การพัฒนาทย่ี ่งั ยืน (Environmental Education Sustainable Development: EESD) ๔) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมการอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดล้อม และการ ประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเนื่อง ๖. พฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี นที่มีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ๑. ตัวชวี้ ดั ๑) ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานของแตล่ ะระดับ ๒) ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการพัฒนาด้านทักษะ อาชีพ ทกั ษะการดารงชวี ติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตสาธารณะ ๓) ร้อยละของผู้เรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับการส่งเสริมให้มี ความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ อาทิ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และเทคโนโลยี เป็นต้น ๒. แนวทางการดาเนนิ การ ๑) ให้บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิม (Early Intervention: EI) ท่ีศูนย์การศึกษา พเิ ศษหน่วยบริการและท่บี ้านอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๒) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาการจัดการศึกษาสาหรับผเู้ รยี นทมี่ ี ความต้องการจาเปน็ พิเศษ ด้วยระบบและรูปแบบที่หลากหลาย ๓) สง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาในโรงเรยี นเรยี นรวมและศูนยก์ ารเรียนเฉพาะ ความพิการ ๔) ปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ ๕) สง่ เสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมเพอื่ พฒั นาทักษะการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร การ คิดคานวณ การคิดวเิ คราะห์ และการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ ๖) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาทักษะอาชพี ทักษะการ ดารงชวี ติ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม จติ สาธารณะและการดารงชีวติ ทีเ่ ป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๗) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดารฯิ ๘) สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้ผู้เรียนมีทัศนคตทิ ี่ถกู ตอ้ งต่อการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๙) ส่งเสรมิ สนับสนนุ การใชส้ ื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารอย่างถูกต้อง เหมาะสม และสร้างสรรค์ ๑๐)ส่งเสริม สนบั สนนุ เทคโนโลยี สิง่ อานวยความสะดวก สือ่ บริการ และความ ชว่ ยเหลอื อ่นื ใดทางการศึกษา
๑๑)ส่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รียนท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พิเศษ ท่มี คี วามสามารถพเิ ศษ ในด้านวชิ าการ ดนตรี กฬี า ศิลปะ และอนื่ ๆ เพ่ือยกระดบั สู่ความเป็นเลิศพรอ้ ม กา้ วสู่สากล ๑๒) ส่งเสริม สนับสนุนการนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน ๑๓) จัดใหม้ ีระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการ ๑๔) จัดให้มีกลุ่มงานระบบประกันคุณภาพในสานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษามรี ะบบประกนั คุณภาพภายในทเี่ ข้มแข็ง๑๕) ๑๕) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาจัดทา รวบรวม ผลติ พฒั นา และเผยแพร่ ส่ือ นวตั กรรม งานวิจยั ทางการศึกษา ๑๖) สารวจสภาพอาคารสถานท่ี และสง่ิ แวดลอ้ มในสถานศึกษา จดั ทาผังบรเิ วณ จดั ทาแบบรูปและรายการสง่ิ ก่อสร้าง ๑๗) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้มีแนวทางปฏบิ ัติ และมาตรการรักษาความปลอดภัยของ สถานศกึ ษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๑๘) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้เครือขา่ ยสง่ เสริมประสิทธิภาพและกลุ่มสถานศึกษา ขบั เคลื่อน การจัดการศึกษาให้มีประสทิ ธภิ าพ ๑๙) ส่งเสรมิ สนบั สนุน การดาเนินงานของคณะอนุกรรรมการส่งเสริมการจดั การศึกษา สาหรบั คนพิการจังหวัด ๒๐) สง่ เสริม สนับสนุนสถานศึกษาร่วมมอื กับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรปกครอง ในพืน้ ท่ี พฒั นาระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นและระบบแนะแนวใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ ๒๑) ส่งเสริม สนับสนุนการจดั สภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรู้ให้เอื้อต่อการจดั การศึกษา ๕. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา นา Digital Technology มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ ผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนัด สร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge-Based Society) เพือ่ การเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ ๑. ตัวชวี้ ดั ๑) ร้อยละของผเู้ รียนท่เี รยี นรู้ผ่าน Digital Platform ๒) ร้อยละของสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรู้เพื่อให้พัฒนาตนเองผ่าน Digital Platform ๒. แนวทางการดาเนนิ การ ๑) พัฒนาระบบคลงั ข้อมลู องค์ความรู้ เพือ่ ให้บริการ Digital Textbook ตามเน้ือหาหลกั สตู รทก่ี าหนด สอ่ื วดิ ีโอ และองคค์ วามรปู้ ระเภทตา่ ง ๆ และ
ให้บริการแกผ่ เู้ รยี นใหก้ ารพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ ๒) พฒั นา Digital Platform เพือ่ ตอบสนองตอ่ การพฒั นาการเรยี นรู้ของผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล ๓) สถานศกึ ษาสนับสนนุ สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนเรียนร้ดู ว้ ยตนเองผ่าน Digital Platform ยทุ ธศำสตรท์ ี่ ๓ พัฒนำผูบ้ ริหำร ครู และบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ เป้ำประสงค์ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท เป็นบคุ ลากรทีม่ คี ุณภาพ มีประสิทธภิ าพ เปน็ มืออาชพี และมที กั ษะวิชาชีพข้นั สูง ประเด็นกลยุทธ์ ๑. สร้างเครือข่ายความรว่ มมือกับสถาบันทางการศึกษาท่ผี ลิตครู ในการผลติ และพฒั นาครู ให้ตรงกบั สาขาวชิ า และสอดคลอ้ งกับการพัฒนาในศตวรรษที่ ๒๑ ตัวชว้ี ดั ๑) สถานศึกษามแี ผนความตอ้ งการครรู ะยะ ๒๐ ปี ๒) สถานศกึ ษามีกรอบสมรรถนะครูทีส่ อดคลอ้ งกบั การพฒั นาในศตวรรษท่ี 21 และ สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนท่ี ๓) สถานศึกษาทุกแหง่ มจี านวนครอู ย่างเหมาะสม และพอเพียงตอ่ การพัฒนา คุณภาพของผเู้ รยี น แนวทางการดาเนนิ การ ๑) ประสานความรว่ มมือกับสถาบันการศกึ ษาในการวเิ คราะห์ความขาดแคลน และ ความตอ้ งการครู ๒) ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในการกาหนดสมรรถนะครู ใหส้ อดคล้องกบั การพัฒนาในศตวรรษท่ี ๒๑ ๓) ประสานความร่วมมือ ในการวางแผนในการผลิตครูทัง้ ระบบ ๔) สถาบันการศกึ ษาผลิตครตู ามความต้องการและความขาดแคลนครูระยะ๒๐ปี ๕) ประสานความร่วมมอื ติดตาม ประเมินผล การผลิตครู ๒. พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ให้มีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ มีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ตัวชวี้ ัด ๑) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มีศักยภาพในการ ปฏิบัติงานครบตามความจาเป็น ในการจดั การเรยี นร้อู ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๒) ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผลอย่างมีคุณภาพในรูปแบบท่ี หลากหลาย ตามศักยภาพของผู้เรยี นแตล่ ะบคุ คล
แนวทางการดาเนินการ ๑) ศึกษาวเิ คราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นาตนเอง (Need Assessment) ของผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือวางแผนการพัฒนาอย่างเปน็ ระบบและครบวงจร ๒) กาหนดกรอบและวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร ทางการศึกษา ให้เชื่อมโยงกบั ความกา้ วหน้าในวชิ าชพี (Career Path) ๓) ประสานกับสถาบันการศึกษา สถาบันคุรุพัฒนา หรือหน่วยงานอื่น ๆ จัดทา หลักสตู รทม่ี คี ุณภาพใหส้ อดคล้องกับกรอบหลักสตู รท่กี าหนด ๔) สนับสนุนให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเข้ารับการ พัฒนาตามหลักสูตรท่ีกาหนดท่ีเชื่อมโยงความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Path) ๕) ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) ๖) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้ออกแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้อง กับการวัดประเมินผลท่ีเน้นทักษะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking) ผา่ นกิจกรรมการปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning) ๗) ส่งเสริมและพัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ให้มี ความรู้ทักษะด้าน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะส่ือสาร