Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ IFPP

คู่มือ IFPP

Published by pim_d19, 2022-02-01 04:27:21

Description: คู่มือ IFPP

Search

Read the Text Version

คูมือการจัดทําแผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP) พิมพค รง้ั ที่ 1 : ป 2561 จาํ นวน : 20,000 เลม พิมพที่ : ชุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั

คำ� นำ� การจัดท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan - IFPP) เป็นการท�ำแผนธุรกิจ เบ้ืองต้นท่ีเกษตรกรต้องวิเคราะห์หรือก�ำหนดกิจกรรม การเกษตรท่ีจะผลิต ศึกษาประเด็นที่ต้องใช้ประกอบ การวิเคราะห์ สืบค้นข้อมูลที่ต้องการใช้แต่ละประเด็น และวิธีการรวบรวมข้อมูลท�ำอย่างไร โดยใช้การวิเคราะห์ ทางด้านการผลิต การตลาด การจัดการ การวิเคราะห์ ทางด้านสังคมและส่ิงแวดล้อม การวิเคราะห์ทางด้านการเงิน และ แผนฉุกเฉิน การศึกษากระบวนการผลิตตั้งแต่การก�ำหนดเป้าหมาย ก�ำหนด กิจกรรมต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายน้ัน ๆ ท้ังการวางแผนการผลิต การตลาด และงบประมาณฟาร์ม ครอบคลุมทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ กิจกรรม การท�ำฟาร์มแบบผสมผสาน ซึ่งไม่เพียงเฉพาะเกษตรกรท่ีมุ่งท�ำการเกษตร เชิงการค้าเท่านั้นที่จะต้องท�ำแผนการผลิตรายบุคคล แต่ยังรวมไปถึงเกษตรกร ที่ท�ำการเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ หรือการท�ำการเกษตรภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็สามารถ น�ำหลักการท�ำแผนการผลิตรายบุคคลมาใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกท�ำกิจกรรมการเกษตรที่เหมาะสม สำ� หรับตนเอง ด�ำเนนิ กิจการได้อย่างยัง่ ยืนและลดความเส่ียงในอนาคตได้เชน่ กนั คู่มือการจัดท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) จัดท�ำขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการผลิต รวมทั้งเป็นสมุดบันทึกการจัดท�ำแผนการผลิต รายบุคคล (IFPP) ของเกษตรกร ทั้งนี้ ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดท�ำคู่มือการจัดท�ำแผนการผลิต รายบุคคล (IFPP) เจ้าหน้าที่ที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “คนรุ่นใหม่อนาคตของกรมส่งเสริมการเกษตร (Future DOAE)” รวมท้ังเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานองค์กรเกษตรกรระดับจังหวัด เขต และส่วนกลาง ซ่ึงคู่มือ ฉบบั น้คี งจะเปน็ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ าน และการด�ำเนินกิจกรรมของเกษตรกร องคก์ รเกษตรกรตอ่ ไป กองพฒั นาเกษตรกร พฤศจิกายน 2560 กiiiคู่มอื การจัดท�ำแผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

iv คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

สารบัญ หน้า แผนการผลติ รายบุคคล คืออะไร 1................................................................................................................................................................................... ประโยชนข์ องการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบุคคล 2....................................................................................................................................... องคป์ ระกอบของแผนการผลิตรายบุคคล 3........................................................................................................................................................ ข้อควรรู้เก่ยี วกบั การท�ำแผนการผลิตรายบคุ คล 3..................................................................................................................................... เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการจัดทำ� แผนการผลติ รายบุคคล (IFPP) 4.................................................................................................. หลักการวิเคราะห์ศักยภาพของชนดิ สนิ ค้าและบรกิ ารดา้ นการเกษตร.....................................................................10 1. การวิเคราะห์เพ่ือท�ำแผนด้านการผลติ ......................................................................................................................................................... 10 2. การวเิ คราะหเ์ พอื่ ท�ำแผนด้านการตลาด..................................................................................................................................................... 11 3. การวิเคราะหเ์ พือ่ ท�ำแผนด้านการจดั การบคุ คล................................................................................................................................... 12 4. การวิเคราะห์เพอ่ื ท�ำแผนดา้ นการดำ� เนนิ กิจการ................................................................................................................................. 13 5. การวเิ คราะหเ์ พื่อท�ำแผนดา้ นการเงิน........................................................................................................................................................... 13 6. ปญั หาในการวิเคราะห์โครงการทางธุรกจิ การเกษตร (แผนฉกุ เฉนิ )..................................................................................14 แผนผังข้ันตอนการจัดท�ำแผนการผลติ รายบคุ คล 15.......................................................................................................................... (Individual Farm Production Plan – IFPP) การประยกุ ตใ์ ชแ้ บบแผนการผลติ รายบุคคล สูแ่ ผนการผลติ รายกลมุ่ 16................................................................ ภาคผนวก 17..................................................................................................................................................................................................................................................... • ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มลู ของเกษตรกรรายเดย่ี ว.................................................................................................................................. 19 • ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มูลของกลมุ่ ส่งเสริมอาชพี การเกษตร....................................................................................................... 24 • ตวั อยา่ งการกรอกขอ้ มลู ของกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกร.......................................................................................................................... 29 • แบบแผนการผลติ รายบคุ คล/แผนธรุ กิจ (แบบ IFPP).................................................................................................................... 34 ขvคู่มอื การจดั ท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

vi คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

คู่มือการจัดท�ำแผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP) ภาคการเกษตรเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักให้กับประชากรในประเทศไทย ในอดีตที่ผ่านมาเกษตรกรจะเป็น ผ้ผู ลติ สนิ คา้ เพยี งอยา่ งเดยี ว ขาดการวเิ คราะห์วางแผนด้านความตอ้ งการของตลาดและผบู้ รโิ ภค รวมไปถงึ สถานการณ์ ของคู่แข่งและคู่ค้า ส่งผลให้เกิดการกระจุกตัวของสินค้า สินค้าเกษตรล้นตลาด และราคาตกต่�ำ ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ ของเกษตรกรไทย ดังน้ัน การประกอบอาชีพการเกษตรในปัจจุบัน เกษตรกรที่เป็นผู้ผลิตเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถก้าวข้ามปัญหาดังกล่าวได้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงมีนโยบายส่งเสริมและผลักดันให้เกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) โดยมองว่าเกษตรกร คือ ผู้ประกอบการด้านการเกษตร (Entrepreneur) และจะต้องมีการวิเคราะห์ตนเอง ก�ำหนดแผนการผลิต/แผนธุรกิจของตนเอง หรือเรียกว่า “แผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)” และพัฒนาสู่ระบบกลุ่มการผลิตที่มีแผนการผลิตสนับสนุน ซึ่งกันและกัน เพ่ือให้ท�ำการผลิตทางการเกษตรในลักษณะ Smart Agriculture เกิดความย่ังยืนในการพัฒนาและ สรา้ งความอยู่ดมี สี ขุ ได้อย่างแท้จริง แผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan - IFPP) คืออะไร การเป็นผู้ประกอบการก่อนท่ีจะตัดสินใจด�ำเนินธุรกิจใดธุรกิจหน่ึง จะต้องมีการจัดทำ� แผนธุรกิจ (Business Plan) อนั เปรียบเสมือนเขม็ ทิศทบ่ี อกทางว่ากจิ การควรจะเดนิ ไปในทศิ ทางใด ตลอดจนบอกข้ันตอนระยะเวลาตา่ ง ๆ ว่าจะไปสู่จุดมุ่งหมายอย่างไร ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องรู้และเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้ง ในการน�ำเอาความคิดที่มีอยู่ มาเขยี นเปน็ แผนธรุ กจิ ทเ่ี ปน็ จรงิ และสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การการวางแผนดำ� เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งมที ศิ ทาง และสามารถอยรู่ อดได้ แผนการผลิตรายบุคคล หรือ IFPP คือ แผนธุรกิจเกษตรอย่างง่ายที่จะเป็นการบอกถึงขั้นตอนของ การด�ำเนินกิจกรรมการเกษตรของตนเองทั้งหมด ต้ังแต่จุดเร่ิมต้นว่าจะผลิตพืชหรือสินค้าเกษตรชนิดใด มีกระบวนการ ข้ันตอนในการปฏิบตั ิอย่างไรบา้ ง ใช้ปัจจยั การผลิตอะไร จำ� นวนเทา่ ใด ผลผลติ จะออกมามากน้อยแค่ไหน ใชง้ บประมาณ และก�ำลังคนเท่าไรกว่าจะได้ผลผลิตที่พร้อมออกจ�ำหน่ายสู่ตลาด รวมไปถึงการหาตลาดหรือช่องทางจ�ำหน่ายผลผลิต และการจัดการความเส่ียงในกรณีท่ีเกิดเหตุการณ์ท่ีไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้า เช่น ภัยธรรมชาติ หรือโรคแมลงระบาด เป็นต้น ดังนั้นเกษตรกรจ�ำเป็นต้องศึกษาถึงปัจจัยภายใน-ภายนอก และสภาวะแวดล้อมภายใน-ภายนอกท่ีเก่ียวข้อง ที่มีผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจเกษตร รวมถึงต้องศึกษาสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจซึ่งจะมีอิทธิพลและ มีผลกระทบทั้งทางตรงทางอ้อมต่อการท�ำธุรกิจด้วย ซ่ึง IFPP จะเป็นส่ิงที่ช้ีให้เห็นถึงโอกาสแห่งความส�ำเร็จและ จดุ ออ่ นหรือข้อควรระวงั ในการผลติ สนิ ค้าเกษตรนน้ั ๆ น่นั เอง 1คมู่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

