดการข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่เคล่ือนท่ีไปมาได้อย่างหลากหลายคิดค้นโดยนกั วจิ ัยของ MIT รวมกับIBM โดยจะสร้างกระแสไฟฟ้าแรงตา่ (ระดับพิโคแอมป์ ) ออกไปตามผิวหนังโดยเครือ่ งรับสญั ญาณตามจดุ ต่างๆของรา่ งกายสามารถรบั สญั ญาณได้ เทคโนโลยีนี้จะเหมาะกับการใช้งานทางการแพทย์เพราะอปุ กรณ์ โดยมากจะมีการติดต้งั ตามลาตัวมนุษยพ์ ฒั นาโดย Bluetooth Special Interest Group

PAN (Personal area network)

LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดับท้องถน่ิ เป็นระบบเครอื ข่ายท่ใี ชง้ านอยใู่ นบริเวณที่ไม่กว้างนัก อาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารที่อยู่ใกล้กัน เช่น ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินค้า หรือโรงงาน เป็นต้น การส่งข้อมูลสามารถทาได้ด้วยความเร็วสูง และมีข้อผิดพลาดน้อย ระบบเครือข่ายระดับท้องถ่ินจึงถูกออกแบบมาให้ช่วยลดตน้ ทุนและเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการทางาน และใชง้ านอปุ กรณต์ ่าง ๆ รว่ มกนั

MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั เมือง เป็นระบบเครือขา่ ยทีม่ ีขนาดอยู่ระหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายทีใ่ ชภ้ ายในเมืองหรือจังหวัดเท่านั้น การเชอ่ื มโยงจะต้องอาศัยระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ จึงเป็นเครือข่ายท่ีใช้กับองค์การท่ีมีสาขาห่างไกลและต้องการเช่ือมสาขาเหลา่ นน้ั เข้าด้วยกัน เช่น ธนาคาร เครือขา่ ยแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จึงมีความเร็วในการสือ่ สารไมส่ งู เน่ืองจากมสี ัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีที่ใชก้ ับเครือข่ายแวนมคี วามหลากหลาย มีการเชอื่ มโยงระหวา่ งประเทศดว้ ยช่องสญั ญาณดาวเทียม เส้นใยนาแสง คล่ืนไมโครเวฟ คล่ืนวิทยุ สายเคเบิล

WAN (Wide Area Network) : ระบบเครอื ขา่ ยระดับประเทศ หรือเครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นระบบเครือข่ายที่ติดต้ังใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง เช่น ระบบเครือข่ายท่ีติดตั้งใช้งานท่ัวโลก เป็นเครือข่ายที่เช่ือมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกลกันเข้าด้วยกัน อาจจะต้องเป็นการติดตอ่ สือ่ สารกันในระดบั ประเทศ ข้ามทวปี หรือท่ัวโลกกไ็ ด้ ในการเช่ือมการติดต่อน้ัน จะต้องมีการตอ่เข้ากับระบบส่ือสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเปน็ การสง่ ข้อมลู ผ่านสายโทรศัพท์ในการติดต่อส่ือสารกันโดยปกติมี อัตราการส่งข้อมลู ท่ีต่าและมีโอกาสเกิดขอ้ ผดิ พลาด การสง่ ข้อมูลอาจใชอ้ ปุ กรณ์ในการสือ่ สาร เช่น โมเดม็ (Modem) มาช่วย

2. แบ่งตามหนา้ ท่ีของคอมพิวเตอร์ เครือข่ายแบบเพียร์ทูเพียร์ (Peer-to-Peer Network) เครือข่ายประเภทนี้จะไม่มีเครื่องเซริ ฟ์ เวอร์ และไม่มีการแบ่งชัน้ ความสาคญั ของคอมพิวเตอรท์ ่ีเช่ือมต่อกันเข้ากับเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองจะมีสิทธิเท่าเทียมกันในการจักการใช้เครือข่าย ซ่ึงเรียกว่า เพียร์ (Peer) นั่นเองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะทาหน้าท่ีเป็นทั้งไคลเอนท์และเซิร์ฟเวอร์แล้วแต่การใช้งานของผู้ใช้เครือข่ายประเภทนี้ ไมจ่ าเป็นต้องมีผู้ดูแลและจัดการระบบ หน้าที่น้ีจะกระจายไปยังผู้ใช้แต่ละคนเนื่องจากผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะเป็นคนกาหนดว่าข้อมูลหรือทรัพยากรใดบ้างของเครื่องน้ันท่ีตอ้ งการแชร์กับผู้ใช้คนอนื่ ๆ การใช้งานแบบเพียรท์ ูเพยี ร์ บางท่ีก็เรียกว่า \"เวริ ์คกรุ๊ป (Work group)\"หรือกล่มุ ของคนทที่ างานรว่ มกันเป็นทีม ซึ่งส่วนมากจะมีจานวนนอ้ ยกว่าสบิ คน เครือข่ายประเภทน้ีจะเป็นแบบง่ายๆ ไมซ่ ับซ้อนมากเนอ่ื งจากคอมพิวเตอร์ทกุ เครื่องทาหน้าท่ีเป็นทั้งไคลเอนท์และเซริ ์ฟเวอร์ฉะน้ันจึงไม่จาเป็นที่ต้องมีเคร่ืองเซิร์ฟเวอร์เพราะต้องมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ท่ีมีราคาแพงทาหน้าท่ีจัดการเครอื ขา่ ย

(Peer-to-Peer Network)