ภาษาองั กฤษ ทกั ษะส่อื สารภาษาท่ี ๓ ๘) ส่งเสริมพัฒนาและยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดย ใช้ระดบั การพฒั นาทางดา้ นภาษา (CEFR) ตามเกณฑ์ทีก่ าหนด ๙) ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้สาหรับ ผู้เรยี นทมี่ คี วามแตกต่าง (Differentiated Instruction) ๑๐)ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะในการสร้างเคร่ืองมือการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะการคดิ ขั้นสงู (Higher Order Thinking) ๑๑)ส่งเสรมิ และพฒั นาครแู ละผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก ใหม้ ีความรู้ความสามารถจัดการเรยี นรเู้ ป็นรายบุคคล และการสอนแบบคละ ช้นั ๑๒)ส่งเสริมและพัฒนาครูในการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการ จาเป็นพิเศษ ตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล และตามสภาพและ ประเภทของความพิการ ๑๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูพัฒนาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training
๑๔)ปรับเปลี่ยนกระบวนการวิธีการประเมินครู โดยเน้นการประเมินสมรรถนะ ในการจัดการเรียนการสอนโดยผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนเป็นหลัก และประเมิน จรรยาบรรณของครู ทุก ๆ ๕ ปี (ประเมิน ๓๖๐ องศา) ๓. นา Digital Technology มาใช้ในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททัง้ ระบบ ตัวช้ีวดั ๑) สถานศกึ ษา และหน่วยงานในสังกัดทกุ แห่งมีระบบฐานข้อมูลผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพ่ือวางแผนการผลติ และพัฒนาครูทง้ั ระบบ ๒) รอ้ ยละของบุคลากรในสงั กัดที่พัฒนาตนเองผ่านระบบ Digital technology ๓) รอ้ ยละของ Digital Content เก่ียวกบั องคค์ วามรใู้ นสาขาทีข่ าดแคลน แนวทางการดาเนินการ ๑) พฒั นา Digital Platform เพือ่ ใช้ในการพฒั นาผบู้ รหิ าร ครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษาทุกประเภททั้งระบบ ๒) พัฒนา Digital Platform ระบบบรหิ ารจัดการผบู้ รหิ าร ครู และบุคลากร ทางการศึกษาทุกประเภทท้ังระบบ ๓) พัฒนา Digital Content ในองค์ความรู้การจดั การศึกษาในสาขาท่ีขาดแคลน เชน่ การพฒั นาทักษะการคดิ ขน้ั สูง การจัดการศึกษาสาหรับผเู้ รียนทีม่ ีความ ต้องการจาเป็นพเิ ศษ และผู้เรียนท่ีมคี วามแตกตา่ ง เปน็ ตน้ ๔) สง่ เสรมิ สนบั สนุน ให้ผู้บรหิ าร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภท พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องผ่านระบบ Digital Technology ยทุ ธศำสตรท์ ่ี ๔ สร้ำงโอกำสในกำรเข้ำถึงบริกำรกำรศึกษำที่มีคุณภำพ มีมำตรฐำน และลดควำมเหล่ือมล้ำ ทำงกำรศกึ ษำ เป้ำประสงค์ สร้างโอกาสให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงการบริการการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานเสมอ กนั และลดความเหลอ่ื มลา้ ด้านการศึกษา ประเดน็ กลยุทธ์ ๑. รว่ มมอื กับองค์กรปกครองระดับท้องถ่ิน ภาคเอกชน หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องในการจดั การศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับบริบทของพ้นื ที่ ตัวช้วี ัด ๑) ร้อยละของเด็กวยั เรียนทเี่ ข้ารับการศกึ ษาในแต่ละระดับการศกึ ษา ๒) รอ้ ยละของนักเรียนออกกลางคนั
๓) รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่มรี ะบบการดูแลช่วยเหลอื และคมุ้ ครองนักเรยี นและการ แนะแนวทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ๔) ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีมีระบบฐานข้อมลู ประชากรวัยเรียนและสามารถ นามาใชใ้ นการวางแผนจดั การเรยี นรใู้ ห้แกผ่ เู้ รียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แนวทางการดาเนินการ ๑) สถานศึกษารว่ มกับองค์กรปกครองระดับพนื้ ที่ ภาคเอกชน และหนว่ ยงาน ทเี่ กี่ยวข้อง วางแผนการจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของพ้นื ที่ ๒) สถานศึกษารว่ มกบั องค์กรปกครองระดบั พื้นท่ี จัดทาสามะโนประชากรวัยเรียน (๐– ๖ ปี) ๓) สถานศกึ ษาร่วมมือกับองค์กรปกครอง ชุมชน เอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระดบั พน้ื ท่ี จดั ทาแผนการนักเรยี นทุกระดับ ๔) สถานศึกษาร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นท่ี ติดตาม ตรวจสอบ เดก็ วัยเรียนได้ เขา้ ถึงการบรกิ ารการเรียนรไู้ ด้อยา่ งทั่วถึง ครบถว้ น ๕) สถานศึกษาจดั ทาฐานขอ้ มลู ประชากรวยั เรียน เพื่อเก็บรวบรวม เชอื่ มโยงขอ้ มลู ศกึ ษา วิเคราะห์ เพ่ือวางแผนการจดั บริการการเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รียน ๒. ยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดับ และทุกประเภท ให้มีมาตรฐานตามบริบทของพื้นที่ เพ่อื ใหพ้ ัฒนาผู้เรียน มีคณุ ภาพ มีมาตรฐานเสมอกัน ตวั ชี้วดั ๑) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษามีกรอบมาตรฐานสถานศึกษา ๒) ร้อยละของสถานศึกษาทผี่ ่านการประเมนิ มาตรฐานสถานศึกษาตามท่กี าหนด แนวทางการดาเนินการ ๑) จัดทามาตรฐานสถานศึกษาโดยพิจารณาจากปัจจยั หรือองค์ประกอบขัน้ พืน้ ฐาน เพอ่ื สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนเข้าถึงบรกิ ารการเรียนรูท้ จ่ี ะพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ให้มีมาตรฐานเสมอกนั ตามบรบิ ทเชงิ พ้ืนท่ี เชน่ ๑. ปจั จัยด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เช่น อาคารเรียน อาคารประกอบ หอประชุม สนามกีฬา ห้องเรยี น ห้องพเิ ศษ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ เป็นตน้ ๒. ด้านครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๓. ด้านการบรหิ ารจัดการ ๔. ด้านงบประมาณ ๕. ด้านความปลอดภยั และ ๖. ด้าน Digital Technology ๒) สง่ เสรมิ สนบั สนุน ปรบั ปรงุ พฒั นาสถานศึกษาใหม้ ีมาตรฐานตามท่ีกาหนด
๓. สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบริหารจดั การศึกษาสาหรับผูเ้ รียนท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ ตวั ชีว้ ัด ๑) มขี อ้ มูลสารสนเทศของการจัดการศกึ ษาพเิ ศษ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั หน่วยงาน ท่ีเกีย่ วขอ้ งทกุ ระดับ ๒) สานักงานบริหารงานการศึกษาพิเศษมียุทธศาสตร์ แผนการดาเนินงาน และแผนปฏิบตั ิการที่ตอบสนองสาหรบั ผเู้ รียนทม่ี ีความต้องการจาเป็นพิเศษ ตาม ศักยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพกิ าร ๓) ทุกสถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมทง้ั ระบบ เพอื่ สามารถการจัดการศึกษา แบบเรยี นรวม แนวทางการดาเนนิ การ ๑) จดั ทาระบบข้อมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพิเศษ ท่เี ช่อื มโยงกบั หนว่ ยงาน ทีเ่ ก่ียวข้องทกุ ระดับ และนามาใช้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ๒) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษจัดทากลยุทธศาสตร์ แผนการ ดาเนนิ งาน และแผนปฏิบัติเชงิ รกุ เนน้ การใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการทางานแบบมีสว่ นร่วม ๓) ส่งเสริม สนับสนุนระบบการจัดการศึกษาพิเศษ ท่ีผู้เรียนสามารถเข้าสู่บริการ ช่วงเช่ือมต่อ (Transitional Services) หรือการส่งต่อ (Referral) เข้าสู่การศึกษาใน ระดับเดียวกันและที่สูงข้ึน หรือการอาชีพ หรือการดาเนินชีวิตในสังคมได้ตาม ศกั ยภาพของแตล่ ะบคุ คล ๔) สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหท้ กุ สถานศึกษาในสังกัดมีความพร้อมทั้งระบบ เพื่อสามารถการ จดั การศกึ ษาแบบเรียนรวม ๕) จัดให้มีศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบการจัดการศึกษาพิเศษ ในการติดตาม ช่วยเหลือ และสนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาดาเนนิ การจดั การศกึ ษาพิเศษไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๔. จดั สรรงบประมาณสนบั สนุนผู้เรยี น และสถานศึกษาอย่างเหมาะสม เพยี งพอ ตวั ช้วี ดั ๑) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา โดยตรงอยา่ งเหมาะสม ๒) ผเู้ รียนทุกคน และสถานศกึ ษาไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ การเรียนรู้อยา่ ง เหมาะสมและเพียงพอตอ่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓) จานวนโครงการ/ กจิ กรรมทีไ่ ด้รบั ความรว่ มมือจากกองทนุ ความเสมอภาคทาง การศกึ ษา แนวทางการดาเนินงาน
๑) ศึกษา วเิ คราะห์ วิธกี ารจัดสรรงบประมาณให้กบั ผ้เู รียน และสถานศกึ ษา ทั้งดา้ นความเหมาะสม เพยี งพอ ๒) จัดสรรงบประมาณให้ผเู้ รยี น และสถานศึกษาโดยตรง ๓) ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา เพื่อสนับสนุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนการจัดการ เรียนรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รียน ๕. สง่ เสริม สนับสนนุ ให้สถานศึกษา หน่วยงานทกุ ระดับนา Digital Technology มาใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาคุณภาพของผเู้ รยี น ตวั ชีว้ ัด ๑) สถานศึกษาทุกแห่งมรี ะบบโครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมทส่ี ามารถเชือ่ มต่อกบั โครงข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และปลอดภยั ๒) สถานศกึ ษามี Digital Device เพ่อื ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการเรียนรูข้ องผู้เรยี น และ เปน็ เครือ่ งมอื ในการจดั การเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ แนวทางการดาเนนิ งาน ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศึกษามโี ครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ และ ปลอดภัย ๒) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษามรี ะบบคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ทีใ่ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมือ ในพฒั นาทกั ษะด้าน Digital Literacy แก่ผเู้ รียน ๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษาปรบั ปรุงพฒั นาห้องเรยี นให้เปน็ หอ้ งเรียน Digital ๔) ส่งเสริม สนับสนุน Digital Device สาหรับผู้เรียนทุกระดับอย่างเหมาะสม เพ่ือ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาการเรยี นรู้ของตนเอง อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ๕) สง่ เสรมิ สนับสนุน Digital Device และพฒั นา Digital Pedagogy สาหรับครอู ย่าง เหมาะสม เพื่อเป็นเคร่อื งมือในการจัดกระบวนการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาผู้เรียนได้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๖) โครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology: DLIT) ๗) โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดว้ ยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ยทุ ธศำสตร์ที่ ๕ เพิม่ ประสิทธิภำพกำรบริหำรจดั กำร เปำ้ ประสงค์ สถานศึกษา และหน่วยงานระดับภมู ิภาคมีความอิสระในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ มคี ณุ ภาพ มมี าตรฐานสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพนื้ ที่ ประเดน็ กลยทุ ธ์
๑. เพ่ิมประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา และสถานศึกษา ตัวชี้วัด ๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลการดาเนินงานผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ส่วนราชการท่ีสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกาหนด ๒) ร้อยละของสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพมาตรฐาน สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา ๓) รอ้ ยละของสถานศึกษาทีม่ ีผลการประเมนิ ภายนอกในระดับดีขึน้ ไป ๔) รอ้ ยละของหน่วยงานผ่านการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ หน่วยงานภาครัฐ (ITA: Integrity & Transparency Assessment) แนวทางการดาเนนิ การ ๑) กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพ่ือการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ๒) ส่งเสริมระบบประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง ๓) ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รตสิ านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สถานศกึ ษา และองค์คณะบคุ คลทม่ี ีผลงานเชิงประจกั ษ์ ๔) กาหนดให้หน่วยงานในสังกดั ทุกหน่วยงานใช้ระบบการบรหิ ารจัดการทม่ี ุง่ เน้น คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการทางานตามหลักการประเมนิ คณุ ธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (ITA: Integrity & Transparency Assessment) ๒. สร้างเครือข่ายความร่วมมือและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจัด การศกึ ษา ตัวชี้วดั ร้อยละของสถานศึกษาหนว่ ยงานมกี ารบริหารจัดการแบบมสี ่วนรว่ ม แนวทางการดาเนินงาน ๑) ส่งเสริมการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษาโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน (Area-based Management) รปู แบบการบรหิ ารแบบกระจายอานาจ“CLUSTERs” ๒) สง่ เสริม การมีส่วนร่วม จดั ทาแผนบูรณาการจัดการศกึ ษา ในระดับพ้ืนที่ ๓) สร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย เช่น เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ศูนย์พัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ สห วทิ ยาเขต กลุ่มโรงเรียน ฯลฯ ๔) ส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นของสังคมมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการท่ี ตอบสนองความต้องการของประชาชนและพืน้ ท่ี
๕) ส่งเสริม สนับสนุน ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ให้มีความรู้ ความ เข้าใจและ มสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ๖) สง่ เสริมให้ทกุ ภาคส่วนของสงั คมเข้ามามีส่วนรว่ มสนับสนุนทรพั ยากรเพ่ือ การศกึ ษา ๓. ยกระดับการบริหารงานของสถานศึกษาใหม้ ีอิสระ นาไปสู่การกระจายอานาจ 4 ด้าน ให้ สถานศกึ ษาเป็นศนู ย์กลางในการจัดการศึกษาตามบริบทของพืน้ ที่ ตวั ช้ีวัด ๑) มีรปู แบบและแนวทางในการบริหารจัดการของโรงเรยี นใหเ้ กดิ คุณภาพ ๒) มีขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการกระจายอานาจทง้ั ระบบ ๓) มรี ปู แบบและแนวทางในการบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กให้เกดิ คุณภาพ ๔) ร้อยละของสถานศึกษามีคณุ ภาพ และมาตรฐาน (มาตรฐานการศกึ ษา ระดับ การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน/ปฐมวัย/ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ) และพัฒนาสู่ระดับสากล ๕) จานวนโรงเรยี นขนาดเล็กลดลง ๖) รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่อย่ใู นโรงเรียนขนาดเลก็ มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสูงขึน้ แนวทางการดาเนินการ ๑) ศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ระบบการบริหารงานของหน่วยงาน บทบาทหน้าทที่ ง้ั ระดับปฏิบตั ิ และรบั การกากับติดตาม ๒) ศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบ และพัฒนารปู แบบการกระจายอานาจการจดั การศึกษา ๔ ด้าน ให้สถานศึกษา โดยในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ให้ศึกษานาร่องรูปแบบการ กระจายอานาจ เชน่ ๑. เขตพนื้ ท่ีนวตั กรรมการศกึ ษา ๒. โรงเรยี นรว่ มพฒั นา (Partnership School) ๓. Autonomous School ๓) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบโครงสร้างของสถานศึกษา (Enterprise Architecture) ใน ฐานหน่วยงานระดบั ปฏิบตั ิ และหน่วยงานระดับกากับติดตามใหเ้ หมาะกับบริบท การเปลี่ยนแปลงของโลกปจั จุบัน ๔) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา Digital Technology ใช้ในการจัดการศึกษา ท้งั ระบบ (Digital Transformation) ๕) สนับสนุน สง่ เสริมใหส้ ถานศกึ ษาจดั หาเจ้าหนา้ ที่เพอ่ื ปฏิบตั ิหน้าท่สี นับสนนุ การ จดั การเรียนรู้ เพ่อื ให้ครูสายผู้สอนปฏบิ ัติหนา้ ท่เี ฉพาะดา้ นที่เกยี่ วข้องกับการ จัดการเรยี นรูใ้ ห้แกผ่ ู้เรียนเทา่ นั้น ๖) ยกระดับสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นศูนย์กลางในการพัฒนา ทักษะและคณุ ภาพชีวติ ของชมุ ชน
๗) สรา้ งความเข้มแขง็ และยกระดับคุณภาพสถานศกึ ษาตามบริบทของพ้ืนท่ี เช่น โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นนวัตกรรม โรงเรยี นร่วมพฒั นา โรงเรยี นประชารัฐ โรงเรียนคณุ ธรรม โรงเรียนหอ้ งเรียนกฬี า ฯลฯ ๘) นาผลการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการวางแผนการปฏิบัติการตรวจสอบ ตดิ ตามเพื่อการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพและเปน็ ไปตามมาตรฐาน การศึกษา ๙) สรา้ งมาตรฐาน และกาหนดแนวทางในการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเล็ก ๑๐)ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนขนาดเลก็ มีระบบการบริหารจดั การท่ีหลากหลาย เชน่ การบริหารจดั การแบบกลุ่มโรงเรยี น การสอนแบบคละช้นั ๑๑)พจิ ารณาแต่งต้ังผบู้ รหิ ารทมี่ ีศกั ยภาพในโรงเรยี นขนาดเล็ก พจิ ารณาคา่ ตอบแทนพิเศษ และสวัสดกิ ารอ่นื ๆ สาหรับผปู้ ฏิบตั ิงานในโรงเรียนขนาดเลก็ ๑๒)ปรบั ปรุงกฎหมายระเบยี บข้อปฏิบตั ิให้สอดคลอ้ งกบั การกระจายอานาจ ๑๓)สถานศึกษามีอิสระในการบริหารงาน และจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้ได้ ตามมาตรฐานคุณภาพผู้เรียน สอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่น นาไปสู่การ พฒั นาทกั ษะชีวติ ทกั ษะอาชพี ของผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔. ปรับเปลีย่ นระบบงบประมาณเพ่ือสนับสนุนผเู้ รียนและสถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพียงพอ ตวั ชี้วัด ๑) มีรูปแบบหรือแนวทางในการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา โดยตรงอย่างเหมาะสม ๒) ผู้เรียนทุกคนและสถานศึกษาได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการเรียนรู้ อยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอต่อการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ๓) จานวนโครงการ/กิจกรรมท่ีได้รับความร่วมมือจากกองทุนความเสมอภาค ทางการศกึ ษา แนวทางการดาเนนิ งาน ๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจัดสรรงบประมาณให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา ทง้ั ดา้ นความเหมาะสม เพยี งพอ ๒) จดั สรรงบประมาณใหผ้ ูเ้ รียน และสถานศึกษาโดยตรง ๓) ประสานความร่วมมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพื่อลดความ เหลื่อมล้าทางการศึกษา เพ่ือสนับสนุนงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการจัดการ เรยี นรูใ้ หแ้ กผ่ ู้เรียน ๕. สง่ เสริม สนบั สนุน ให้สถานศึกษา หน่วยงานทุกระดับนา Digital Technology มาใช้ในการ เพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารอย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยี Big Data เพื่อเชื่อมโยง
ขอ้ มูลดา้ นตา่ ง ๆ ตัง้ แต่ข้อมลู ผู้เรียน ขอ้ มลู ครู ข้อมลู สถานศึกษา ขอ้ มูลงบประมาณ และข้อมูล อื่น ๆ ท่ีจาเป็นมาวิเคราะห์เพื่อให้สถานศึกษา สามารถจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนเป็น รายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนัด และสามารถวิเคราะห์เป็นข้อมูลในการวางแผนการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศตอ่ ไป ตัวช้วี ดั ๑) สถานศึกษาทุกแห่งมีระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีสามารถใช้ในการวางแผนการจัด การศึกษาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๒) สถานศึกษาทุกแห่งมีข้อมูลผู้เรียนรายบุคคลท่ีสามารถเช่ือมโยงกับข้อมูลต่างๆ นาไปส่กู ารวเิ คราะหเ์ พือ่ วางแผนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ แนวทางการดาเนินงาน ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลทรัพยากรมนุษย์ด้านการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ีสามารถ เช่ือมโยง และบูรณาการข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างกระทรวง หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยการเช่ือมโยงข้อมูลรายบุคคลท่ีเก่ียวกับการศึกษา การ พัฒนาตนเอง สุขภาพและการพัฒนาอาชีพในตลอดช่วงชีวิต เป็นฐานข้อมูลการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถ ประเมินจุดอ่อน จุดแข็ง และศกั ยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสู่การตัดสินใจระดับ นโยบายและปฏบิ ัติ ๒) พัฒนา Digital Platform ด้านการเรียนรู้ผู้เรียน และบุคลากรทางการศึกษา เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษา และหน่วยงานในสังกัดใช้ในการปฏบิ ตั ิงานตามภารกจิ ๓) พัฒนา Digital Platform ด้านการบริหารงาน เพ่ือสนองตอบต่อการปฏิบัติงาน ของบุคลากรตามภารกิจที่รับผิดชอบ นาไปสู่การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากร ท่ี เชื่อมโยงกันทั้งระบบต้ังแต่การคัดสรร บรรจุแต่งต้ัง ตลอดจนเช่ือมโยงถึงการ พัฒนาครู เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับความกา้ วหน้าในอาชีพ ๔) พัฒนา Digital Platform ระบบข้อมลู สารสนเทศของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลตง้ั แต่ ระดับปฐมวัย จนจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ท่สี ามารถเชอื่ มโยงกับหน่วยงานที่ เกย่ี วขอ้ ง นาไปสกู่ ารพัฒนาฐานข้อมลู ประชากรดา้ นการศึกษาของประเทศ ๕) พฒั นา Big Data เพ่อื เช่อื มโยง วเิ คราะหข์ ้อมลู ทุกมิติ นาไปสกู่ ารวางแผนการจัดการ จดั การเรียนรู้ให้แกผ่ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล
ประเด็นยุทธศ์ ำสตร์กำรพัฒนำกำรศกึ ษำโรงเรยี นบำ้ นโคกสะอำด วิสัยทศั น์ (VISION) ภายในปี 2562 โรงเรียนบ้านโคกสะอาด บรหิ ารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ ผู้เรียน ครแู ละบุคลากร ทางการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย พันธกิจ (MISSION) 1. พัฒนาการบรหิ ารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2. สนับสนนุ และแสวงหาความรว่ มมอื จากทุกภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 3. พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาสคู่ วามเปน็ สากล 4. พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์และค่านิยมหลกั คนไทย 12 ประการบนพนื้ ฐานของความเป็นไทย 5. ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามคี วามก้าวหนา้ มีความรู้ความสามารถเป็นแบบอยา่ งท่ีดีใน การปฏิบตั ิหนา้ ที่ มปี ระสทิ ธิภาพและพัฒนาตนสู่ความเปน็ ครมู ืออาชพี ตามมาตรฐานสากล เป้ำประสงคห์ ลัก (GOAL) 1. โรงเรยี นบรหิ ารงานโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน และตามหลกั ธรรมาภบิ าล มแี ละใช้ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศท่ที นั สมยั ในการบริหารจัดการศกึ ษา มีความพร้อมสู่ประชาคมอาเซยี น 2. ทกุ ภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน 3. ผ้เู รยี นมีศกั ยภาพสู่การแข่งขันระดับชาติ อาเซียนและสากล 4. ประชากรในวยั เรยี นทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งทวั่ ถงึ มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ชาตแิ ละมาตรฐานสากล บนพื้นฐานของความเปน็ ไทย 5. ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการใช้ส่อื เทคโนโลยที างการศกึ ษาในการบรหิ ารจัดการและเปน็ เคร่ืองมอื ในการจดั การเรียนรู้ กลยทุ ธ์ 1. พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 2. สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มในการระดมทรัพยากรจากทุกภาคสว่ นร่วมกนั จัดการศึกษา 3. พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นให้ได้คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพื้นฐานและมาตรฐานสากล 4. ปลกู ฝังให้ผเู้ รยี นมีความรับผดิ ชอบและเปน็ พลเมืองดีของสังคมไทยและพลโลก 5. พัฒนาองค์ความร้แู ละสมรรถนะของครสู ู่มาตรฐานสากล
สว่ นท่ี 5 กำรกำกับ ตดิ ตำมตรวจสอบคุณภำพและรำยงำน การกากบั ตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพและรายงาน ดังน้ี 1. การกากับตดิ ตามผลการดาเนินงาน/โครงการ ใหหวั หนางานแผนงานโรงเรยี น หัวหนา แผนงานของกลุมบรหิ ารและกลุมสาระการเรียนรู ดาเนินการดงั นี้ 1) กากับตดิ ตามใหการดาเนินงาน/โครงการเปนไปตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาป ของโรงเรยี น 2) รวบรวมรายงานผลการดาเนินงาน/โครงการ หลงั จากดาเนินงาน/โครงการ เสรจ็ สิ้นแลว 3) จดั ทารายงานสรปุ ผลการดาเนินงาน/โครงการเปนรูปเลมตามแบบทีโ่ รงเรียน กาหนด 2. การตรวจสอบคุณภาพและรายงาน ใหหัวหนางานแผนงานและงบประมาณโรงเรยี น ดาเนนิ การดงั น้ี 1) ควบคุมการใชงบประมาณใหเปนไปตามแผนแผนปฏบิ ตั ิราชการประจาป ของโรงเรยี น 2) รวบรวมรายงานผลการดาเนินงาน/โครงการ จากกลุมบรหิ ารและกลุมสาระ การเรียนรู หลังดาเนินการเสร็จสน้ิ แลว 3) จัดทารายงานสรุปปญหาอุปสรรคและขอเสนอจากการดาเนินงาน/โครงการของ กลมุ บรหิ ารและกลุมสาระการเรียนรูนามาวเิ คราะหและนาเสนอผูอานวยการ 3. การรายงานผลการปฏิบตั งิ านของครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเปนไปตาม ระเบยี บ โรงเรียนวาดวย ภาระงานและมาตรฐานการปฏบิ ัตกิ ลุมบริหารงานบุคคล กลุมบรหิ ารงบประมาณ กลมุ บรหิ าร วชิ าการ กลุมบรหิ ารท่วั ไปและกลุมบรหิ ารกิจการนักเรียน และ คูมือการประเมินประสิทธภิ าพการปฏบิ ตั ิงาน ของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 4. การจัดทารายงานการประเมินตนเอง(SAR) 1) ใหขาราชการครแู ละลูกจางทกุ คนจดั ทารายงานการประเมินตนเองตามแบบท่ี โรงเรียนกาหนด 2) ใหคณะกรรมการประเมินภายในแตละกลุมบริหารและกลุมสาระการเรยี นรูจดั ทา รายงานการประเมินตนเองของกลุมบริหารและกลุมสาระการเรยี นรูตามมาตรฐานท่ีรับผิดชอบ
คณะผ้จู ัดทำ ๑. นำยสมำน ถำไชยลำ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน ประธำนคณะทำงำน ๒. นำยอำรี วงั แสง ครู รองประธำนคณะทำงำน ๓. นำยรงุ่ เสน่ห์ ศรีหร่ิง ครู คณะทำงำน ๔. นำงประภำ ผำอำจ ครู คณะทำงำน ๕. นำงจอมศรี มะลิตน้ พนกั งำนรำชกำร คณะทำงำน ๖. นำงสำวจำปี ศรีหร่งิ พนกั งำนรำชกำร คณะทำงำน ๗. นำงสำวสุปรำณี โจมแก้ว ครูอัตรำจ้ำง คณะทำงำน ๘. นำงสำวจนิ ตนำ สทิ ธิกุล ครูอัตรำจำ้ ง คณะทำงำน ๙. นำงสำวประครอง พันธ์กกค้อ ครอู ัตรำจำ้ ง คณะทำงำน ๑๐.นำยสรุ ตั น์ วังแสง ครอู ตั รำจ้ำง คณะทำงำน ๑๑.นำงสำวนภิ ำพร หลองทอง ครูอัตรำจ้ำง คณะทำงำน ๑๒.นำยสนิท เทยี่ งจติ ร นักกำรภำรโรง คณะทำงำน ๑๓.นำงดุษฎี วงั แสง ครู คณะทำงำน/เลขำนุกำร ๑๔.นำงสำวกชกร ผำอำจ เจ้ำหน้ำท่ธี ุรกำร คณะทำงำน/ผู้ช่วยเลขำนกุ ำร
Search