ประโยชนข์ องการจดั ท�ำแผนการผลิตรายบคุ คล (IFPP) 1. นำ� ความคดิ ที่เป็นนามธรรมออกมาเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ไมไ่ ดม้ ีการจดบันทกึ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกับการท�ำการเกษตรของตนเอง และมักท�ำตามความเคยชินท่ีปฏิบัติสืบทอดกันมา ดังนั้นการ เรียบเรียงความคดิ ออกมาเปน็ ขอ้ มูลที่มองเห็นได้ ท�ำใหส้ ามารถมองเหน็ ภาพรวมไดช้ ัดเจนและครบถว้ นมากขนึ้ ** เกษตรกรสว่ นใหญไ่ มเ่ คยรู้ว่าเงินไหลผา่ นกจิ กรรมการเกษตรของตนเองอยา่ งไร IFPP จะช่วยให้ร้วู า่ รายรบั มาจากไหน และใช้จา่ ยไปในเรื่องใด ** 2. การวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรค ท�ำให้เกษตรกรได้คิดอย่างรอบคอบ มองเห็น ขอ้ บกพร่องท่เี กิดขึ้นในการด�ำเนนิ การ ช่วยใหร้ ู้วา่ ตนเองต้องท�ำอะไร ต้องการอะไร ตอ้ งการความช่วยเหลอื ด้านไหน จากที่ใด อันจะน�ำไปสู่แผนพัฒนากิจการตนเอง และสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้เป็นแผนพัฒนาศักยภาพกลุ่มในกรณี ท่ีน�ำไปวิเคราะห์กับกิจกรรมของกลุ่มท่ดี �ำเนินกจิ กรรมร่วมกนั ** แผนพฒั นากิจการตนเอง และแผนพฒั นาศักยภาพกลมุ่ จะเป็นขอ้ มลู พื้นฐาน สำ� หรับเจ้าหน้าท่ีสง่ เสริมการเกษตรในการจดั ท�ำแผนพฒั นาการเกษตรประจำ� ต�ำบลด้วย** 3. ท�ำให้ทราบว่า ควรจะลงมือด�ำเนนิ กิจกรรมในเรือ่ งใดก่อน-หลงั ท�ำให้งา่ ยตอ่ การลงมอื ปฏิบตั ิ 4. สามารถหาทางป้องกนั แกป้ ัญหา หรือข้อบกพรอ่ ง ทอ่ี าจเกิดขึน้ ได้ทันทว่ งทีกอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ิ 5. ช่วยให้การบรหิ ารจัดการทางการเงินเปน็ ไปอย่างถูกตอ้ ง ถกู ท่ี ถกู ทาง ถกู เวลา ประหยัดงบประมาณ 6. สามารถเป็นข้อมูลพ้ืนฐานส�ำหรับต่อยอดท�ำแผนธุรกิจเสนอต่อผู้ให้กู้หรือสถาบันทางการเงิน เพ่ือขอกู้ยืมเงิน มาลงทุนประกอบธุรกิจได้ 2 คมู่ อื การจัดท�ำแผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

องค์ประกอบของแผนการผลิตรายบคุ คล (IFPP) แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ท่ีดี จะบอกถึงความเป็นไปได้ของ กิจการท่ีจะลงทุน ดังนั้น IFPP จึงควรประกอบด้วยการวิเคราะห์ปัจจัย ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดังต่อไปน้ี 1. ชนิดสนิ คา้ หรือบริการ 2. กล่มุ ลูกค้าเป้าหมาย 3. จดุ แขง็ และจุดออ่ นของกจิ การทีจ่ ะดำ� เนินการ 4. นโยบายการตลาด เชน่ นโยบายด้านราคา การสง่ เสรมิ การตลาด การกระจายสินค้า 5. วธิ ีการหรือกระบวนการในการผลติ รวมถึงเครอ่ื งจกั ร อปุ กรณท์ ่ตี อ้ งใช้ 6. ตวั เลขทางการเงิน นับตั้งแตร่ ายไดท้ ค่ี าดวา่ จะได้รับ ค่าใชจ้ ่าย ก�ำไร ขาดทนุ จ�ำนวนเงินลงทนุ ทต่ี ้องการ และกระแสเงนิ สด ทีค่ าดวา่ จะไดม้ าหรือใช้ไป ข้อควรร้เู ก่ียวกับการทำ� แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) สงิ่ ที่ตอ้ งรู้สำ� หรบั การท�ำ IFPP มี 4 ขอ้ ไดแ้ ก่ 1. รู้ตนเอง คอื รูว้ ่าเรามีอะไร ถนัดเรอื่ งใด มีจุดออ่ นจดุ แขง็ เร่ืองใด 2. รู้คแู่ ข่ง คือ ร้วู า่ มใี ครทที่ ำ� ธรุ กจิ เดียวกับเรา ปรมิ าณและคุณภาพผลผลติ เปน็ อย่างไร ราคาเท่าไร เปน็ ตน้ 3. รคู้ ู่ค้า คือ รู้ว่ามเี ครอื ข่ายใดที่จะสนบั สนุนธรุ กจิ ของเราได้ 4. รสู้ ภาพแวดลอ้ ม คือ ร้สู ถานการณต์ ลาด ความต้องการของลูกคา้ สภาพพน้ื ทีส่ ิง่ แวดล้อม โดยใช้การวิเคราะห์จากพ้ืนฐานข้อมูลของศักยภาพของคน ศักยภาพของตัวพืชหรือสินค้า และศักยภาพของพื้นท่ี และสิง่ แวดลอ้ ม ซึง่ สามารถใช้การตง้ั คำ� ถามง่าย ๆ เพื่อรวบรวมและจดั กลุม่ ขอ้ มลู ศักยภาพได้ ดงั น้ี • ศักยภาพของคน “คน” ในที่น้ีไม่ได้หมายถึงตัวเกษตรกรเองแต่เพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมไปถึงกลุ่ม/องค์กร ความรู้ ทุน แรงงาน และความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ท่ีเรามอี ย่ดู ว้ ย คำ� ถามทีต่ ้งั เพื่อให้รถู้ งึ ศกั ยภาพของคน เช่น 2 เปา้ หมายการทำ� ธุรกิจการเกษตรของเราคอื อะไร 2 เรามคี วามรู้ ความถนัดด้านใด 2 เราจะผลติ อะไร 2 เรามจี ำ� นวนเงนิ ลงทุนเทา่ ใด 2 มแี รงงานจำ� นวนเท่าใด 2 เราจะจดั องค์กรเพื่อบริหารธรุ กจิ อย่างไร ท้ังนี้ สามารถใช้แบบประเมินคุณสมบัติของเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) เป็นแนวทาง ในการวเิ คราะห์ศกั ยภาพทีม่ อี ยูข่ องตวั เกษตรกรได้ 3คู่มือการจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

• ศักยภาพของตัวพืชหรอื สินคา้ ศักยภาพของตัวพืชหรือสินค้า นอกจากจะพิจารณาถึงคุณภาพและคุณสมบัติของตัวสินค้าเองแล้ว จะตอ้ งพิจารณาถงึ ความสามารถในการแข่งขนั ในตลาดดว้ ย ค�ำถามท่ีตง้ั เพอื่ ใหร้ ู้ถงึ ศักยภาพของตวั พชื หรอื สินคา้ เช่น 2 เราอยู่ในธุรกิจประเภทใด เช่น ผลติ ปจั จยั การผลิต ผลติ เพื่อจ�ำหนา่ ยสด ผลิตเป็นวตั ถดุ ิบสง่ โรงงาน เปน็ ต้น 2 ต้นทุนการผลิตเป็นเทา่ ใด 2 ใครเป็นคู่แขง่ ของเรา 2 สินคา้ ของเรามีความแตกตา่ งจากผผู้ ลติ รายอื่นอยา่ งไร 2 ตลาดหรอื แหลง่ จ�ำหน่ายของเราอยู่ไหน 2 ใครเป็นผ้ซู ้อื หรือเป็นลูกค้าของเรา 2 เราจะขายสนิ ค้าหรอื ให้บรกิ ารอยา่ งไร 2 แผนการขายของเราเปน็ อยา่ งไร มผี ลผลติ ออกในช่วงใด ประมาณการยอดขายเปน็ อยา่ งไร • ศกั ยภาพของพน้ื ท่ีและสิ่งแวดลอ้ ม เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ภาพรวมก่อนท่ีจะตัดสินใจด�ำเนินกิจการว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ ค�ำถามท่ีตั้ง เพื่อให้ร้ถู งึ ศักยภาพของพนื้ ท่ีและสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น 2 ท�ำเลทตี่ ้งั แปลงของเราอยู่ทีใ่ ด อยู่ในเขตพืน้ ท่เี หมาะสมสำ� หรับ การปลูกพชื นน้ั ๆ หรือไม่ (Zoning) ชุมชนใกลเ้ คียงเปน็ อย่างไร 2 มีแหลง่ นำ้� ไฟฟา้ ถนนตัดผา่ น หรอื ไม่ การขนสง่ สนิ ค้าสะดวกหรือไม่ 2 มกี ฎหมาย หรอื ระเบยี บอะไรทเี่ กย่ี วข้อง 2 หากประสบปัญหาจะแกไ้ ขอยา่ งไรหรือจะขอความช่วยเหลอื จากที่ใด ค�ำถามเหล่านี้จะท�ำให้เรามีข้อมูลเบ้ืองต้นที่จะน�ำมาจัดกลุ่มและวิเคราะห์ข้อมูล โดยจ�ำแนกเป็น ปัจจัยภายใน (สิ่งที่เราสามารถควบคุมได้) และปัจจัยภายนอก (สิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้หรือควบคุมได้ยาก) จากน้ันน�ำข้อมูลดังกล่าวมาประกอบการวิเคราะห์และก�ำหนดเป้าหมายกิจการของเกษตรกรเองว่ามีความเหมาะสม หรอื ไม่ ควรด�ำเนนิ การในทิศทางใดจึงจะอย่รู อด เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการจดั ท�ำแผนการผลิตรายบุคคล IFPP การรวบรวมข้อมูลเกษตรกรเพ่ือใช้ในการจัดท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ได้จากการวิเคราะห์ด้วย เครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งแบ่งเคร่ืองมือออกเป็น 2 ประเภท คือ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมูล และเครื่องมือท่ีใช้ การวิเคราะหข์ อ้ มลู ดงั นี้ 1. เครื่องมือที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1.1 แผนภาพล�ำดับเหตุการณ์ (Time line) เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเก่ียวกับล�ำดับเหตุการณ์ ส�ำคัญทีเ่ กิดขึ้นตามชว่ งเวลา เรือ่ งราวบนช่วงเวลานน้ั ๆ และสงิ่ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคต นยิ มใชศ้ กึ ษาเรอ่ื งราวใน อดีตหรอื ประวัติของชมุ ชน กลมุ่ และบคุ คล ทั้งน้ี การเกบ็ ข้อมูลเกษตรกรในการจัดทำ� แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ประกอบด้วย ปี พ.ศ. ทีเ่ ร่ิมต้นท�ำการเกษตรกร ปลกู /เล้ยี งสตั ว์อะไร ราคาเทา่ ไหร่ ปจั จัยการผลติ อะไร ราคาปจั จยั การผลติ ชว่ งน้ันมีโรคพืช/โรคสตั วอ์ ะไร ขายได้ราคาเท่าไหร่ น�ำผลผลติ ไปขายทไ่ี หน เปน็ ต้น ดงั ทแี่ สดงในภาพ 4 คู่มือการจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

ปี พ.ศ. l นำ�้ ทว่ ม l เล้ียงแพะนม 50 ตวั l สวนลม่ l ทนุ ตัวละ 10,000 บาท 2528 l ขายนมแพะขวดละ 15 บาท 2538 l มีแรงงาน 1 ราย l เริม่ ต้นท�ำการเกษตร l ท�ำแปลงหญา้ เอง l ท�ำนา l ท�ำเอง 2560 l จ้างแรงงาน l แบ่งท�ำสวนมะม่วง 10 ไร่ 2542 l รายไดด้ ี l ตน้ ทุนสูง l เริ่มเปน็ ปศสุ ตั วอ์ าสา l รวมกลุม่ ทำ� สวนผสม ท�ำสวน เล้ียงไก่ เลย้ี งแพะ 1.2 แผนผังความคิด (Mind map) เป็นเคร่ืองมือบันทึกความคิดของการอภิปรายกลุ่ม หรือบุคคล แสดงความคิดเห็น จดบันทึกด้วยค�ำสั้น ๆ เพ่ือให้เห็นภาพของความคิดที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้าง และชัดเจน โดยยังไม่จัดระเบียบความคิดใด ๆ ท้ังสิ้น เป็นการเขียนตามความคิด ที่เกิดข้ึนขณะน้ัน การเขียนมีลักษณะเหมือน ต้นไม้แตกก่ิงก้านสาขาออกไปเรื่อย ๆ ท�ำให้สมองได้คิดตามธรรมชาติ ท้ังนี้ การเก็บข้อมูลเกษตรกรในการจัดท�ำ แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) มีหัวข้อท่ีเก่ียวข้อง คือ ด้านการผลิต การตลาด การเงิน/บัญชี การจัดการบุคคล ส่ิงแวดลอ้ ม และด้านแผนฉุกเฉิน เปน็ ต้น ดงั ที่แสดงในภาพ พ้ืนท่ปี ลกู ทเุ รยี น 30 ไร่ พนั ธุห์ มอนทอง, กา้ นยาว ผลผลติ 28 ลกู /ต้น (กก. 120 บาท) ทุเรียนหนัก 2-5 กก. ดา้ นการผลติ 1 ต้น รายได้ประมาณ 10,000 บาท ต้นท่ใี หผ้ ลไดม้ ีประมาณ 30 ตน้ มีการทำ� บัญชี ด้านการเงิน/บญั ชี ใชส้ ารชวี ภาพช่วย ปยุ๋ เคมี และอนิ ทรยี ์ ไม่ไดก้ ู้ ใช้เงินส่วนตวั ปลกู กลว้ ยแซม แปรรปู ผลผลิต ข้อมูลนายสมนกึ ระยะปลูก 8x8 เมตร (30 ตน้ /ไร)่ ส่งออกตา่ งประเทศ ทเุ รยี นมอี ายนุ านสดุ 34 ปี ดา้ นแผนฉุกเฉนิ จ�ำหน่ายเองหนา้ สวน, ตลาดท้องถ่ิน ใช้สารชวี ภัณฑใ์ นการก�ำจดั ศัตรพู ชื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ดา้ นการตลาด มีการรวมกลมุ่ เพือ่ ส่งออก น้ำ� ไม่แล้ง แปรรูปเป็นทเุ รยี นทอด ด้านการจัดการบุคคล ดนิ เหมาะสมกับพนั ธ์ทุ เุ รียนทีป่ ลูก แรงงานประจำ� 3 คน ค่าจา้ งเหมาจา่ ย 30,000 บาท/คน/ปี ค่าจา้ งเหมาตอนกิ่งพนั ธ์ุ 100 บาท/กิ่ง 5คูม่ ือการจดั ท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

1.3 แผนที่ท่ีท�ำกินระดับครัวเรือน เป็นเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูลที่แสดงขอบเขตของพื้นที่ที่ท�ำกิน ของครอบครัว หรือที่ต้ังแปลงท�ำการเกษตรว่าแต่ละแปลงมีการใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ท้ังน้ี การเก็บข้อมูลในการจัดท�ำ แผนการผลิตรายบุคคล (IFPP) ในแผนที่ต้องมี ทิศ รูปแปลงที่ท�ำการเกษตร ใส่รายละเอียดขนาดพ้ืนที่ ชนิดพืช ท่ปี ลูก และแหลง่ น้ำ� เป็นตน้ ดังที่แสดงในภาพ การระบายน�้ำ เหนือ การระบายน้�ำ ไมผ้ ล ไมผ้ ล เถยี งนา บอ่ นำ้� ตน้ื ไผ่ ที่นาดอนปลูกปอ/ขา้ ว/แตงโม การปลูกปอสำ� หรบั ทีน่ าลุ่มปลกู ข้าวระยะยาว ผลิตเมล็ดพนั ธ์ุ พืชผัก 6 คมู่ อื การจัดท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

1.4 ปฏทิ ินการเพาะปลูกพชื (Crop Calendar) เป็นเครื่องมอื แผนภาพทใี่ ชช้ ว่ งเวลารายเดอื นเป็นหลกัชนดิ พืชอายุ ปปี ฏทิ นิปีปฏิทนิ (ถดั มา) ในการแสดงรายละเอียดของการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ทางการเกษตร ซ่ึงแสดงถึงความต้องการปัจจัยการผลิตเก็บเกยี่ ว ในแต่ละช่วงเวลา เช่น ปรมิ าณนำ�้ ฝน แรงงาน การใช้นำ้� เป็นตน้ ดงั ท่ีแสดงในภาพขา้ ว(วนั )ม.ค.ก.พ.ม.ี ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.ม.ิ ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.ธ.ค. 2 นาปี คูม่ อื การจัดท�ำแผนการผลิตรายบคุ คล120-150 ทกุ ภายคกรเววม้นจภังาหควใดั ตช้ มุ พรปลูก เกบ็ เกย่ี ว 2 ขา้ วนาปรัง ปลูก 7(Individual Farm Production Plan – IFPP)ภาคใต้ เกบ็ เกีย่ ว พชื ไร่ 2 ถั่วเขยี ว 120 ทุกภายคกรเววมน้ จภงั าหควใัดตช้ ุมพร ปลูก เกบ็ เกย่ี ว ปลกู เก็บเกย่ี ว ภาคใต้ ตน้ ฝน แล้ง (ในนา) 65-75 ปลายฝน 2 ถั่วเหลือง 90 ตน้ ฝน แล้ง (ในนา) ปลายฝน 2 ถั่วลิสง 110 ต้นฝน แล้ง (ในนา) ปลายฝน 2 ขา้ วโพดเล้ียงสัตว์ 120 ปลูก ต้นฝน เก็บเก่ยี ว ปลูก ปลายฝน เกบ็ เกีย่ ว หมายเหตุ ปลูก เก็บเกยี่ ว ปลกู และเก็บเกี่ยว

2. เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ 2.1 การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT) เป็นการจัดท�ำแผนกลยุทธ์วิธีหน่ึง ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรได้ทราบถึงสถานภาพของตนเอง ท�ำให้สามารถก�ำหนดเป้าหมายได้อย่างถูกต้องและประสบ ความส�ำเรจ็ โดยวเิ คราะหจ์ ากสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดลอ้ มภายนอกของเกษตรกร สภาพแวดล้อมภายในที่น�ำมาพิจารณาจุดแข็งและจุดอ่อน (สิ่งท่ีเราสามารถควบคุมได้) เช่น ตัวเกษตรกรมีความถนัดเรื่องใด ผลิตอะไร ท�ำเลท่ีต้ังแปลงของเราเหมาะสมส�ำหรับการปลูกพืชนั้น ๆ หรือไม่ ต้นทุนการผลิตเท่าไร ปัจจัยการผลิตท่ีเราท�ำได้เอง เงินทุนเท่าใด มีค่าแรงงานในครอบครัวก่ีคน ค่าพันธุ์พืช รายรับ รายจา่ ย การขนสง่ และตลาดหรอื แหลง่ จ�ำหน่ายเราอยไู่ หน เป็นตน้ สภาพแวดล้อมภายนอกที่น�ำมาพิจารณาโอกาสและอุปสรรค (สิ่งที่ไม่สามารถควบคุมได้หรือ ควบคุมได้ยาก) เช่น เศรษฐกิจ สังคม ชุมชน กฎหมายหรือระเบียบท่ีเกี่ยวข้องกับการท�ำการเกษตรของเรา ใครเป็นคู่แขง่ ของเรา และใครเป็นผ้ซู ้ือ หรอื เปน็ ลูกค้าของเรา เป็นต้น ดังนั้น การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกที่เกษตรกรประสบอยู่ ปัจจัยเหล่าน้ี แต่ละอย่างจะช่วยให้เข้าใจได้ว่ามีอิทธิพลต่อผลการด�ำเนินงานของเกษตรกรอย่างไร ซ่ึง SWOT ANALYSIS ประกอบดว้ ยการวิเคราะห์ 4 ด้าน ดังนี้ 1) วิเคราะห์จุดแข็ง (Strengths: S) เป็นปัจจัยภายในของตัวเกษตรกร องค์กรหรือกิจการ ที่เป็น ข้อไดเปรียบในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น เกษตรกรมีทรัพย์สินมากสามารถด�ำเนินกิจการไปได อยา่ งคล่องตัว เป็นตน้ 2) วิเคราะห์จุดอ่อน (Weakness: W) เป็นปัจจัยภายในองค์กรหรือกิจการที่ท�ำให้เกษตรกร ไมสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ว่ี างไว เชน่ คนงานขาดแคลน ผลผลติ มีต้นทุนสูงกว่าคแู ขง เปน็ ตน้ 3) วิเคราะห์โอกาส (Opportunities: O) เป็นปัจจัยภายนอกท่ีช่วยให้เกษตรกรสามารถด�ำเนิน กิจการตามวัตถุประสงค์ที่วางไวได เช่น รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมให้ประชาชนหันมาบริโภค ผลไม้ไทย เป็นต้น 4) วิเคราะห์อุปสรรค (Threats: T) เปน็ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้กจิ การไมส ามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ ทกี่ ำ� หนดไวได เช่น เกษตรกรไม่สามารถควบคุมราคาปัจจยั การผลิตได้ เป็นต้น 8 คู่มือการจัดทำ� แผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

2.2 เมตริก SWOT เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกแล้ว ให้น�ำ จุดแข็ง-จุดอ่อนภายในมาเปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอกเพื่อดูว่าเราก�ำลังเผชิญสถานการณ์เช่นใด และภายใต้สถานการณ์เช่นน้ัน เราควรจะท�ำอย่างไร จากนั้น วิเคราะห์ SWOT MATRIX โดยท�ำการจับคู่ข้อมูล แต่ละดา้ นลงในตาราง ดังน้ี ปัจจยั ภายใน S1 STRENGTHS – S WEKNESSES – W S2 W1 ปัจจยั ภายนอก S3 W2 ……. W3 ……… OPPORTUNITIES – O S:O ➜ วางกลยทุ ธ์เชิงรุก W:O ➜ วางกลยุทธเ์ ชิงแก้ไข O1 O2 ใชจ้ ุดแข็งและโอกาสสรา้ งประโยชน์ ลดจดุ ออ่ นโดยอาศัยโอกาส O3 ....... THREATS – T S:T ➜ วางกลยุทธ์เชงิ ปอ้ งกนั W:T ➜ วางกลยุทธ์เชงิ รับ T1 T2 ใช้จดุ แขง็ หลกี เลีย่ งอุปสรรค ลดจุดออ่ นและหลีกเลี่ยงอปุ สรรค T3 ...... 1) จุดแข็งและโอกาส (S:O) เพื่อดึงเอาจุดแข็งท่ีมีอยู่มาเสริมสร้างและปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ ต่อกิจการ และมีโอกาสอะไรที่สนับสนุนจุดแข็งนั้น เช่น เรามีความช�ำนาญเส้นทางขนส่ง สินค้าสามารถลดระยะทางการขนส่งได้ และประจวบกับราคาน�้ำมันลดลงท�ำให้โอกาสท�ำก�ำไร มีสงู ข้ึน 2) จุดแข็งและอุปสรรค (S:T) วิเคราะห์ว่าเรามีอุปสรรคอะไรบ้าง และเราจะสามารถใช้จุดแข็ง แก้ไขอุปสรรคน้ันได้อย่างไร เช่น เกษตรกรไม่สามารถควบคุมราคาปัจจัยการผลิตได้ แต่เรา มีการรวมกลุ่มเกษตรกรท่ีเข้มแข็งและมีการวางแผนการผลิตจึงลดต้นทุนการผลิตด้วยการซ้ือ ครัง้ ละมาก ๆ ได้ 3) จุดอ่อนและโอกาส (W:O) วิเคราะห์ว่า มีปัจจัยภายนอกอะไรบ้างท่ีเอื้อโอกาสให้เราแล้ว แต่ถ้าเรายังมีจุดอ่อนนี้อยู่จะท�ำให้เราฉกฉวยโอกาสน้ันไม่ได้ เช่น รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริม ใหป้ ระชาชนหันมาบริโภคผลไม้ไทย แตเ่ ราไม่สามารถผลติ ไดต้ ามมาตรฐานท่ตี ลาดตอ้ งการ 4) จุดอ่อนและอุปสรรค (W:T) วิเคราะห์ว่า มีสภาพแวดล้อมภายนอกอะไรบ้างท่ีเป็นอุปสรรค กับเราและยังกระทบกับจุดอ่อนของเราโดยตรงด้วย เช่น พ้ืนที่ปลูกไม่มีระบบชลประทาน และประสบปญั หา 9คมู่ อื การจัดทำ� แผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

เคร่ืองมือที่ได้ยกตัวอย่างผู้ใช้สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการรวบรวบ และวิเคราะห์ การใช้เคร่ืองมือ หลายอย่างประกอบกันจะชว่ ยใหก้ ารรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะหข์ ้อมูลได้ง่ายขึ้น ดงั นน้ั ผู้ใชต้ ้องท�ำความเข้าใจ เครื่องมือและวิธีการใช้เครื่องมือเหล่านี้ จึงจะสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และช่วยให้เกิดความเข้าใจ สภาพและความเปลยี่ นแปลงของเกษตรกรอย่างแทจ้ รงิ หลกั การวิเคราะห์ศักยภาพของชนิดสนิ ค้าและบรกิ ารดา้ นการเกษตร 1. การวิเคราะหเ์ พอ่ื ทำ� แผนด้านการผลิต เป็นการศึกษาถึงความพร้อมของการผลิตสินค้าเพ่ือให้เกิดความคุ้มค่าและสอดคล้องกับสถานการณ์ของ การลงทุน ซึง่ จะท�ำให้เราทราบวา่ l กิจการจะสามารถด�ำเนินการผลิตได้ราบรนื่ หรือไม่ l มกี ารเลอื กใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมแลว้ หรือไม่ l ตน้ ทนุ การผลติ สามารถแข่งขันกบั คูแ่ ข่งในตลาดไดห้ รือไม่ โดยจะพจิ ารณาถงึ องค์ประกอบต่าง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี 1.1 การเลือกรูปแบบและกรรมวิธีการด�ำเนินการผลิตที่เหมาะสม และความยืดหยุ่นในการปรับเปล่ียน ควรพจิ ารณาในสิ่งท่เี ราชำ� นาญเปน็ ลำ� ดบั แรก 1.2 ขนาดการผลิตหรือก�ำลังการผลิต พิจารณาจ�ำนวนปัจจัยการผลิต เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่ต้องใช้ ปริมาณการผลิตอยู่ในระดับท่ีเกินจุดคุ้มทุน และในระยะยาวควรพิจารณาว่าควรผลิตให้ได้ผลผลิตจ�ำนวนเท่าใด ทจ่ี ะทำ� ใหต้ น้ ทนุ ตอ่ หนว่ ยตำ�่ ที่สุด หรือทเ่ี รยี กว่าเกดิ การประหยัดตอ่ ขนาดการผลิต 1.3 การก�ำหนดท�ำเลท่ีตั้งและก�ำหนดการวางแผนผังแปลง หรือโรงงาน ต้องศึกษาสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ แหล่งน�้ำ เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพในการจัดการ รวมท้ังระบบสาธารณูปโภค การขนส่งและการเก็บรกั ษาผลผลติ /ปจั จยั การผลิตเหมาะสม 1.4 การจดั หาปัจจยั การผลติ พิจารณาจาก 2 คณุ สมบัตแิ ละคณุ ภาพเหมาะสม ราคายุติธรรม 2 มปี รมิ าณมากเพยี งพอ รวบรวมได้ในเวลาท่ีตอ้ งการ 2 มีแหล่งวตั ถุดบิ หลัก แหลง่ วตั ถุดิบสำ� รอง 2 ระยะทางและวธิ ีการขนส่งจากแหลง่ วัตถุดิบถึงแปลงเหมาะสม 2 การเกบ็ รกั ษาขณะรอการใช้งาน 2 ค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการของวัตถุดบิ 1.5 การจัดการก�ำจัดของเสียจากกระบวนการผลิตจะต้องก�ำจัดอย่างไร ใช้ต้นทุนสูงหรือไม่ สามารถ นำ� ไปตอ่ ยอดเปน็ ผลิตภัณฑอ์ ื่นเพื่อจ�ำหน่ายเปน็ ผลพลอยไดไ้ ดห้ รอื ไม่ 10 ค่มู ือการจดั ท�ำแผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

2. การวเิ คราะหเ์ พอื่ ท�ำแผนดา้ นการตลาด เป็นการศึกษาวิเคราะห์ที่จะแสดงถึงกระบวนการ ขั้นตอน หรือกิจกรรมท่ีกระตุ้นความต้องการต่อผู้บริโภค เพื่อกอ่ ให้เกดิ การจำ� หน่ายสนิ คา้ อันเปน็ ท่มี าของรายได้ ซึ่งจะท�ำใหเ้ ราทราบวา่ l แผนธุรกจิ เกษตรของเราจะสามารถนำ� สนิ คา้ เขา้ ส่ตู ลาดไดห้ รือไม่ l สามารถเข้าสกู่ ลมุ่ ลกู คา้ เป้าหมายไดห้ รือไม่ l ตลาดมีความมัน่ คงและยั่งยืนเพยี งใด โดยจะพจิ ารณาถึงองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ดังน้ี 2.1 ข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้างตลาด มีโครงสร้างตลาดเป็นแบบใด จ�ำนวนลูกค้าที่คาดหวัง ขนาดตลาด ความยากง่ายในการเจาะตลาด ความยั่งยืนของผลิตภัณฑ์ในตลาด เป็นต้น โดยขนาดของตลาด หรืออุปสงค์ ดไู ด้จากแนวโนม้ ในอดีตยอ้ นหลัง 3-5 ปี ว่ามกี ารเพม่ิ ขนึ้ – ลดลงอย่างไร สถานการณ์ปัจจบุ นั เปน็ อยา่ งไร ในอนาคต มีโอกาสทางการตลาดอย่างไรบ้าง โดยอาจใช้ตัวเลขที่แสดงอัตราการเจริญเติบโต เปรยี บเทยี บดว้ ย เชน่ รายไดต้ อ่ คน รายไดป้ ระชาชาติ สถติ นิ ำ� เขา้ - สง่ ออก ซงึ่ ตวั เลข เหล่านี้จะได้จากหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐ เช่น ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมศลุ กากร หอการค้าไทย สภาอตุ สาหกรรมไทย เปน็ ต้น นอกจากนี้อาจใชข้ ้อมูล จากผูป้ ระกอบการเองทีท่ �ำธุรกจิ น้นั มาแล้วประกอบการพิจารณาได้ ตัวอย่างเช่น ต�ำบล ก. มี 10 หมู่บ้าน ประชากร รวมประมาณ 2,000 คน (ข้อมูลจากอำ� เภอ) เพ่มิ ขึ้นจากปีทีผ่ ่านมา 200 คน เป็นตน้ 2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับการแข่งขัน จ�ำนวนผู้ผลิตสินค้าประเภทเดียวกันในตลาด ขนาดการผลิต และส่วนครองตลาดของคู่แข่ง อุปทานและแนวโน้ม การน�ำเข้าและแนวโน้ม อุปสงค์และแนวโน้ม สินค้าทดแทน สภาวะการแข่งขันในประเทศ และระดับสากล รวมไปถึง กฎระเบียบเงือ่ นไขทางการคา้ ตัวอย่างเช่น ต�ำบล ก. มีผู้ปลูกมะม่วงน�้ำดอกไม้ 25 คน จ�ำนวนรวม 300 ไร่ มีผลผลิตออกสู่ตลาดช่วงเดือนมีนาคม – กรกฎาคม มีผลผลิตเฉลี่ย 2,500 ตัน/ปี (ข้อมูล จากสำ� นักงานเกษตรอ�ำเภอ) โดยจะขายเหมาสวนใหบ้ รษิ ทั ข. และบริษทั ค. เป็นตน้ 2.3 ขอ้ มูลเก่ยี วกับส่วนประสมการตลาด (Marketing Mix) ไดแ้ ก่ 2.3.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์หลกั ผลติ ภัณฑร์ อง และผลิตผลพลอยได้ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ลกั ษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ ตราสนิ คา้ การบรรจภุ ัณฑ์ มาตรฐานสินคา้ 2 สินค้า/ผลิตภณั ฑ์ของเราคอื อะไร 2 ลักษณะทั่วไปของสินค้าหรือบริการ จะต้องอธิบายถึงลักษณะของผลผลิต ได้แก่ ลักษณะ การใชง้ าน คุณภาพ อายกุ ารใชง้ าน ขนาด สี รปู ทรง ฯลฯ มภี าพรวมอยา่ งไรเม่ือเปรียบเทยี บ ผลผลิตหรือบริการประเภทเดียวกับของผู้ผลิตรายอ่ืน สินค้าทดแทนกันได้ รวมทั้งต้องใช้ ควบคูก่ ับสินคา้ อะไรบ้าง ตลอดจนลกั ษณะรปู รา่ งผลิตภณั ฑ์ และลกั ษณะบรรจุภัณฑ์ 2 ชื่อทางการค้าและตราย่ีห้อ ควรเกีย่ วข้องกบั ลักษณะธรุ กิจน้ันและตอ้ งแสดงดว้ ยภาพได้ 11คู่มือการจัดท�ำแผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

2.3.2 ราคา (Price) เช่น การก�ำหนดราคาแต่ละระดับขายส่ง ขายปลีก การให้เครดิตทางการค้า การเรียกเกบ็ เงนิ คา่ สนิ คา้ การใหส้ ่วนลด โดยทั่วไปสามารถต้งั ราคาสินค้าได้จาก 3 วธิ ีหลกั ดังน้ี (1) ต้ังราคาจากตน้ ทุนบวกก�ำไรทีต่ ้องการ (2) ตง้ั ราคาตามคู่แขง่ (3) ตัง้ ราคาตามความต้องการของตลาด นอกจากน้ี การต้ังราคาสินคา้ ท่ีลงท้ายด้วยเลข 9 จะมีอทิ ธิพลตอ่ การตัดสินใจซ้อื สินคา้ ไดม้ ากขึ้น เช่น ส้มโอผลละ 159 บาท เปน็ ต้น 2.3.3 การจัดจ�ำหน่ายหรือช่องทางการกระจายสินค้า (Place) การเลือกช่องทางจ�ำหน่าย (จ�ำหน่าย โดยตรงร้อยละเท่าใด จ�ำหน่ายผ่านตัวแทนร้อยละเท่าใด) การขนส่ง การส่งมอบ จุดวางขาย คลังสนิ ค้า 2.3.4 การส่งเสริมการตลาด (Promotion) พฤติกรรมผู้บริโภคและแนวโน้มของการเปล่ียนแปลง การโฆษณา การขายโดยพนักงาน การส่งเสริมการขาย การประชาสัมพันธ์ การขายตรง ซึ่งการส่งเสริมการขายเป็นการท�ำให้สินค้าของเราเป็นท่ีสนใจต่อลูกค้า เช่น การลดราคาเป็น ครง้ั คราว การแถมสินคา้ การใหส้ ว่ นลดเพิ่มตามจ�ำนวนสินคา้ การให้สนิ คา้ ทดลอง เปน็ ต้น 2.4 กลุ่มลูกค้า เป็นการบอกถึงกลุ่มเป้าหมายที่คาดว่าจะซื้อผลผลิตของเราว่าคือใคร เพศ อายุ รายได้ เป็นอยา่ งไร มาจากทีใ่ ด และมกี �ำลงั ซอ้ื เทา่ ใด โดยแบง่ ลูกคา้ ออกเปน็ 3 กลุ่ม (ข้อมลู พนื้ ฐาน พืน้ ที่ และพฤติกรรม) การวเิ คราะหก์ ลุม่ ลูกคา้ เป้าหมาย มีความจ�ำเป็นอยา่ งยงิ่ ตอ่ การอยรู่ อดของกจิ การ เนอ่ื งจากเปน็ ทม่ี าของรายได้ 2.5 ส่วนแบ่งการตลาด เนื่องจากปัจจุบันการแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรค่อนข้างสูง ลูกค้าสามารถ เลือกซ้ือสินค้าของใครก็ได้ จึงต้องมีการตั้งเป้าหมายว่าจะมีส่วนแบ่งเท่าใดจากจ�ำนวนสินค้าทั้งหมด ในตลาด โดยท่ัวไปก�ำหนดเป็นร้อยละ ซึ่งต้องวิเคราะห์ตลาดทั้งระบบว่าผู้ผลิตรายใหญ่สุดและรองลงมาเป็นใคร ถ้าเราจะ เข้าไปมีส่วนแบ่งในตลาดเราดึงลูกค้าจากตลาดส่วนใด เพื่อทราบว่าจะมีรายได้จากการขายผลผลิตได้มากพอหรือไม่ หากมากพอ จะต้องเตรียมขยายกำ� ลังการผลติ ในปีต่อ ๆ ไปอย่างไร 3. การวเิ คราะห์เพื่อท�ำแผนด้านการจดั การบคุ คล เป็นการแสดงให้เห็นถึงความสมั พนั ธ์ของงาน และสายการบังคบั บญั ชาและการปฏิบตั ิงาน การก�ำหนดหนา้ ท่ี ความรับผิดชอบ ตลอดจนการจัดคนเข้าท�ำงานโดยการก�ำหนดคุณสมบัติของคนงานในต�ำแหน่งต่าง ๆ ซึ่งพิจารณา จากวฒุ ิการศึกษา ประสบการณท์ �ำงาน เปน็ ตน้ จากการวเิ คราะหจ์ ะทำ� ให้เราทราบรายละเอยี ด ดงั น้ี l กิจการจะสามารถจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพในการทำ� งานหรือไม่ l กจิ การมีคุณภาพในการจดั การองค์กรหรอื ไม่ ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อการวิเคราะห์การจัดการ เช่น ระบบการท�ำงาน โครงสร้างกลุ่ม/องค์กรและการจัดการ ภายใน ขอบเขตและหน้าท่ีในการท�ำงาน การฝึกอบรมบุคลากร การจัดการผลตอบแทนและสวัสดิการสมาชิก หรือ คนงาน เปน็ ต้น ในกรณีทเี่ ปน็ เกษตรกรรายเดีย่ วหรือเป็นกจิ การในครอบครัว จะใชข้ อ้ มลู ในการวิเคราะหค์ ล้าย ๆ กัน แต่จะปรับการมอบหมายหน้าท่ีเป็นการแจกแจงงานว่าตนเองหรือคนในครอบครัวใครท�ำหน้าท่ีอะไรบ้าง มีความรู้ ความเขา้ ใจในงานทต่ี นเองทำ� มากนอ้ ยเพยี งใด และต้องพฒั นาในเรอ่ื งใด เป็นต้น 12 คู่มือการจดั ท�ำแผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

4. การวเิ คราะหเ์ พ่อื ทำ� แผนด้านการด�ำเนินกจิ การ เป็นการน�ำข้อมูลข่าวสารมาพิจารณาว่าองค์กรจะสามารถด�ำเนินธุรกิจไปในทิศทางใด โดยต้องก�ำหนด และปรับกลยุทธ์ หรือวิธีการด�ำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา เพ่ือให้ด�ำเนิน กิจการไดแ้ ละบรรลุวัตถปุ ระสงค์ทก่ี �ำหนดไว้ ซง่ึ จะตอ้ งวิเคราะห์จากปจั จัยทเี่ กย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ 1) ปจั จยั ภายใน ได้แก่ ตัวเกษตรกรเอง ด้านการจัดการ ดา้ นการตลาด และดา้ นการเงินและการบญั ชี 2) ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการแข่งขัน ด้านทรัพยากร ด้านเทคโนโลยี ด้านนโยบาย และระเบียบกฎหมาย ผลการวิเคราะห์จะท�ำให้เกษตรกรสามารถวางกลยุทธ์หรือวิธีการท่ีจะสร้างโอกาสหรือรับมือกับสถานการณ์ ทเี่ ปน็ อุปสรรคต่อกจิ การได้ 5. การวเิ คราะหเ์ พ่อื ทำ� แผนดา้ นการเงนิ การเงินเป็นปัจจัยส�ำคัญในการด�ำเนินกิจการ และสามารถเป็นตัวชี้วัด ความสามารถในการบริหารจัดการการท�ำการเกษตรของเราว่าประสบผลส�ำเร็จ หรือไม่ รวมทั้งเป็นส่วนส�ำคัญในการพิจารณาจากสถาบันการเงินในกรณี ท่ีประสงค์จะกู้เพื่อน�ำมาลงทุนอีกด้วย ผลการวิเคราะห์จะให้ค�ำตอบว่า เกษตรกรจะสามารถสร้างความคุ้มค่าในการลงทุนเพียงใด ข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อ การวิเคราะห์ ได้แก่ การประมาณการเงินลงทุนกิจการ การคาดคะเน รายได้และรายจ่ายจากการด�ำเนินกิจการ และงบการเงินประเภทต่าง ๆ ท่ีเกษตรกรควรทำ� ความเขา้ ใจ 3 ประเภท คอื 1) งบประมาณก�ำไร - ขาดทุน แสดงถึงผลการด�ำเนินงาน (ก�ำไรหรือขาดทุน) ส�ำหรับงวดระยะเวลาหน่ึง มีเงินสด หรอื เงนิ คา้ งจากรายไดห้ รอื รายจา่ ยจากกจิ การทดี่ ำ� เนนิ การ 2) งบประมาณกระแสเงินสด แสดงการเคลื่อนไหวของเงินสดเข้าและออกของกิจการ ส�ำหรับระยะ เวลาหนึ่ง ท�ำให้ทราบถึงสิ่งท่ีเช่ือมโยงและกระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน การลงทุน และการจัดหาเงินทนุ 3) งบประมาณงบดุล แสดงถึงเงนิ สด ลกู หนก้ี ารคา้ สนิ คา้ และบริการ เงินจา่ ยล่วงหน้า ลกู หน้ีคา้ งช�ำระอืน่ ๆ สินค้าคงคลัง วตั ถดุ ิบทางตรง งานระหว่างทำ� สินทรัพยถ์ าวร สนิ ทรัพยท์ นุ (เคร่ืองจกั ร อาคาร โรงงาน) สินทรัพยไ์ มม่ ตี ัวตน และสินทรัพยถ์ าวรอน่ื ๆ ** ในขัน้ ตน้ เกษตรกรสามารถจดั ทำ� บญั ชรี บั – จา่ ยอยา่ งง่ายได้ ตามหลกั การทำ� บญั ชีฟารม์ ของกรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ ** 13คู่มือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

6. ปัญหาในการวเิ คราะห์โครงการทางธรุ กิจการเกษตร (แผนฉุกเฉิน) เป็นการบอกถึงหากเกิดการผิดพลาดหรือไม่ได้คาดการณ์ไว้ กล่าวคือ ถ้าไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ยังมี แผนอื่นมารองรับท่ีจะท�ำอะไรต่อไปได้กับกิจการนี้ อาทิเช่น การปลูกพืชหลัก พืชรอง การเตรียมแหล่งน้�ำฉุกเฉิน หากเกิดภัยแล้ง หรือภาวะผันผวนของเศรษฐกิจ เป็นต้น ตัวอย่างของประเด็นความเส่ียงและการเตรียมความพร้อม ทคี่ วรระบไุ วใ้ นแผนฉุกเฉิน อาทิเชน่ l ยอดขายไม่ได้ตามคาดหมาย ทำ� ใหเ้ งนิ สดหมุนเวยี นขาดสภาพคลอ่ งและธนาคารไมอ่ นมุ ัตสิ ินเชอื่ l คู่แขง่ ตดั ราคาหรอื จัดกิจกรรมส่งเสริมการขายอย่างตอ่ เนอ่ื งระยะยาว l มีคูแ่ ขง่ รายใหมท่ ส่ี ามารถผลิตผลผลิตได้ในตน้ ทุนท่ตี �่ำกว่าและมคี ณุ ภาพระดบั เดียวกบั เรา l ผลิตไม่ทนั ตามคำ� สัง่ ซอ้ื เน่ืองจากขาดแคลนวตั ถุดบิ l ผลผลติ มากจนเกินไปไมส่ ามารถจดั หาสถานทีเ่ ก็บได้เพียงพอ l ตน้ ทุนการผลติ /การจดั การสงู กว่าทค่ี าดไว้ l มีปญั หากบั สมาชิกกลุ่มหรือเครือขา่ ยจนไม่สามารถรว่ มงานกนั ได้ เมื่อได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์แล้ว ให้เกษตรกรรวบรวมและจัดกลุ่มข้อมูลตามแบบจัดเก็บข้อมูลเพื่อท�ำ แผนการผลิตรายบุคคล (แบบ IFPP) ซ่ึงจะเป็นแผนธุรกิจอย่างง่ายท่ีไม่ได้มีรายละเอียดมากนัก หากเกษตรกร ต้องการขยายผลการวิเคราะห์เพ่ือขอสินเช่ือจากสถาบันการเงิน จะต้องเขียนแผนธุรกิจที่มีรายละเอียดมากข้ึน เพ่ือให้ผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจพิจารณาในการให้สินเช่ือต่อไป จากน้ันให้เกษตรกรเก็บแบบ IFPP ไว้เป็นแนวทาง ในการด�ำเนินงานของตนเอง เพ่ือให้เกษตรกรสามารถควบคุมก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน รวมทั้งควบคุมค่าใช้จ่าย ให้เป็นไปตามงบประมาณท่ีก�ำหนดไว้ตามเป้าหมายการด�ำเนินกิจการของเกษตรกรแต่ละราย ซึ่งอาจมี 1 เป้าหมาย หรือมากกว่า และสำ� เนาไวท้ ่ีส�ำนักงานเกษตรอำ� เภอ 1 ชดุ เพือ่ เป็นขอ้ มลู พนื้ ฐานสำ� หรบั การวิเคราะหใ์ นการจัดทำ� แผนพัฒนาการเกษตรประจำ� ตำ� บลให้ตรงตามความต้องการของพื้นที่และเกษตรกรต่อไป ใชแ้ บบ IFPP 1 ชดุ ต่อผลผลิต/ผลติ ภัณฑ์เป้าหมายหลัก ทต่ี ้องการดำ� เนินการ 1 ชนดิ หากต้องการพฒั นา สนิ ค้าเปา้ หมาย 3 ชนิด ตอ้ งใช้แบบ IFPP 3 ชดุ 14 คู่มอื การจดั ท�ำแผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

แผนผังขนั้ ตอนการจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP) รวบรวมขอ้ มูล (คน - ตัวพืช/สนิ คา้ - พน้ื ที/่ สิง่ แวดลอ้ ม) ปจั จัยภายใน ปัจจยั ภายนอก l เป้าหมายการทำ� ธรุ กิจการเกษตรของเราคืออะไร l ใครเปน็ คูแ่ ข่งของเรา l เรามคี วามรู้ ความถนัดด้านใด l ใครเปน็ ผ้ซู ื้อ หรือเปน็ ลูกค้าของเรา l เราจะผลิตอะไร l เราอยูใ่ นธุรกิจประเภทใด l เรามีจำ� นวนเงนิ ลงทุนเท่าใด l ตลาดหรือแหลง่ จ�ำหน่ายเราของอย่ไู หน l สินคา้ ของเราแตกต่างจากผูผ้ ลติ รายอนื่ อยา่ งไร l ท�ำเลท่ตี ้งั แปลงของเราอยทู่ ี่ใด l ตน้ ทนุ การผลิตเป็นเท่าใด l มสี าธารณูปโภคอะไรบา้ ง l เราจะขายสินค้าหรอื ให้บริการอย่างไร l ใชแ้ รงงานจากที่ใด l แผนการขายเปน็ อยา่ งไร มีผลผลิตออกในชว่ งใด l มีกฎหมาย หรือระเบียบอะไรทีเ่ ก่ียวข้อง l ประมาณการยอดขายเปน็ อยา่ งไร l ชมุ ชนใกลเ้ คียงเป็นอยา่ งไร l เราจะจัดองค์กรเพอ่ื บริหารธรุ กจิ อยา่ งไร l หากประสบปัญหาจะแกไ้ ขอย่างไร หรือ จะขอความชว่ ยเหลือจากทีใ่ ด เลือกกจิ การ ก�ำหนดเปา้ หมาย/วัตถุประสงค์ของกจิ การ จดั ท�ำแผน/รายละเอียดการดำ� เนินงาน การผลิต การตลาด การจัดการบคุ คล การด�ำเนินกจิ การ การเงนิ แผนฉุกเฉนิ สรปุ ประเดน็ และวิเคราะหข์ ้อมลู แผนการผลิตรายบคุ คล (แบบ IFPP) ให้เกษตรกรเกบ็ ไว้ 1 ชุด (Individual Farm Production Plan – IFPP) สำ� เนาไว้ที่ส�ำนกั งาน เกษตรอำ� เภอ 1 ชุด 15คมู่ อื การจัดทำ� แผนการผลิตรายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

การประยุกตใ์ ช้แบบ IFPP สู่แผนการผลติ รายกลุ่ม ปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มท�ำการผลิต มีการบริหารจัดการ ร่วมกัน ทั้งในรูปของกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร แปลงใหญ่ วิสาหกิจชุมชน หรือสถาบัน เกษตรกรอ่ืน ๆ เพ่ือให้เกิดการรวมกันผลิต รวมกันจ�ำหน่าย มีตลาดรองรับท่ีแน่นอน สามารถลดต้นทุนและ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตได้มากขึ้น ซึ่งในการด�ำเนินกิจกรรมของกลุ่มต่าง ๆ จำ� เป็นต้องมีการวางแผนการผลิต รายกลุ่มเช่นเดียวกับแผนการผลิตรายบุคคลของเกษตรกร และสามารถใช้แบบฟอร์มเดียวกันได้ (แบบ IFPP) แต่ข้อมูลท่ีใช้จะต้องรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลจากสมาชิกแต่ละรายในลักษณะกิจกรรมภาพรวมของกลุ่ม หรือ เปน็ ค่าเฉลี่ยของสมาชกิ สว่ นใหญ่ เชน่ l กล่มุ ผูป้ ลูกมะมว่ งต�ำบล ก. มีสมาชิก 4 คน คอื นาย ข. ปลูกมะมว่ งนำ้� ดอกไมส้ ที อง 10 ไร ่ ผลผลติ 5 ตัน เฉลย่ี 0.5 ตัน/ไร่ นาย ค. ปลูกมะม่วงน�้ำดอกไม้สที อง 5 ไร่ ผลผลิต 3 ตัน เฉลย่ี 0.6 ตนั /ไร่ นาย ง. ปลกู มะมว่ งนำ้� ดอกไมส้ ีทอง 7 ไร่ ผลผลิต 4 ตัน เฉลยี่ 0.57 ตัน/ไร่ นาง จ. ปลกู มะมว่ งนำ้� ดอกไม้สีทอง 8 ไร ่ ผลผลติ 4 ตัน เฉลี่ย 0.5 ตัน/ไร่ รวม พน้ื ท่ี 30 ไร่ ผลผลิต 16 ตนั คิดเป็นผลผลติ เฉลี่ยของกลุ่ม 0.53 ตัน/ไร่ ดงั นน้ั ขอ้ มูลทใ่ี ชใ้ นการวางแผนการผลิตรายกล่มุ จงึ เปน็ ขอ้ มลู รวมของสมาชกิ ในกรอบสเี่ หล่ยี มข้างตน้ นอกจากนี้ หากแผนการผลติ รายกล่มุ เกิดการมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกทุกคนอยา่ งแทจ้ ริง มีการรว่ มกนั ให้ข้อมลู อย่างถูกต้อง โปร่งใส และระบุถึงส่ิงที่จะด�ำเนินการต่าง ๆ อย่างชัดเจน ก็จะเป็นเหมือนกับข้อตกลงในการปฏิบัติ ของกลุ่มกับผู้เก่ียวข้อง ว่าจะด�ำเนินการอะไรบ้าง มีการตัดสินใจใด ๆ ท่ีส่งผลผูกพันหรือมีผลกระทบกับสมาชิก ซ่ึงจะ เป็นการช่วยลดความขัดแย้งระหว่างผู้เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี เน่ืองจากแผนฯ ได้ระบุถึงสิ่งต่าง ๆ ที่จะด�ำเนินการ ไว้แล้ว ซึ่งถ้าสมาชิกได้รับทราบล่วงหน้าย่อมจะท�ำให้สามารถคาดการณ์ถึงผลลัพธ์ หรืออนาคตได้ครอบคลุม และแม่นย�ำข้ึนไม่ว่าจะเป็น ยอดขาย รายได้ จ�ำนวนลูกค้า ผลก�ำไร ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ภาระหน้ีสิน เป็นต้น แผนการผลติ รายกลุ่มจึงถือวา่ เป็นข้อตกลงระหว่างกันและชว่ ยลดความขดั แย้งได้ “แผนการผลติ รายบคุ คล หรอื แผนการผลิตรายกลุ่ม จะตอ้ งผ่านกระบวนการในการคิดอยา่ งถกู ต้อง รอบคอบ รัดกุม และมกี ารปฏบิ ตั หิ รอื ดำ� เนนิ การตามสิ่งที่ได้วางแผนไวว้ า่ จะด�ำเนนิ การอะไร เม่อื ใด โดยใคร ในเวลาใด ซง่ึ โดยส่วนใหญ่ปัญหาทพ่ี บ คือ แมว้ า่ จะไดม้ ีการจดั ทำ� แผนมาเป็นอย่างดี แตก่ ลบั ไมน่ ำ� สิ่งท่ีวางแผนไวม้ าด�ำเนนิ การ ท�ำให้ประสบปญั หาท่ยี ากตอ่ การแก้ไข หรอื เสียคา่ ใชจ้ ่าย ในการแก้ไขปญั หาดังกล่าวเป็นมูลคา่ สงู โดยเฉพาะเรอื่ งการบรหิ ารจัดการด้านการเงิน เช่น การบรหิ ารเงินสด การควบคมุ ตน้ ทุนและคา่ ใชจ้ า่ ย เป็นตน้ ดงั นนั้ ควรตระหนักอยเู่ สมอวา่ แผนการผลิตรายบคุ คล หรือแผนการผลติ รายกลมุ่ จะมีประโยชนอ์ ยา่ งแท้จรงิ ก็ต่อเมอื่ ได้น�ำแผนนัน้ มาปฏบิ ตั ติ ามที่ได้วางแผนไว”้ 16 ค่มู อื การจัดทำ� แผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

ภาคผนวก 17ค่มู อื การจัดท�ำแผนการผลติ รายบุคคล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

18 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

19คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

20 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

21คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

22 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

23คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

24 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

25คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

26 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

27คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

28 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

29คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

30 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

31คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

32 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

33คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

34 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

35คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

36 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

37คู่มอื การจดั ทำ� แผนการผลติ รายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

38 คูม่ ือการจดั ทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan – IFPP)

คณะผจู้ ัดท�ำ ค่มู อื การจัดทำ� แผนการผลิตรายบคุ คล (Individual Farm Production Plan - IFPP) ที่ปรกึ ษา นายสมชาย ชาญณรงค์กลุ อธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การเกษตร วา่ ทีร่ อ้ ยตรี ดร.สมสวย ปัญญาสิทธิ์ รองอธิบดีกรมสง่ เสริมการเกษตร นางสาวภาณี บณุ ยเกื้อกูล ผอู้ �ำนวยการกองพัฒนาเกษตรกร เรยี บเรยี งข้อมูล/จัดทำ� นางสาวสุพศิ เหล่าจตุรพิศ นกั วชิ าการส่งเสริมการเกษตรช�ำนาญการพิเศษ รักษาการผู้อ�ำนวยการกล่มุ พฒั นาเกษตรกร และอาสาสมัครเกษตร นางสวุ ิสาข์ คนเจน นกั วิชาการสง่ เสริมการเกษตรช�ำนาญการ นางสาวจิรวดี พรดั จลุ นักวิชาการส่งเสรมิ การเกษตรปฏิบัตกิ าร นางสาววลัยกร นครไธสง นักวชิ าการส่งเสริมการเกษตรปฏบิ ัตกิ าร นางสาวขวัญใจ เสง็ เอยี่ ม นักวชิ าการส่งเสรมิ การเกษตรปฏิบตั ิการ นายณฐั กลุ บญุ วงศ ์ นักวิชาการสง่ เสริมการเกษตรปฏบิ ัติการ นางสาววัชรา ทองพันธ ุ์ นกั วิชาการส่งเสรมิ การเกษตร