Client-Server เป็นรูปแบบหนึ่งของเครือข่ายแบบ server-based โดยจะมคี อมพิวเตอร์หลักเคร่ืองหน่ึงเป็นเซิร์ฟเวอร์ ซ่ึงจะไม่ได้ทาหน้าท่ีประมวลผลท้ังหมดให้เคร่ืองลูกข่าย หรือไคลเอนต์(client) เซิร์ฟเวอร์ทาหน้าที่เสมอื นเป็นท่ีเก็บข้อมูลระยะไกล (remote disk) และประมวลผลบางอย่างให้กับไคลเอนต์เท่านั้น เช่น ประมวลผลคาสั่งในการดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูล(database server) เครือข่ายแบบ Client/Server ยืดหยุ่นตอ่ การเพิ่มเติมขยายระบบ การเพม่ิเครอื่ งไคลเอนตใ์ นเครอื ข่ายไม่จาเป็นต้องใช้เครอื่ งสเป็คสงู ราคาแพง โดยเครื่องที่มีสมรรถนะสูงน้ันเอาไว้ใช้เปน็ เครอื่ งเซริ ์ฟเวอร์

3. แบง่ ตามระดบั ความปลอดภัยของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์ Intranet คือ ระบบเครือข่ายภายในองคก์ ร เป็นบริการและการเชอื่ มต่อคอมพิวเตอร์เหมือนกันอินเทอร์เนต็ แตจ่ ะเปดิ ให้ใชเ้ ฉพาะสมาชิกในองค์กรเท่าน้ัน เช่น อินทราเน็ตของธนาคารแต่ละแหง่หรือระบบเครือข่ายมหาดไทยท่ีเชื่อมศาลากลางทั่วประเทศ เป็นต้น เป็นการสร้างระบบบรกิ ารข้อมูลขา่ วสาร ซึ่งเปิดบริการคลา้ ยกบั อินเทอร์เนต็ เกอื บทุกอย่าง แต่ยอมให้เข้าถงึ ได้เฉพาะคนในองค์กรเท่าน้ัน เป็นการจากดั ขอบเขตการใช้งาน ดงั น้ันระบบอนิ เทอร์เน็ตในองค์กร ก็คือ \"อินทราเน็ต\"นั่นเอง แต่ในช่วงที่ช่ือน้ียังไมเ่ ป็นท่ีนิยม ระบบอินทราเน็ตถูกเรียกในหลายช่ือ เช่น Campusnetwork, Local internet, Enterprise network

ในปัจจุบัน บรษิ ัทธรุ กิจชั้นนาในประเทศต่าง ๆ ได้นาเทคโนโลยีอนิ ทราเน็ตมาประยุกตใ์ ช้ในองคก์ รกันอยา่ งแพร่หลาย สาหรับอนิ ทราเน็ตในประเทศไทยกาลงั อยู่ในช่วงของการเริ่มต้น และการขยายแนวความคิดให้กับผู้บริหารองค์กร อีกทั้งองค์กรหลายแห่งยังคงไม่พร้อมทั้งด้านงบประมาณ และบุคลากรที่จะเช่ือมโยงสู่อินเตอร์เน็ตอย่างแท้จริง อนิ ทราเน็ตจึงเป็นช่องทางในการพัฒนาและเตรียมความพรอ้ มในระยะแรก แตก่ ็มีศกั ยภาพทจ่ี ะเติบโตไดอ้ กี มาก

Internet อินเทอร์เนต็ เครือข่ายสาธารณะ อนิ เทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายท่ีครอบคลมุ ทั่วโลก ซง่ึ มีคอมพิวเตอร์เป็นล้านๆเคร่ืองเชื่อมต่อเข้ากับระบบและยังขยายตัวขน้ึ เร่ือย ๆ ทกุ ปี อนิ เทอร์เนต็ มีผ้ใู ชท้ วั่ โลกหลายร้อยล้านคน และผู้ใช้เหล่านสี้ ามารถแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสารกนั ได้อย่างอสิ ระ โดยทีร่ ะยะทางและเวลาไม่เป็นอุปสรรค นอกจากน้ีผู้ใชย้ ังสามารถเข้าดูข้อมลู ต่าง ๆ ที่ถกู ตีพิมพ์ในอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชื่อมแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็นองค์กรธุรกิจมหาวิทยาลยั หน่วยงานของรัฐบาล หรือแมก้ ระท่ังแหล่งข้อมลู บุคคล องคก์ รธุรกิจหลายองคก์ รได้ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตช่วยในการทาการค้า

Extranet เอ็กส์ทราเน็ต หรือเครือข่ายรว่ ม เป็นเครือขา่ ยกึ่งอินเทอร์เน็ตก่ึงอนิ ทราเน็ต กล่าวคอืเอ็กส์ทราเน็ตคือเครือข่ายที่เช่ือมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององค์กร ดังนั้นจะมีบางส่วนของเครือข่ายท่ีเป็นเจ้าของร่วมกันระหว่างสององค์กรหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไม่จากัดด้วยเทคโนโลยี แต่จะยากตรงนโยบายที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลท่ีทั้งสององค์กรจะต้องตกลงกัน เช่น องคก์ รหนึ่งอาจจะอนุญาตให้ผูใ้ ชข้ องอกี องค์กรหนึ่งล็อกอินเข้าระบบอินทราเน็ตของตวั เองหรือไม่ เปน็ ต้น

จดั ทาโดยนางสาวธนญั ญา บุญกองปวส.2 คอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook