Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลาว-laos-pdr

ลาว-laos-pdr

Description: ลาว-laos-pdr

Search

Read the Text Version

● งานในช่วงกลางคืนในทุกประเภทอุตสาหกรรม ตั้งแต่เวลา 22.00-05.00 น. จะต้องมีเวลาพักผ่อนอย่างน้อย 11 ช่ัวโมง ก่อนจะ ทำ� งานวนั ใหม่ ● ลกู จา้ งมสี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ ลว่ งเวลา หากทำ� งานนอกเวลาปกติ แตก่ าร ทำ� งานนอกเวลาจะตอ้ งไมเ่ กนิ 3 ช่วั โมงต่อวัน หรือไมเ่ กิน 30 ชวั่ โมง/ เดือน และห้ามท�ำงานล่วงเวลาติดต่อกัน แต่หากมีความจ�ำเป็นต้อง ท�ำงานล่วงเวลาเกินกว่าท่ีกฎหมายก�ำหนด จะต้องขออนุญาตจาก กรรมบาล (องค์การแรงงาน) หรอื ผู้แทนแรงงาน เพ่ือพจิ ารณาอนญุ าต เสียก่อนจึงจะท�ำได้ ทั้งนี้อัตราค่าแรงการท�ำงานล่วงเวลาแบ่งตามช่วง เวลาและวันท�ำการ ● การทำ� งานลว่ งเวลาในชว่ งกลางวนั ของวนั ทำ� งานปกตจิ ะเปน็ เวลา ตั้งแต่ 17.00-20.00 น. โดยจะคิดอัตราค่าแรงงานเทา่ กบั 1.5 เท่าของ ค่าแรงงานต่อหน่ึงชวั่ โมงแรงงานปกติ ● การท�ำล่วงเวลาในช่วงกลางคืนของวันท�ำงานปกติ ตั้งแต่เวลา 20.00-06.00 น. คา่ แรงงานเทา่ กบั 2 เท่าของคา่ แรงงานต่อหนง่ึ ชว่ั โมง แรงงานปกติ ● การท�ำล่วงเวลาในเวลากลางวันของวันหยุดประจ�ำสัปดาห์และ วนั หยดุ ราชการ ตง้ั แตเ่ วลา 08.00- 20.00 น. คา่ แรงงานเทา่ กบั 2.5 เทา่ ของค่าแรงต่อช่วั โมงแรงงานปกติ และ 3 เท่าในช่วงกลางคืน ต้งั แต่เวลา 20.00-06.00 น. ● กรณีสับเปลี่ยนงานในเวลากลางคืน ต้องได้รับเงินไม่ต่�ำกว่า รอ้ ยละ 15 ของคา่ แรงงานปกติ เร่ิม 22.0-05.00 น. ของเชา้ วนั ใหม่ ● วันหยดุ งานประจ�ำสปั ดาห์อย่างน้อย 1 วันตอ่ สปั ดาห์ ซง่ึ จะเป็น 150

วันใดก็ได้ ข้ึนอยู่กับการตกลงกันของทั้งสองฝ่าย ส่วนวันหยุดราชการ รัฐบาลจะเป็นผ้กู �ำหนด ● วันหยดุ นกั ขตั ฤกษ์ ลูกจ้างทุกคนมสี ทิ ธไิ ด้รบั การพักตามวนั หยุด นักขัตฤกษ์ โดยได้รบั เงนิ เดอื นหรอื ค่าจ้างแรงงานตามปกติ ● การลาพกั ผอ่ นประจ�ำปี ผทู้ �ำงานต้ังแต่ 1 ปขี นึ้ ไปจงึ จะมีสิทธลิ า หยดุ พกั ผอ่ นประจำ� ปไี ดไ้ มเ่ กนิ 15 วนั ตอ่ ปี สำ� หรบั ประเภทงานหนกั และ เปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพสามารถมสี ทิ ธหิ ยดุ งานประจำ� ปไี ดไ้ มเ่ กนิ 18 วนั ต่อปี ซึ่งจะไม่นับรวมวันหยุดประจ�ำสัปดาห์และวันหยุดราชการ หาก ลูกจ้างผ้ใู ดไมต่ ้องการลาก็มสี ิทธิเรียกเงนิ อดุ หนนุ ตามจำ� นวนวนั ท่มี ีสทิ ธิ ลาหยุด โดยคิดเท่ากับรายไดข้ องวนั ทำ� งานปกติ ● การลาป่วยโดยมีใบรับรองแพทย์สามารถลาหยุดได้ไม่เกิน 30 วัน/ปี หากเกิน 30 วัน ผู้ป่วยจะใช้กองทุนอุดหนุนตามระเบียบการ ประกันสังคม ซ่ึงผู้ใช้แรงงานจะได้รับเงินเดือนตามปกติแต่ไม่เกิน 180 วนั และจะไดร้ บั เพียงรอ้ ยละ 50 หากเกิน 180 วัน 7.2.3 เงนิ เดอื นและคา่ จา้ ง ● เงนิ เดอื นและค่าจา้ ง สามารถเบกิ จา่ ยวนั ใดกไ็ ด้ และจา่ ยกอ่ นหรอื หลงั เสรจ็ งานกไ็ ดต้ ามที่ กฎหมายก�ำหนด ให้เน้นความเสมอภาคในการรับเงินเดือนและค่าจ้าง โดยไม่ค�ำนึงถึงเพศ สัญชาติ หรือเชือ้ ชาติ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 151

● คา่ แรงข้นั ต�่ำ รัฐบาลกลางก�ำหนดให้นักลงทุนต่างชาติจะต้องจ่ายค่าแรงข้ันต�่ำ สำ� หรบั การทำ� งานในอตั รา 10,000 กบี ตอ่ วนั หรอื เดอื นละ 300,000 กบี ระดับเงินเดือนของลูกจ้างจะต้องไม่ต�่ำกว่าระดับเงินเดือนข้ันต่�ำที่ ทางการประกาศ โดยลกู จา้ งทที่ ำ� งานในเวลากลางคนื (22.00-06.00 น.) ต้องได้รับเงินเดือนมากกว่าลูกจ้างที่ท�ำงานในเวลากลางวันไม่น้อยกว่า 1.1 เทา่ และการเบกิ จา่ ยเงนิ เดอื นหรอื คา่ แรงในแตล่ ะครงั้ ตอ้ งมลี ายเซน็ ผู้รบั และเบิกตรงตามกำ� หนดเวลา (ยกเว้นสัญญาระบไุ วเ้ ปน็ อยา่ งอ่ืน) ● การทดลองงาน งานทวั่ ไปตอ้ งจา่ ยคา่ แรงไมต่ ำ�่ กวา่ รอ้ ยละ 90 ของเงนิ เดอื นปกติ โดย กำ� หนดเวลาไมเ่ กนิ 30 วนั สว่ นงานทต่ี อ้ งอาศยั ความชำ� นาญดา้ นวชิ าชพี ก�ำหนดทดลองงานไม่เกิน 60 วัน นอกจากนั้น รัฐบาลสปป.ลาว ยัง ก�ำหนดให้สถานประกอบการที่มีการจ้างแรงงานมากกว่า 10 คน ต้อง จา่ ยเงินสมทบเข้ากองทนุ ประกันสังคมในอตั รารอ้ ยละ 5 ของเงนิ ค่าจา้ ง แรงงาน และลูกจา้ งจ่ายเงินสมทบอีกรอ้ ยละ 4.5 ของอัตราคา่ จ้าง ● การประกันเงนิ เดือนหรือคา่ แรง 1. กรณีเลิกกิจการ เงินเดือนหรือค่าจ้างของลูกจ้างต้องจัดให้เป็น ปญั หาอนั ดบั แรกในการช�ำระบัญชี 2. การหักเงินเดือนหรือค่าแรงเพื่อชดใช้ค่าเสียหายจะต้องไม่เกิน ร้อยละ 20 ของเงนิ เดอื นทีจ่ ะได้รบั 152

7.3 กฎหมายเข้าเมอื ง ● การเข้าเมืองสปป.ลาว โดยไม่ใช้เอกสารเดินทางท่ีถูกต้อง อาท ิ หนังสือเดินทาง หรือบัตรผ่านแดนการเข้าสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยไมม่ เี อกสารเดนิ ทางทถี่ กู ตอ้ งจะถอื วา่ เปน็ การลกั ลอบ เข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ● การเขา้ เมอื งสปป.ลาว โดยผดิ วตั ถปุ ระสงคจ์ ากเอกสารผา่ นแดน ทใ่ี ช้ ไดแ้ ก่ การใชบ้ ตั รผา่ นแดน แตอ่ ยเู่ กนิ กวา่ เวลาและพน้ื ทที่ ก่ี ำ� หนด มี โทษท้ังจำ� และปรับ โดยมีโทษจำ� คกุ ประมาณ 1 เดือน และคา่ ปรบั ข้นั ต�ำ่ อยู่ท่ี 100 ดอลล่าร์สหรัฐ ดังนั้นเพ่ือความปลอดภัยและอุ่นใจ จึงขอ แนะนำ� ใหถ้ อื หนงั สือเดินทางเข้ามายงั สปป.ลาว ทุกครั้ง ● การเดินทางออกนอกเขตที่ก�ำหนดไว้ เช่น ผู้ถือบัตรผ่านแดนที่ ออกให้โดยจังหวัดหนองคาย ห้ามเดินทางออกนอกเขตก�ำแพงนคร เวยี งจนั ทน์ อาทิ เขอื่ นนำ�้ งมึ บอ่ นกาสโิ นแดนสวรรค์ หากไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต พเิ ศษ ● การพ�ำนักอยู่ในสปป.ลาวเกินก�ำหนด (ผู้ถือบัตรผ่านแดนอยู่ได้ ไม่เกิน 3 วนั 2 คนื ผู้ถอื หนังสอื เดินทางเพอ่ื การทอ่ งเที่ยวไมเ่ กนิ 30 วนั ) ● การพักค้างคืนที่บ้านชาวสปป.ลาว โดยไม่แจ้งต่อนายบ้าน (ผู้ใหญ่บ้าน) เสยี กอ่ น ถือว่าผดิ ระเบียบปฏิบัติอาจมีปญั หาได้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 153

7.4 กฎหมายอ่นื ๆ ทคี่ วรรู้ 7.4.1  กฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับประเพณี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวเปน็ ประเทศทใี่ หค้ วามสำ� คญั กบั หลกั ศลี ธรรมและจารตี ประเพณอี นั ดงี าม การอยกู่ นิ ระหวา่ งหญงิ ชาย ท่ีมิได้เปน็ ค่สู มรสกนั ถอื เป็นการกระท�ำทผี่ ดิ กฎหมาย และหากถกู จบั ได้ ต้องรบั โทษทงั้ จ�ำและปรบั โดยจำ� คุกประมาณ 1 เดือน และปรบั ขนั้ ต่�ำ 500 ดอลล่ารส์ หรฐั จนถงึ สูงสุดที่ 5,000 ดอลล่ารส์ หรฐั รวมไปถึงการมี เพศสัมพันธก์ บั หญิงสปป.ลาว ที่มิใช่คูส่ มรสตามกฎหมายดว้ ย ดังนั้น หากประสงค์จะอยู่กินกับหญิงและชายชาวสปป.ลาว สถาน กงสุลใหญ่ฯ ขอแนะน�ำให้ด�ำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย ซ่ึงสถาน กงสุลใหญ่ฯ พร้อมให้ค�ำแนะน�ำและชว่ ยเหลอื 7.4.2  กฎหมาย และข้อห้ามอ่ืนๆ ● การประพฤตติ นเป็นมัคคุเทศก์น�ำเท่ยี ว ● การมยี าเสพติด อาวธุ และของตอ้ งหา้ มไว้ในครอบครอง ● การแจกจ่ายใบปลิวหรือเอกสารเผยแพร่ต่างๆ โดยไม่ได้รับ อนุญาตล่วงหน้า ● การชุมนุมเพ่ือท�ำกิจกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด ซ่ึงอาจมองได้ว่า เปน็ การก่อกวนความสงบ ● การแจกจ่ายใบปลิวหรือเอกสารประชาสัมพันธ์การถ่ายท�ำ ภาพยนตร์ ข่าวหรือสารคดี และการชุมนุมด้วยเหตุผลต่างๆ ตลอดจน 154

การเข้ามาค้าขายในสปป.ลาวต้องได้รับอนุญาตจากทางการสปป.ลาว ก่อน หากฝ่าฝนื มโี ทษปรบั ขั้นต่ำ� 500 เหรยี ญสหรฐั หรอื ทั้งจ�ำและปรับ ● การถา่ ยภาพสถานทรี่ าชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความมน่ั คง กถ็ อื เปน็ ความผดิ อาญา มีโทษทั้งจำ� และปรับ 7.4.3  กฎหมายการจัดเก็บภาษี ● การแบง่ ประเภทภาษีในสปป.ลาว ตามกฎหมายว่าด้วยส่วยสาอากรเลขที่ 04/สพช วันท่ี 19 พฤษภาคม 2548 ระบบภาษใี นสปป.ลาว มี 2 ประเภท คือ 1. ภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษเี งนิ ได้นติ บิ คุ คล (ภาษกี �ำไร) ภาษเี งนิ ได้ บคุ คลธรรมดา (ภาษตี ำ�่ สดุ ) ภาษรี ายได้ และคา่ ธรรมเนยี มคา่ บรกิ ารตา่ งๆ 2. ภาษที างออ้ ม ไดแ้ ก่ ภาษกี ารคา้ หรอื อากรตวั เลขธรุ กจิ และอากร ชมใช้ (ภาษสี รรพสามติ ) โดยอตั ราภาษีแตล่ ะประเภท สามารถแบ่งได้ตามตารางดังตอ่ ไปนี้ ตารางที่ 9 อัตราภาษีใน สปป.ลาว ลำ� ดบั ประเภทภาษี อัตร้อรายภลาะษี หมายเหตุ 1 ภาษีเงินได้ 35 - รอ้ ยละ 20 ส�ำหรบั แขนงการ นติ ิบุคคลหรือ ทีไ่ ด้รับการสง่ เสริมการลงทุน ภาษกี �ำไร (Corporation Tax/Profit Tax) ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 155

2 ภาษีเงินได้ 5-25 - รอ้ ยละ 10 ส�ำหรบั นกั ลงทุน บุคคลธรรมดา ตา่ งชาติ เปน็ อตั ราคงทข่ี องเงนิ (Personal รายได้ Income Tax) 3 ภาษีการคา้ 5 และ10 - เป็นภาษีท่ีจัดเก็บจากการ (Business ขายสินค้าตั้งแต่ขายส่งจาก Turnover Tax) โรงงานไปจนถงึ ผ้คู า้ ปลกี ซึง่ มี เพยี ง 2 อตั รา - บริษัทต่างประเทศสามารถ จดั เกบ็ ภาษีเชน่ เดยี วกนั ถา้ ไม่ ไดอ้ ยู่ในระบบภาษีมลู ค่าเพิม่ 4 ภาษีมลู ค่าเพ่มิ 10 - ใช้ได้กับทุกประเภทของ (VAT) สนิ ค้า 5 ภาษีศุลกากรนำ� 5-80 - ขึน้ อยกู่ บั ประเภทสนิ คา้ เขา้ หรือสง่ ออก - มที ง้ั ภาษนี �ำเขา้ และสง่ ออก (Import and Export Duty) 6 ภาษีสรรพสามติ 12-90 - เก็บจากการนำ� เข้า หรอื การ หรือภาษีชมใช้ ผลิตภายในประเทศในสินค้า (Excise Tax) ฟุ่มเฟอื ยจากมลู คา่ สนิ ค้า 156

● การยกเว้นภาษซี อ้ น สปป.ลาวลงนามในอนสุ ัญญาเพ่ือการยกเว้นการเกบ็ ภาษีซอ้ น (The Avoidance of Double Taxation) กับประเทศไทย ซ่ึงเริ่มใช้ต้ังแต่ วันที่ 1 มกราคม 2531 ทำ� ให้รายไดต้ ่างๆ ทีน่ ักลงทุนไทยไดร้ บั จากการ ลงทนุ ในสปป.ลาว ไม่มปี ญั หาภาษีซ้อน 1) ภาษเี งนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล (Corporation Tax) เปน็ ภาษที เ่ี กบ็ จากกำ� ไร ที่เกิดจากการด�ำเนินธุรกิจในสปป.ลาวของบุคคลและนิติบุคคลท้ังของ ชาวสปป.ลาวและชาวต่างชาติ 2) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) ชาว สปป.ลาว เสยี ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดาในอตั ราภาษกี า้ วหนา้ ดังน้ี ● ชาวสปป.ลาว ทมี่ รี ายได้ไมเ่ กิน 1,500,000 กบี ต่อเดือน ฐานเงินเดือน (กีบ) อัตรอ้รายภลาะษี เงนิ ได้สุทธิไม่เกนิ 300,000 0 เงินได้สุทธิส่วนท่เี กิน 300,000 แตไ่ มเ่ กนิ 1,500,000 5 ● ชาวสปป.ลาว ทมี่ รี ายไดเ้ กนิ 1,500,000 กีบตอ่ เดือน ฐานเงนิ เดือน (กีบ) อัตรอ้รายภลาะษี เงนิ ได้สทุ ธิไมเ่ กนิ 1,500,000 5 ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 157

เงนิ ไดส้ ทุ ธิสว่ นท่เี กิน 1,500,000 แต่ไมเ่ กิน 4,000,000 10 เงนิ ได้สทุ ธสิ ว่ นทเ่ี กนิ 4,000,000 แต่ไมเ่ กิน 8,000,000 15 เงนิ ไดส้ ุทธิสว่ นที่เกนิ 8,000,000 แตไ่ ม่เกนิ 15,000,000 20 เงนิ ได้สทุ ธิสว่ นท่ีเกิน 15,000,000 25 7.4.4 การจดทะเบยี นนติ บิ คุ คล ประเทศ สปป. ลาว ไดพ้ ยายามทยี่ กระดบั การบรหิ ารจดั การ การจด ทะเบียนนิติบุคคลท่ีให้ทันสมัย ซ่ึงคุณพิมล ปงกองแก้ว อัครราชทูตที่ ปรึกษาฝ่ายการพาณิชย์ ณ เวียงจันทน์ ได้น�ำเสนอให้เข้าใจถึงข้ันตอน และวธิ กี ารจดทะเบยี นนิติบคุ คลและเอกสารประกอบของสปป.ลาว ซงึ่ มีรายละเอยี ดดังนี้ ตารางท่ี 10 ข้ันตอนและวธิ กี ารจดทะเบียนนติ บิ ุคคลและเอกสารประกอบ ขนั้ ตอน/วธิ กี ารจดทะเบียนนิติบุคคลและเอกสารประกอบ วสิ าหกิจสว่ นบุคคล วิสาหกิจหุน้ ส่วนสามัญ วิสาหกจิ หุน้ ส่วนจ�ำกัด (1) ใบค�ำรอ้ งจด (1) ใบเสนอขอจองช่ือ (1) ใบเสนอขอจองช่อื ทะเบยี นวิสาหกจิ ส่วน นิตบิ คุ คล นติ ิบคุ คล บคุ คล (2) สัญญาก่อตง้ั (2) สญั ญาก่อตงั้ วิสาหกิจ วสิ าหกิจหนุ้ สว่ นสามญั ห้นุ ส่วนจำ� กดั 158

(3) ใบคำ� ร้องขอจด (3) ใบคำ� ร้องขอจด ทะเบยี นนิติบุคคลของ ทะเบยี นนติ ิบคุ คลของ วิสาหกจิ หุ้นสว่ นสามญั วสิ าหกิจหุ้นสว่ นจำ� กัด (4) กฎระเบียบของ (4) กฎระเบียบของ วสิ าหกิจหุน้ ส่วนสามัญ วสิ าหกิจห้นุ ส่วนจำ� กดั หมายเหต:ุ ไม่รวมเอกสารแนบ รายละเอียดแบบฟอร์มตา่ งๆ สามารถ DOWNLOAD ได้จาก www.moc.gov.la ข้นั ตอน/วิธีการจดทะเบียนนติ ิบคุ คลและเอกสารประกอบ บริษทั จำ� กัด บริษัทจำ� กดั ผูเ้ ดียว บรษิ ัทมหาชน (1) ใบเสนอขอจองชอื่ (1) ใบเสนอขอจองช่ือ (1) ใบเสนอขอจองช่ือ นติ บิ คุ คล นิติบคุ คล นติ บิ คุ คล (2) สญั ญากอ่ ตง้ั (2) - (2) สัญญาก่อต้ัง บริษทั จ�ำกดั บรษิ ัทมหาชน (3) ใบค�ำรอ้ งขอจด (3) ใบค�ำร้องขอจด (3) ใบคำ� รอ้ งขอจด ทะเบียนนิตบิ คุ คลของ ทะเบยี นนิติบุคคลของ ทะเบยี นนิตบิ ุคคลของ บรษิ ทั จำ� กดั บรษิ ทั จ�ำกัดผเู้ ดยี ว บรษิ ทั มหาชน (4) กฎระเบียบของ (4) กฎระเบียบของ (4) กฎระเบยี บของ บรษิ ทั จ�ำกดั บรษิ ทั จ�ำกดั ผเู้ ดยี ว บรษิ ัทมหาชน หมายเหตุ: ไมร่ วมเอกสารแนบ รายละเอียแบบฟอร์มตา่ งๆ สามารถ DOWNLOAD ไดจ้ าก www.moc.gov.la ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 159

ข้ันตอน/วธิ ีการจดทะเบยี นนติ ิบุคคลและเอกสารประกอบ บรษิ ทั รฐั วิสาหกจิ บรษิ ทั ผสม (1) ใบเสนอขอจองชือ่ นิติบุคคล (1) ใบเสนอขอจองชอ่ื นิตบิ ุคคล (2) สัญญากอ่ ตง้ั บริษทั รัฐวสิ าหกจิ (2) สญั ญากอ่ ตั้งบรษิ ัทผสม (3) ใบคำ� รอ้ งขอจดทะเบยี นนติ บิ คุ คล (3) ใบค�ำร้องขอจดทะเบียนนิติบุคคล ของบริษทั รัฐวิสาหกจิ ของบรษิ ทั ผสม (4) กฎระเบยี บของบรษิ ทรั ฐั วสิ าหกจิ (4) กฎระเบยี บของบรษิ ัทผสม หมายเหตุ: ไม่รวมเอกสารแนบ รายละเอยี แบบฟอร์มต่างๆ สามารถ DOWNLOAD ได้จาก www.moc.gov.la 160

8 ลักษณะเดน่ ของระบบราชการทน่ี า่ เรียนรู้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 161

8.1 องค์การมวลชน (Mass Organizations) สปป.ลาว มีการจัดโครงสร้างเพ่ิมข้ึนจากองค์การทางการเมืองใน รูปแบบการแบ่งอ�ำนาจ โดยท่ัวไปน่ันคือองค์การมวลชนท่ีมีบทบาทใน การปลุกระดมประชาชนกลุ่มอาชีพและชนชั้นต่างๆ เพ่ือสนับสนุนการ ด�ำเนินงาน และร่วมกิจกรรมทางการเมืองของพรรคประชาชนปฏิวัติ สปป.ลาว ไดแ้ ก่ • องคก์ ารแนวลาวสรา้ งชาติ (Lao Front for National Construc- tion: LFNC) เป็นองค์การที่จัดตั้งขึ้นในช่วงสงครามปฏิวัติสปป.ลาว เม่อื ปี พ.ศ. 2493 ในชื่อเดิม คอื “แนวลาวรักชาต”ิ ซึ่งมภี ารกิจส�ำคัญ ในการสรา้ งความสมานฉนั ทใ์ หเ้ กดิ แกป่ ระชาชนสปป.ลาวทกุ ชนชาตแิ ละ ทุกชนชนั้ ของสังคม เพ่ือยกระดับสำ� นึกทางการเมอื งของประชาชนและ ระดมมวลชนในการปฏิบัติงานร่วมกัน โดยมีการจัดโครงสร้างองค์การ เปน็ ชว่ งชน้ั ทปี่ ระชมุ สมชั ชาของแนวลาวสรา้ งชาตเิ ปน็ องคก์ ารสงู สดุ ซงึ่ จะมกี ารเลอื กคณะกรรมการกลาง มกี ารจดั ตง้ั คณะกรรมการระดบั แขวง และระดบั อนื่ ๆ เพอ่ื ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี ปน็ แนวรว่ มไปจนถงึ ระดบั ทอ้ งถน่ิ ทงั้ นี้ แนวลาวสรา้ งชาตถิ อื เปน็ องคก์ ารมวลชนเดยี วทเี่ ปดิ โอกาสใหค้ นทกุ กลมุ่ โดยเฉพาะนักธุรกิจและปัญญาชนที่ได้รับการศึกษาจากตะวันตกให้เข้า เป็นสมาชกิ ได้ • สหพันธ์กรรมกรลาว (Lao Federation of Trade Unions: LFTU) เปน็ องคก์ ารของกลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงานและลกู จา้ งในภาคการผลติ ตา่ งๆ แต่ผู้ใช้แรงงานทั่วประเทศไม่ได้เป็นสมาชิกสหพันธ์ทั้งหมด  เนื่องจาก บางแหง่ มจี ำ� นวนผใู้ ชแ้ รงงานน้อย และไม่มีการจัดตง้ั องค์การท่ดี ี 162

ภาพท่ี 21 ตราสัญลกั ษณส์ หภาพแมห่ ญงิ ลาว ท่มี า: http://laospdrnews.wordpress.com/category/womens-rights/ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 163

• องค์การเยาวชนปฏิวัติลาว (Lao People’s Revolutionary Youth Union: LPRY) เป็นส่วนหน่ึงของแนวลาวรกั ชาติท่ีจัดตงั้ มากว่า 30 ปี โดยเร่มิ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2526 ได้มกี ารจัดตงั้ องคก์ ารตามเมืองใหญ่ ซ่ึงมีเป้าหมายในการบ่มเพาะให้ยุวชนเป็นผู้น�ำในการสร้างระบบ สงั คมนิยม ซึง่ องคก์ ารเยาวชนปฏวิ ตั ิลาวจะมีหน้าท่ใี นการสรา้ งเยาวชน ให้มีสัมพันธภาพทางการผลิต 3 ประการของการปฏิวัติ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วฒั นธรรม และอุดมการณ์ รวมทงั้ ปลกู ฝงั ให้ เยาวชนตอ่ ตา้ นอำ� นาจจักรวรรดนิ ยิ มจากตา่ งชาติ • สหภาพแมห่ ญงิ ลาว (Lao Women’s Union: LWU) เปน็ องคก์ าร สว่ นหนงึ่ อันเกิดจากแนวลาวรกั ชาติ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากแนวคิดของนาย ไกสอน พมวิหาน ท่ตี อ้ งการยกระดับสำ� นกึ ทางการเมอื งของสตร ี เพอ่ื ให้ร่วมสรา้ งการปฏิวตั สิ ังคมนิยม รวมทง้ั การเป็นแรงงานทสี่ ร้างผลิตผล และมีบทบาทที่แข็งขันในพรรคการเมือง ตลอดจนการท�ำหน้าท่ีมารดา ในการบ่มเพาะบุตรให้เป็นสังคมนิยมรุ่นใหม่ ท้ังน้ีภารกิจเหล่าน้ีเป็นสิ่ง จำ� เป็นตอ่ การปกปอ้ งและสร้างชาติของสปป.ลาว [16] 164

8.2 ความร่วมมือระหวา่ งสปป.ลาว กบั UNESCO 8.2.1 เก่ยี วกับ UNESCO องค์การเพ่ือการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก เป็นองค์การช�ำนาญพิเศษแห่งหนึ่งของ องค์การสหประชาชาติ ก่อตั้งข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2489 มีจุดมุ่งหมายเพ่ือ ส่งเสริมความร่วมมือของนานาชาติทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และ วัฒนธรรม เพื่อให้ท่ัวโลกเคารพในความยุติธรรม กฎหมาย สิทธิ และ เสรภี าพทมี่ นษุ ยพ์ งึ มี โดยไมถ่ อื ชาติ เพศ ภาษา หรอื ศาสนา ตามกฎบตั ร สหประชาชาติ ยูเนสโกจัดเป็นองค์การด้านพุทธิปัญญา มิใช่องค์การที่ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านเงนิ กูห้ รอื เงินช่วยเหลอื ดังน้ันยเู นสโกจงึ ใหค้ วาม ช่วยเหลือบรรดาประเทศสมาชิกในรูปของแนวความคิดที่ก้าวหน้าจาก การวจิ ยั หรอื การประชมุ ปรกึ ษาหารอื ทยี่ เู นสโกเปน็ ผจู้ ดุ ประกายทางการ ศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรม องค์การยูเนสโกมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ท่ีกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปัจจบุ นั มีสมาชิก 193 ประเทศ ผอู้ �ำนวยการใหญค่ นปจั จุบนั คอื นายโค อิชิโระ มัทซึอรุ ะ ส�ำหรับส�ำนกั งานยเู นสโก กรุงเทพฯ กอ่ ตงั้ เม่อื ปี พ.ศ. 2504 ต่อมาปี พ.ศ. 2544 ได้เปลี่ยนช่ือเป็น ส�ำนักงานเพื่อการศึกษา ในภูมิภาคเอเชียและแปซฟิ กิ (UNESCO Asia and Pacific Regional Bureau for Education) ปัจจุบันส�ำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ เป็น ส�ำนักงานของโครงการระดับภูมิภาคด้านการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ ส่ือสารมวลชน และสารสนเทศ ในภูมิภาคเอเชียและ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 165

แปซิฟิก นอกจากนี้ยังท�ำหน้าท่ีเป็นส�ำนักงานผู้แทนโดยตรงของ ประเทศไทย พมา่ สปป.ลาว และสงิ คโปร์ และประสานงานกบั ยเู นสโก ในประเทศเวียดนาม และกัมพูชาเก่ียวกับกิจกรรมและโครงการของ ประเทศเหล่าน้ี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ คนปัจจุบัน คือ นายกวาง โจ คิม [29] 8.2.2 โครงการของ UNESCO ในการพฒั นาดา้ นการศกึ ษา ในปัจจุบันรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ก�ำหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิในการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่เท่าเทียม กัน และอนุญาตให้ภาคเอกชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้มี คุณภาพ เนื่องจากการศึกษาเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกจิ ทยี่ ง่ั ยนื และลดปญั หาความยากจนไดอ้ ยา่ งถาวร ดงั นน้ั รฐั บาล สปป.ลาวจงึ ไดม้ อบหมายใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกฬี าเปน็ หนว่ ยงาน 166

หลักในการประสานความร่วมมือกับ UNESCO ตามแผนพัฒนาต่างๆ ดังน้ี 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษาแห่งชาติปี พ.ศ. 2554 -2558 (The National Education Socio-Economic Devel- opment Plan: NSEDP7 2011-2015) 2. กรอบการพัฒนาภาคการศกึ ษาปี พ.ศ. 2552-2558 (The Edu- cation Sector Development Framework: ESDF 2009-2015) 3. แผนการพฒั นาภาคการศึกษาปี พ.ศ. 2554-2558 (The Edu- cation Sector Development Plan: ESDP 201-2015) 4. ยทุ ธศาสตรก์ ารศกึ ษาเพอื่ ขจดั ความยากจนและการเจรญิ เตบิ โต แห่งชาติ (The National Growth and Poverty Eradication Strat- egy: NGPES) 5. การศกึ ษาเพอื่ แผนปฏบิ ตั กิ ารแหง่ ชาตปิ ี พ.ศ. 2546-2558 (The Education for All National Plan for Action 2003-2015) โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ แผนการพฒั นาภาคการศกึ ษา (ESDP) ถอื เปน็ แผน ยทุ ธศาสตรก์ ารปฏริ ปู การศกึ ษาทีต่ ัวแทนจาก UNESCO เข้าดำ� เนินการ ศึกษาปัญหาของการศึกษาในพ้ืนท่ีต่างๆ อย่างใกล้ชิด ซ่ึงสามารถสรุป จากผลตวั ช้วี ดั การพฒั นาการศึกษาเพื่อทกุ ๆ คน (The Education for All Development Index-EDI) ในประเดน็ ความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษา ของสปป.ลาวจะแบง่ เปน็ 6 เปา้ หมาย ซง่ึ ผลลพั ธท์ ง้ั 6 เปา้ หมายของการ ชี้วัดข้อมูลดังกล่าวได้มาจากการออกพื้นท่ีภาคสนามติดตามความ กา้ วหน้าทางการศกึ ษาตามที่ได้ต้ังเป้าไวด้ ังน้ี [28] ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 167

ตารางที่ 11 การช้ีวดั ความก้าวหนา้ ทางการศึกษา EFA Indicators Soeffritoruasclky Off track On track Achieved Trends CGaoraela1n:dEaErdlyucCahtiioldnhood (eGGdrEouRscs)aietninoprnorelm-perinmtarraytio Rtoos1e5%fro(m2080%8) (1999) EGdouacla2ti:oUniversal Primary (NNeEtRe) ninroplmrimenatryratio tRoos8e2%fro(m207088%) (1999) education Gofoaalll 3y:oLuetharannindganlel eaddsults (Y1o5u-t2h4)literacy rate Rt(2oo0s80e40%-f2ro0(m200470) 88.)5% Rtoos4e4%fro(m203038%) (1999) (eGGdrEouRscs)aietninoSrnoelcmonednat rryatio Gofoaadlu4l:t Improving levels (A1d5u-latnlidteoravceyr)rate 2R0o0se4)ftroom736%8.7(2%00(82)000- literacy Gpreimndaeryr peadruitcyaitnion I(m19p9r9o)vteod0f.r9o1m(200.8058) Ggeeqonuadaleli5rty:pAiansrsiteeydssuainncadgtion Gseecnodnedrapryareitdyuincation GQouaallit6y: Education gSruardveivaolf tporitmhearylasstchool I(m19p9r9o)vteod0f.r8o1m(200.6098) Ppurimpila/rTyeeacdhuecratriaotnio in 6R7o%se(f2ro00m8)54% (1999) to (Im19p9r9o)vteod3f0ro:1m(23010:18) ทม่ี า: UNESCO Country Programming Document, 2011-2015 ● เป้าหมาย 1 การดูแลคุณภาพการศึกษาและส่งเสริมการได้รับ การศึกษาอยา่ งเท่าเทยี มกันของเดก็ ประถมวยั พบว่านกั เรียนสปป.ลาว ในระดับประถมได้รับการศึกษาที่เท่าเทียมกันมีอัตราเพิ่มขึ้นนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542-2551 เพิ่มขน้ึ จากร้อยละ 8 เปน็ ร้อยละ 15 ● เป้าหมาย 2 การดูแลด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับ ประถมใหเ้ ป็นไปตามหลกั คณุ ภาพสากล พบว่าคุณภาพการศกึ ษาระดบั ประถมของสปป.ลาว ตามหลักคุณภาพสากลนับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2542- 2551 มอี ตั ราเพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 78 เปน็ ร้อยละ 82 168

● เปา้ หมาย 3 การรณรงค์ความอยากรหู้ นังสือของคนวัยทำ� งาน พบวา่ หลังจากการรณรงค์นับต้งั แต่ปี พ.ศ. 2542-2551 มอี ตั ราเพม่ิ ขึ้น จากร้อยละ 33 เป็นร้อยละ 44 ● เปา้ หมาย 4 การสง่ เสรมิ การพฒั นาใหช้ าวสปป.ลาว ในวยั ทำ� งาน ถงึ วยั ชรามอี ตั ราการรหู้ นงั สอื เพมิ่ ขนึ้ พบวา่ หลงั จากการสง่ เสรมิ นบั ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2543-2551 มีอัตราเพิ่มข้นึ จากร้อยละ 68.7 เป็นรอ้ ยละ 83 ● เปา้ หมาย 5 การสง่ เสรมิ ความเทา่ เทยี มทางการศกึ ษาโดยไมแ่ บง่ เพศ พบว่าหลังจากการสง่ เสริมนับตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2543-2551 เพศหญงิ ไดร้ บั การศกึ ษาทเี่ ทา่ เทยี มกบั เพศชายมอี ตั ราเพมิ่ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 54 เปน็ รอ้ ยละ 67 ● เปา้ หมาย 6 คุณภาพของครูผู้ให้การศึกษา พบวา่ หลงั จากการ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ บคุ ลากรครใู หม้ มี าตรฐานตามหลกั สากลนบั ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2542-2551 มีอตั ราเพม่ิ ขึน้ จากรอ้ ยละ 54.4 เปน็ ร้อยละ 69 [29] 8.2.3 โครงการต่อต้านการคา้ มนษุ ย์ การคา้ มนษุ ย์ ถอื เปน็ อาชญากรรมขา้ มชาตทิ ลี่ ะเมดิ กฎหมายและสทิ ธิ มนุษยชนท้ังในรูปแบบการล่อลวงทางเพศ แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ ซึ่งเป็นปัญหาอาชญากรรมและโรคติดต่อ จึงนับเป็นประเด็นท่ีมีความ ละเอียดอ่อนสูง ซึ่งส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและ การเมอื งในวงกว้างด้วย โดยปญั หาการค้ามนุษย์ สปป.ลาว ไดร้ บั ความ ช่วยเหลือผ่านองค์กรของ UN ในนามของสหประชาชาติว่าด้วยการ ต่อต้านการค้ามนุษย์ (UNIAP หรือ United Nations Inter-agency project on Human Trafficking) โดยหลักการของ UNIAP มีดงั นี้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 169

● การปอ้ งกัน กิจกรรมในการป้องกันส่วนใหญ่จะด�ำเนินการครอบคลุมพ้ืนท่ีลุ่ม แม่น้�ำโขง โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการป้องกันส่วนใหญ่เป็นคนวัย หนมุ่ สาวในพน้ื ทช่ี นบท พรอ้ มทง้ั ตงั้ หนว่ ยงานในระดบั ตา่ งๆ เพอ่ื รณรงค์ การเพ่ิมจิตส�ำนึกเกี่ยวกับการค้ามนุษย์และการย้ายถิ่นท่ีปลอดภัย โดย ส่งเสริมให้อาคารเก่ียวกับการศึกษาและความสามารถในการสร้างเครือ ข่ายการคุ้มครองเด็ก และโครงการบรรเทาความยากจนผ่านโครงการ ต่างๆ นอกจากนี้ยังมีความพยายามท่ีจะสนับสนุนการด�ำเนินงานอย่าง ต่อเน่ืองและการปรับปรุงช่องทางการรับสมัครแรงงานที่ถูกต้องตาม กฎหมาย ภายใต้กรอบความร่วมมือการควบคุมแรงงานตามข้อตกลง ความร่วมมอื ดา้ นแรงงานระหว่างประเทศ ● การคุ้มครอง ส่งเสริมมาตรการคุ้มครองต่างๆที่เก่ียวข้องในการคุ้มครองและช่วย เหลือเหยือ่ ใหก้ ลับคนื สูส่ งั คมอยา่ งมคี ณุ ภาพทั้งรา่ งกาย และจติ ใจ ทง้ั น้ี ยังสนับสนุนการด�ำเนินการต่างๆให้เป็นไปตามกฎหมายการคืนสู่สังคม 170

โดยได้ด�ำเนินการในการจัดกิจกรรมฟื้นฟูสภาพจิตใจเหยื่อ กิจกรรม สง่ เสริมการสร้างอาชีพ เป็นต้น ● การดำ� เนนิ คดี สนับสนุนการด�ำเนินคดีที่เก่ียวข้องกับการตรวจสอบโดยเจ้าหน้าท่ี ตำ� รวจ ระบบยตุ ธิ รรมทางอาญาและสถาบนั อนื่ ๆ ของรฐั บาล และหนว่ ย งานของสหประชาชาตอิ นื่ ๆทงั้ ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และประเทศในแถบลุ่มแม่น�้ำโขงในประเด็นการค้ามนุษย์ให้เป็นไปตาม หลักสากลอย่างเคร่งครัด รวมท้ังเสริมสร้างความเข้มแข็งของกรอบ กฎหมายวา่ ด้วยการต่อต้านการคา้ มนุษย์ ● นโยบาย สนับสนุนการด�ำเนินนโยบายที่น�ำโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวในความร่วมมือกับหน่วยงานของ สหประชาชาตแิ ละ INGOs ที่ใชง้ านในภาคการควบคุมการค้ามนษุ ย์ ซ่งึ ในปัจจุบันสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้ด�ำเนินการอยู่ใน ข้ันตอนการอนุมัติแผนแห่งชาติว่าด้วยการด�ำเนินการเกี่ยวกับการค้า มนุษย์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 171

172

บรรณานุกรม ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 173

[1] ขนษิ ฐา โตเลี้ยง, และ สวุ ิมล อตุ อามาตย.์ 2556. 100 เร่ืองนา่ รใู้ น ลาว. กรงุ เทพฯ: บริษัทอมรนิ ทร์พริ้นต้งิ แอนดพ์ ับลชิ ชิง่ จำ� กัด (มหาชน), ตลิ่งชนั , หนา้ 1-64. [2] ณรงค์ โพธิพ์ ฤกษานนั ท์. 2556. อาเซยี นศึกษา. กรงุ เทพฯ: สำ� นกั พิมพแ์ มกกอฮิลล์,พญาไท, หน้า 134-143. [3] รายงานการศึกษากฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคบั ระบบงาน และ แนวปฏบิ ตั ขิ องกระทรวงยตุ ธิ รรม และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ระบบ งานยตุ ิธรรมของประเทศในอาเซียน. กระทรวงยุติธรรม (ม.ป.ป.). [4] วทิ ย์ บัณฑติ กุล. 2555. หนงั สือชดุ ประชาคมอาเซยี นสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั วพี ริ้นท์ (1991) จ�ำกดั , บางเขน, หน้า 1-44. [5] สุรศักด์ิ ศรสี ำ� อาง. 2545. ล�ำดบั กษัตรยิ ล์ าว.  กรุงเทพฯ: ส�ำนกั โบราณคดแี ละพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ กรมศลิ ปากร [6] Asian Development Bank. 2010. Lao PDR: Labor Market Assessment. Presentation mimeo. Vientiane, 26 March 2010. [7] Committee on the Elimination of Discrimination against Women. 2009. Concluding observations of the Committee on the Elimination of Discrimination against Women Lao People’s Democratic Republic. CEDAW/C/LAO/CO/7. [8] Development, I. 2013. IMD World Competitiveness Year book 2013. lausanne, Switzerland: the World Competitiveness Center. 174

[9] Government of Lao People’s Democratic Republic, Decree of Civil Service, 2003, Lao PDR [10] Public Disclosure Authorized. 2010. Report of Lao PDR “Civil Service Pay and Compensation Review”: Attracting and Motivating Civil Servants. [11] UNIAP, World Vision, และ NEXUS. 2012. รายงานวา่ ดว้ ยระบบ และกลไกการด�ำเนนิ งาน (คืน) สสู่ ังคมในประเทศกลมุ่ อนุภูมิภาค ล่มุ แมน่ �ำ้ โขง. [12] UNDP. (2009-2010). Human Development Livelihoods Study. [13] กระทรวงพาณชิ ย์ กรมเจรจาการคา้ ระหว่างประเทศ. 2557. Asean กับ กล่มุ ค่คู ้า. ค้นวันท่ี 2 เมษายน 2557 จาก http://www. dtn.go.th/index.php?option=com_content&view= article&id= 7305%3Aaseanfta&catid=304%3 Aaecasean&ltemid=792&lang=792&lang=th [14] นโยบายการลงทนุ . 2554. สาธารณรัฐประธปิ ไตยประชาชนลาว. คน้ วนั ที่ 1 เมษายน 2557 จาก http://www.boi.go.th/thai/clmv/ Back_up/file_index/2010_laos_0.html [15] ศนู ย์วิจยั กสิกรไทย. 2555. AEC Plus. ค้นวันที่ 1 เมษายน 2557 จาก http://www.askkbank.com/WhatsHot/Documents/ Loas.pdf ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 175

[16] สถาบนั พระปกเกลา้ . 2556. ระบบการปกครองทอ้ งถน่ิ ของประเทศ ลาว. ค้นวนั ที่ 4 เมษายน 2557 จาก www.kpi.ac.th/kpith/pdf/ ผลงาน/.../เนื้อในลาว_OK%2013-08-56.pdf [17] Division for Public Administration and Development Management (DPADM), Department of Economic and Social Affairs (DESA) United Nations. 2005. Lao’s People Democratic Republic Public Administration Country Profile. คน้ เม่ือวนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2557 จาก http://unpan1.un.org/ intradoc/groups/public/documents/un/unpan023237.pdf [18] IPS Correspondants. 2010. LAOS: Getting Women in the News Takes Much More than Policy: http://ipsnews.net/ news.asp?idnews=50065 [19] Investment Promotion Department. 2014. การวางแผนใน การสง่ เสรมิ การลงทนุ . คน้ วนั ที่ 4 เมษายน 2557 จาก http://www. investlaos.gov.la/show_encontent.php?contID=29 [20] Ministry of Education Lao PDR. 2009. Education Sector Development Framework (ESDF), 2009-2015. คน้ วันที่ 14 เมษายน 2557 จาก http://www.globalpartnership.org/media/ library/ Final_ESDF_19_January_Ready_for_FTI.pdf [21] Ministry of Home Affairs. 2014. คน้ วนั ที่ 14 เมษายน 2557 จาก http://www.moha.gov.la 176

[22] Ministry of Industry and Commerce Lao PDR. 2013. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาทางการค้า. คน้ วันที่ 9 เมษายน 2557 จาก http://www.moic.gov.la/Lao/main.asp?detail=damlat& sector=80 [23] Ministry of Foreign Affairs Lao PDR. 2013. คน้ วนั ท่ี 11 เมษายน 2557 จาก http://www.mofa.gov.la [24] National University of Lao. 2014. มหาวทิ ยาลัยแหง่ ชาติลาว. คน้ วนั ที่ 13 เมษายน 2557 จาก http://www.nuol.edu.la/index. php/en/ [25] Prime Minister’s Office Lao PDR. Public Administration and Civil Service Authority (PACSA). ค้นวนั ที่ 29 มีนาคม 2557 จาก http://www.oecdkorea.org/Download/Governance/ Manager/General/File/200810/Laos.pdf [26] The World Bank. (2556). สรปุ การปฏริ ปู กฎระเบยี บราชการใน เอเชียแปซิฟกิ 2551-2552. ค้นวันที่ 27 มนี าคม 2557 จาก http:// web.worldbank.org/ [27] United Nation, 2010. Permanent Mission of the Lao People’s Democratic Republic to the United Nations. ค้นวนั ท่ี 25 มนี าคม 2557 จาก http://www.un.int/lao/ government.php ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 177

[28] UNDP. 2010. Lao People’s Democratic Republic Accelerating progress towards the MDGs, Innovative options for reaching the unreached, 2010. คน้ วนั ท่ี 25 มนี าคม 2557 จาก http://www.undplao.org/newsroom/publication/ MAF%20Report_Lao%20PDR_September%202010.pdf [29] UNESCO Bangkok. 2014. Lao PDR UNESCO Country Programming Document 2012-2015. คน้ วนั ท่ี 26 มนี าคม 2557 จาก http://www.uis.unesco.org/Library/Documents/ lao-pdr-unesco-country-programming-document- education-2012-2015-en.pdf 178

ภาคผนวก ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 179

ลำ� ดบั การเปรียบเทยี บกษตั รยิ ์ ไทย-ลาว[5] ล้่านชา้ ง ลา้ นนา กรุงศรีอยธุ ยา พระไชยจกั รพรรดิฯ พระเจ้าตโิ ลกราช สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ.1992-2023 พ.ศ.1985-2030 พ.ศ.1991-2031 พระยาสวุ รรณบลั ลังก์ พระยอดเชยี งราย พ.ศ.2023-2029 พ.ศ.2030-2039 สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 3 พระยาหลา้ แสนไท พระเมอื งแกว้ พ.ศ.2031-2034 พ.ศ.2029-2039 พ.ศ.2038-2068 พระเมอื งเกษกลา้ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 2 พระยาชมพู ครง้ั ท่ี 1 พ.ศ.2068-2081 พ.ศ.2034-2072 พ.ศ.2039-2044 ครง้ั ที่ 2 พ.ศ.2086-2088 พระยาวิขลุ ราช ทา้ วชายคำ� พ.ศ.2081-2086 สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 4 พ.ศ.2044-2063 พระมหาเทวีจิรประภา พ.ศ.2072-2076 พ.ศ.2088-2089 พระยาโพธสิ าลราช สมเด็จพระไชยเชษฐาธริ าช สมเดจ็ พระรษั ฎาธิราช พ.ศ.2063-2090 พ.ศ.2089-2090 พ.ศ.2076-2077 พระเมกฏุ ิ พ.ศ.2094-2107 สมเดจ็ พระไชยเชษฐาธิราช สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช พ.ศ.2091-2114 พระนางวสิ ทุ ธิเทวี พ.ศ.2077-2089 พ.ศ.2107-2121 สมเดจ็ พระยอดฟ้า นครเวียงจันทร์ (พ.ศ.2103) พ.ศ.2089-2091 พระสมุ ังคละโพธสิ ัตว์ มังนรธาชอ่ พ.ศ.2121-2150 สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ์ ครง้ั ที่ 1 พ.ศ.2115-2119 พ.ศ.2091-2111 ครั้งท่ี 2 พ.ศ.2122-2125 พระมหาอุปราช พ.ศ.2119-2123 สมเด็จพระมหนิ ทราธริ าช พระมหาอปุ ราช พ.ศ.2122-2125 พ.ศ.2111-2112 พระยาวรรัตน์ธรรมประโชตฯิ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช พ.ศ.2127-2141 พ.ศ.2112-2133 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พ.ศ.2133-2153 180

ลา้่ นช้าง ลา้ นนา กรงุ ศรีอยุธยา พระยาวรวงษามหาธรรมกิ ราช พระชอ้ ย-พระชยั ทพิ สมเดจ็ พระเอกาทศรถ พ.ศ.2141-2167 พ.ศ.2050-2056 พ.ศ.2148-2153 พระยาศรสี องเมอื ง พระยาวรวงษามหาธรรมิกราช (เจ้าเมืองน่าน) สมเดจ็ พระศรเี สาวภาคย์ พ.ศ.2141-2167 พ.ศ.2157-2174 พ.ศ.2153 พระอปุ ยุวราช พ.ศ.2141-2167 พระยาหลวงทพิ เนตร สมเดจ็ พระเจา้ ทรงธรรม พระยาบณั ฑิตโพธสิ าลราช พ.ศ.2174-2198 พ.ศ.2153-2171 พ.ศ.2169-2170 สมเด็จพระเชษฐาธริ าช พระยามหาพรหมเทโวโพธิสตั ว์ สมเด็จพระอาทติ ยวงศ์ พ.ศ.2170-2180 พ.ศ.2171-2172 เจา้ ต่อนคำ� สมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง พ.ศ.2180-2181 พ.ศ.2172-2199 พระแสนเมือง พ.ศ.2198-2202 สมเด็จเจ้าฟ้าชยั สมเดจ็ พระศรีสุธรรมราชา พระยาสุริยวงศาธรรมมกิ ราช เจา้ เมอื งแพร่ พ.ศ.2202-2215 พ.ศ.218-2238 พระยาเจา้ อิงเซะมงั พ.ศ.2199 พ.ศ.2215-2228 พระยาเมอื งจนั -เจ้าองค์หล่อ สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พ.ศ.2238 โอรสพระเจ้าเจพตู ราย พ.ศ.2199-2231 พ.ศ.2228-2250 พระยานนั ทราช สมเดจ็ พระเพทราชา พ.ศ.2238-2241 พ.ศ.2231-2246 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 181

ล้านชา้ งแยกเป็น 3 นครรัฐ กรุงศรีอยุธยา เวยี งจันทร์ หลวงพระบาง จำ�ปาศักดิ์ สมเดจ็ พระเพทราชา พระธรรมกจิ ล้านช้างรม่ เจา้ าร้อยศรสี มุทรฯ พ.ศ.2256-2280 พ.ศ.2231-2246 ขาว (เจ้ากิ่งกจิ ) เจา้ องค์หลวงไชยกุมาร พ.ศ.2246-2265 พ.ศ.2280-2334 สมเด็จพระเจ้าเสือ พระไชยเชษฐาธริ าชท่ี 2 สมเด็จพระบรม พ.ศ.2446-2251 (พระไชองศเ์ ว)้ เจ้าองค์คำ� พ.ศ.2241-2273 พ.ศ.2265-2266 ราชาธริ าชท่ี 2 (เจ้าสามพระยา) สมเด็จพระเจา้ ทา้ ยสระ พระมหาธรรมราชาฯ เจา้ อินทโสม พ.ศ.1967-1991 พ.ศ.2251-2275 (เจา้ องค์ลอง) พ.ศ.2266-2292 พ.ศ.2273-2283 เจา้ โชติกะ สมเดจ็ พระเจา้ ทา้ ยสระ พระโพสารทธรรมิกราชฯ พ.ศ.2293-2314 พ.ศ.2275-2301 (เจ้าอุปราชทา้ วนอง) พ.ศ.2283-2296 เจ้าสรุ ยิ วงศ์ พ.ศ.2314-2334 สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั น์ พ.ศ.2301-2310 พระยาไชยเชษฐาธริ าชท่ี 3 พระเจา้ ร่มขาวขตั ยิ ราช กรงุ ธนบรุ ี (เจ้าสริ ิบญุ สาร) สรุ ิยวงษ์ (เจา้ อนุรทุ ธ) สมเดจ็ พะรเจ้ากรุงธนบุรี พ.ศ.2294-2322 พ.ศ.2310-2325 พ.ศ.2334-2359 กรุงรัตนโกสนิ ทร์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้านันทแสน พระโพลทุ กธมยหอาดรฟาช้าจฬุ า พ.ศ.2315-2337 พระยาไชยเชษฐาธริ าชที่ 4 พ.ศ.2325-2352 (เจ้าอินทรวงศ์) พ.ศ.2337-2347 182

กรุงรตั นโกสนิ ทร์ เวยี งจนั ทร์ หลวงพระบาง จำ�ปาศกั ดิ์ พระบาทสมเดจ็ เจา้ พระยาไชยเชษฐาธิราช พระเจา้ มังธาตรุ าช เจา้ หมาน้อย พระพทุ ธเลิศหล้า ท่ี 5 (เจา้ อนวุ งศ)์ พ.ศ.2359-2378 พ.ศ.2356-2360 พ.ศ.2347-2370 เจ้าราชบตุ ร (โย)่ นภาลยั *สน้ิ วงศ์ พระเจา้ ล้านชา้ งร่มขาว พ.ศ.2364-2369 พ.ศ.2352-2367 บรมเสฏขตั ิยฯ เมืองเวยี งจนั ทรถ์ กู ท้งิ (เจา้ สุกเสรมิ ) เจ้าสุย พระบาทสมเด็จ ร้าง หลังสงครามกับกรุง พ.ศ.2381-2393 พ.ศ.2371-2383 พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัตนโกสินทร์ ระหว่าง พ.ศ. พระเจา้ จนั ทรเทพ ประภาคุณ เจา้ นาค พ.ศ.2367-2394 2369-2371 (เจ้าจันทราช) พ.ศ.2384-2393 พ.ศ.2395-2414 พระบาทสมเด็จ เจา้ (ยคตุำ�ใิธหรญรม)่ ธร พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระเจ้ามหนิ ทรเทพ พ.ศ.2399-2401 นภิ าธร (เจา้ อนุ่ คำ�) เจา้ ยตุ ธิ รรมธร พ.ศ.2394-2411 พ.ศ.2415-2431 พระเจ้าสักรินทรฤทธ์ิ (คำ�สุก) พระบาทสมเด็จพระ พ.ศ.2406-2444 จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั (เจา้ คำ�สุก) * หลงั จากเจ้ายตุ ธิ รรม พ.ศ.2432-2448 พ.ศ.2411-2453 ธร (คำ�สุก) พระบาทสมเด็จ สมเด็จพระเจา้ ถงึ แกพ่ ิราลัย ทางการ พระมงกุฏเกลา้ เจ้า ศรสี วา่ งวงศ์ (เจา้ ขาว) พ.ศ.2อ4ย5หู่ 3วั-2469 ฝรั่งเศสได้ยกเลกิ พระบาทสมเด็จ พ.ศ.2448-2502 ตำ�แหนง่ เจา้ ผ้คู รอง พระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั นคร และตัง้ เจา้ ราช พ.ศ.2469-2477 ดนยั (หยยุ ) ราชบุตร พระบามสมเด็จ เปน็ ผู้ว่าการเมอื ง พระปรเมนทรอานันท มหิดล พ.ศ.2477-2489 เมอ่ื พ.ศ.2446 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 183

กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เวยี งจนั ทร์ หลวงพระบาง จำ�ปาศกั ดิ์ พระบาทสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าเสตถา ปรมิทรมหาภมู พิ ล ขตั ิยวงสามหาศรีสว่าง อดลุ ยเดช พ.ศ.2502-2518 พ.ศ.2489-ปจั จุบัน * เสด็จสวรรคตหลังจาก ประเทศลาวยกเลกิ ระ บอบกษตั ริย์และเปลย่ี น แปลงการปกครองไปสู่ ระบอบสาะษรณรัฐเม่อื 2 ธนั วาคม 184

ภาคผนวก ลำ�ดับประธานประเทศ[4] ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 185

  ประธานประเทศคนแรก เจา้ สุภานวุ งศ์ (3 ธนั วาคม พ.ศ. 2518-15 สงิ หาคม พ.ศ. 2534) เจา้ สภุ านวุ งศ์ ประสตู ิเมือ่ วันท่ี 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 เปน็ โอรส 1 ใน 23 พระองค์  ของสมเด็จเจ้ามหาอุปราชบุญคงแห่งหลวงพระบาง กับ หมอ่ มค�ำอ้วน หม่อมห้ามล�ำดบั ท่ี 11 เปน็ พระประยรู ญาตกิ ับเจา้ เพชรราช และเจา้ สวุ รรณภมู า  โอรสทป่ี ระสตู จิ ากพระชายาเอก  และเจา้ สวุ รรณราช โอรสท่ปี ระสูติจากหมอ่ มห้ามลำ� ดบั ท่ี 9 เจา้ สภุ านวุ งศไ์ ดร้ บั การศกึ ษาจากพระอาจารยช์ าวฝรงั่ เศสในหลวงพระบาง แล้วเสด็จไปศึกษาต่อท่ีสถาบันลีเซอัลแบร์ซาโร ท่ีฮานอย ท�ำให้พระองค์มี ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งแนน้ แฟน้ กบั เวยี ดนามไปตลอดพระชนมช์ พี พระองคต์ รสั ภาษาฝรงั่ เศส  ภาษาเวยี ดนาม  และภาษาองั กฤษไดด้ เี ยยี่ ม  หลงั จากจบการ 186

ศึกษาระดับปริญญาตรีด้านวิศวกรรมการก่อสร้างทางและสะพานท่ีปารีส ประเทศฝรงั่ เศส  ไดเ้ สดจ็ กลบั มาลาว  และไดอ้ ภเิ ษกกบั สตรชี าวเวยี ดนามชอื่ เหวยี นธ ิ ภายหลงั ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เปน็ ภาษาลาววา่   เวยี งคำ�   สภุ านวุ งศ ์ มบี ตุ ร ธดิ ารวม 10 คน  เปน็ ชาย 8 คน  และหญิง 2 คน พระองคท์ รงเขา้ รว่ มขบวนการตอ่ ตา้ นฝรงั่ เศสเพอื่ กเู้ อกราช  จนไดร้ บั บาดเจ็บในการต่อสู้กับฝร่ังเศสท่ีเมืองท่าแขก  ระหว่างหนีข้ามแม่น�้ำโขงเข้า มายงั ฝง่ั ไทย ในปี พ.ศ. 2489  ทรงกอ่ ตงั้ กองทพั ปลดปลอ่ ยประชาชนลาวใน พน้ื ท่ีซำ� เหนือ ในปี พ.ศ. 2492  ภายใตก้ ารสนับสนุนของโฮจิมนิ ห ์ ซ่ึงตอ่ มา เปน็ ขบวนการคอมมวิ นสิ ตป์ ระเทศลาว  ตอ่ มาอกี สองปี  ขบวนการประเทศ ลาวก็สามารถครองพื้นท่ี 1 ใน 3 ของประเทศได้  และตั้งฐานที่มั่นที่ยากแก่ การทำ� ลายในถำ้� หนิ ปนู ทแ่ี ขวงหวั พันกบั พงสาลี พ.ศ. 2496 ฝรั่งเศสได้จัดตั้งรัฐบาลลาวขึ้น  อยู่ภายใต้การน�ำของนายก รัฐมนตรีหลายท่านที่เป็นพวกอนุรักษนิยม ได้แก่เจ้าสุวรรณราช และเจ้า สุวรรณภูมา  ส่วนพระองค์นิยมลัทธิคอมมิวนิสต์จนได้สมญานามว่า  “เจ้า ชายแดง” ในป ี พ.ศ. 2517 พระองคเ์ สดจ็ คนื เวยี งจนั ทน ์ ทรงดำ� รงตำ� แหนง่ ประธาน สภาท่ีปรึกษาแห่งชาติอยู่ 18 เดือน  จนสถาปนาประเทศเป็น  “สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว” พระองคไ์ ดร้ บั เลอื กเปน็ ประธานประเทศและ ประธานสภาประชาชนสงู สดุ คนแรก  พรอ้ มกนั นน้ั  พระองคไ์ ดส้ ละฐานนั ดร- ศกั ดท์ิ งั้ ปวงในสมยั ระบอบเกา่   เจา้ สภุ านวุ งศเ์ ปน็ ทร่ี กั ของประชาชนชาวลาว จนเรยี กขานกนั วา่  “ลงุ ประธาน” ทรงดำ� รงตำ� แหนง่ ประธานประเทศมาจนถงึ พ.ศ. 2529 จงึ ลาออกเพราะประชวร  พระองคท์ รงปรากฏตอ่ หนา้ สาธารณชน คร้งั สุดทา้ ยในสมยั ประชุมพรรคครั้งที ่ 5 เม่อื เดอื นมีนาคม  พ.ศ. 2534 พระองค์สนิ้ พระชนมเ์ ม่ือวนั ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2538 ท่ีนครเวยี งจันทน์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 187

ประธานประเทศคนท่ี 2 นายพมู ี วงวจิ ิด (31 ตลุ าคม พ.ศ. 2529-15 สงิ หาคม พ.ศ. 2534) รกั ษาการแทนเจา้ สุภานุวงศ์ พูมี วงวิจิด เกิดเมอื่ วันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2452 ทแี่ ขวงเชียงขวาง ราชอาณาจกั รลาว เปน็ บตุ รของขา้ ราชการพลเรอื นสามญั เขาเขา้ รบั การ ศกึ ษาทเี่ วยี งจนั ทน์ หลงั จากจบการศกึ ษา เขากไ็ ดเ้ ขา้ รบั ตำ� แหนง่ เจา้ เมอื ง 188

เชยี งขวาง และเขาไดเ้ ขา้ รว่ มกบั แนวลาวอสิ ระ จนกระทงั่ ลาวเปน็ เอกราช จากฝรั่งเศส หลังจากที่ล้มล้างราชอาณาจักรลาวแล้ว เจ้าสุภานุวงศ์ได้ข้ึนเป็น ประธานประเทศลาว พมู ไี ดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ รองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรี ว่าการกระทรวงการศกึ ษาและการกฬี าของประเทศลาว เมอ่ื เจ้าสุภาน-ุ วงศ์ถูกบีบบังคับให้สละต�ำแหน่ง พูมีจึงได้ข้ึนเป็นรักษาการประธาน ประเทศลาว และได้ลาออกจากต�ำแหน่งเพื่อให้ไกสอน พมวิหานด�ำรง ต�ำแหนง่ ประธานประเทศลาวแทน ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 189

ประธานประเทศคนที่ 3 นายไกสอน พมวิหาน (15 สิงหาคม พ.ศ. 2534-21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535) ไกสอน พมวหิ าน มีชือ่ ภาษาเวียดนามว่า เหงยี น ไก ซอง หรอื อกี ชอ่ื หนงึ่ วา่ เหงยี น จี๊ มืว ) เป็นบุตรของนายล้วน หรอื เหงียน จี๊ ลวน เป็น ชาวลาวเช้ือสายเวียดนาม ข้าราชการแปลภาษาที่ส�ำนักงานผู้ส�ำเร็จรัฐ การฝร่ังเศสประจ�ำแขวงสุวรรณเขตกับนางดกมารดาชาวลาวเกิดที่ 190

บ้านนาแซง เมืองคันธบุรี (ปัจจุบันคือเมืองไกสอน พมวิหาน) แขวง สุวรรณเขต ประเทศลาว มนี อ้ งสาวสองคน คอื นางสวุ รรณทอง อาศัย อยูใ่ นประเทศไทย และนางกองมณี อาศัยอยู่ในสหรฐั อเมรกิ า เมอื่ อายุ 7 ปี ได้เข้าเรียนโรงเรียนประถมภาษาลาวท่บี า้ นเหนอื (ปจั จบุ ันคอื บา้ น ไซยะพูม) ต่อมาเข้าเรียนโรงเรียนประถมภาษาฝร่ังเศสท่ีบ้านใต้ (บ้าน ท่าแฮ่) เมื่อเรียนจบช้ันประถมเมื่อปี พ.ศ.2477 ได้เข้าเรียนมัธยมที่ โรงเรียนวิทยาลยั โปรเตก็ โตรา (Lyceé du Protectorat) กรงุ ฮานอย ประเทศเวยี ดนาม เมื่อเรียนจบวทิ ยาลัยในปี พ.ศ.2485 ไดส้ อบเข้าเรียน มหาวิทยาลัยในสาขาวิชาแพทย์ตามค�ำแนะน�ำของพ่อ แต่เมื่อเรียนไป รู้ว่าไม่ถูกกับบุคลิกและความชอบในวิชาชีพ จึงได้เปล่ียนมาเรียนวิชา กฎหมาย ซง่ึ ทำ� ใหไ้ ดเ้ รยี นรกู้ ลไกการปกครองแบบหวั เมอื งขนึ้ ของฝรงั่ เศส ไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั ขบวนการตอ่ สขู้ องนกั เรยี นนกั ศกึ ษาทร่ี กั ชาตติ า้ นลทั ธิ ล่าเมืองข้ึนและในช่วงน้ัน เกิดขบวนการเวียดมินห์ ภายใต้การน�ำของ พรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีนโดยประธานโฮจิมินห์ ท่านไกสอนได้ศึกษา เอกสารสงิ่ พมิ พท์ เี่ ปน็ เสยี งของพรรคคอมมวิ นสิ ตอ์ นิ โดจนี รวมทง้ั เอกสาร อื่นๆ เชน่ เลอ ตราวาย (Le Travail), หนังสอื ทฤษฎปี ฏวิ ัติ ซึง่ ในนัน้ รวม ทงั้ มติของการประชมุ คอมมวิ นสิ ต์สากลปี พ.ศ.2462 และหนังสอื อื่นๆ เกยี่ วกบั โซเวยี ต เงอ่ื นไข และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยบรรยากาศแหง่ การต่อสขู้ องเวยี ดมนิ ห์ ไดส้ ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อแนวคดิ และเสน้ ทาง ชีวิตของท่านไกสอน  ซึ่งมีความเห็นว่า “การเคลื่อนไหวของเวียดมินห์ ไดท้ �ำใหเ้ ขาเกดิ แนวคดิ รักชาติ  และอยากใหป้ ระเทศเป็นเอกราช” ป ี พ.ศ. 2487 ทา่ นไกสอนไดเ้ ขา้ เปน็ สมาชกิ ของสมาคมวยั หนมุ่ กชู้ าต ิ เวยี ดมนิ ห ์ ทา่ นไดร้ ว่ มกจิ กรรมของสมาคมนอี้ ยา่ งมากมาย ทำ� ใหไ้ ดเ้ รยี นรู้ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 191

การเคล่ือนไหวของเวยี ดมินห์และท�ำให้ซึมซบั แนวคิดปฏิวตั ิอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2488  สภาพการของโลกได้ผันแปรไปอย่างรวดเร็ว  และ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อชะตากรรมของบรรดาประชาชาติอินโดจีน ตน้ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2488  ศนู ยก์ ลางพรรคคอมมวิ นสิ ตอ์ นิ โดจนี ไดจ้ ดั กองประชมุ ขนึ้   เพอ่ื ตระเตรยี มเงอ่ื นไขอนั จำ� เปน็ ในการลกุ ขน้ึ ยดึ อำ� นาจ การปกครอง  เอาเอกราชแห่งชาตมิ าใหบ้ รรดาประเทศในอินโดจีน ในวันท่ี 9 พฤษภาคม  พ.ศ. 2488  กองทัพแดงโซเวียตได้รับชัยชนะ กองทพั ฟาสซสิ ตเ์ ยอรมนั  ทำ� ใหเ้ ปน็ โอกาสอนั อำ� นวยสำ� หรบั การลกุ ฮอื ขน้ึ ยดึ อำ� นาจไดเ้ กดิ ขนึ้ สำ� หรบั ประชาชนในแหลมอนิ โดจนี   ประธานไกสอน พมวหิ าน ซงึ่ กม็ าถงึ สะหวนั นะเขตไมก่ วี่ นั กไ็ ดเ้ คลอ่ื นไหวคน้ หานกั รกั ชาติ ในขบวนการลาวอสิ ระ  ทง้ั ดำ� เนนิ การปลกุ ระดม และจดั ตงั้ ชาวหนมุ่ ลาว และเวยี ดนามตา่ งดา้ วเขา้ รว่ มในขบวนการตอ่ สยู้ ดึ อำ� นาจทส่ี ะหวนั นะเขต ตามบทเขียนของท่าน สีซะนะ  สีสาน  ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้เข้าร่วมใน ขบวนการนนั้ บนั ทกึ วา่   “ในขณะนนั้  สหาย ไกสอน  พรอ้ มดว้ ยคณะผแู้ ทน ชาวสะหวนั นะเขต ไดไ้ ปหาพวกญปี่ นุ่  และทวงใหญ้ ปี่ นุ่ มอบอำ� นาจใหแ้ ก่ ชาวลาว  ในทส่ี ดุ ในวนั ท ี่ 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2488  พวกญปี่ นุ่ กไ็ ดย้ อมมอบ ปนื  120 กระบอก พรอ้ มลกู ปนื หลายหบี ใหแ้ กช่ าวสะหวนั นะเขต กองกำ� ลงั ตดิ อาวธุ ประชาชนไดร้ บั การจดั ตง้ั ขน้ึ ในทนั ท ี และพรอ้ มกนั นน้ั  ประธาน ไกสอน  และผเู้ ขยี น (ทา่ น สซี ะนะ) กไ็ ดพ้ ากนั ออกไปบา้ นบอกใหบ้ รรดา กำ� ลงั ตดิ อาวธุ  “ลาวอสิ ระ”  เขา้ มาสะหวนั นะเขต  เพอ่ื สมทบกบั กำ� ลงั ตดิ อาวธุ ประชาชนที่ได้จดั ตงั้ ไว้ก่อนแลว้   ใหเ้ ปน็ ก�ำลงั ติดอาวธุ อนั เดียวกัน ภายหลงั ทก่ี ารยดึ อำ� นาจเรยี บรอ้ ยแลว้ ทา่ นไกสอน พมวหิ าน กไ็ ดร้ บั ผดิ ชอบ แผนกแถลงข่าวของแขวง” 192

วันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2488 พวกทหารฝร่ังเศสได้บุกโจมตีเมือง สะหวนั นะเขต และถกู ตอบโตด้ ว้ ยกำ� ลงั ตดิ อาวธุ ประชาชน ตน้ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2488 ท่านไกสอนได้เคลื่อนไหวปลุกระดม และจัดตั้งมวลชนชาว สะหวนั นะเขตเกือบ 2,000 คนเขา้ รว่ มในพิธีตอ้ นรบั เสด็จเจ้าสภุ านวุ งศ์ ทไี่ ดเ้ ดนิ ทางมาจากประเทศเวยี ดนาม ผา่ นสะหวนั นะเขต เพอื่ ไปเขา้ รว่ ม ในคณะรฐั บาลลาวอสิ ระทเ่ี วยี งจนั ทน์ ถงึ เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2488 ทา่ น ไดอ้ อกเดนิ ทางจากสะหวนั นะเขตไปฮานอย เพอ่ื รวบรวมชาวลาวทอี่ าศยั อยู่เวียดนามเข้าร่วมการต่อสู้ เวลาอยู่ฮานอย ท่านได้เข้าท�ำงานท่ีวิทยุ กระจายเสียงเวียดนาม ภาคภาษาลาว ท�ำหน้าท่ีเขียนบทข่าวโฆษณา เขยี นบทวจิ ารณ์ แปลขา่ ว จากภาษาเวยี ดนาม และภาษาฝรง่ั เศสมาเปน็ ภาษาลาว บางครั้งยังเปา่ แคนออกทางวทิ ยุกระจายเสียงอกี ในระหวา่ ง เดือนมีนาคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2489 ประธานไกสอน ได้เข้าร่วม ทำ� งานในคณะตดิ ตอ่ ลาว-เวียดนามท่ีฮานอย  องค์การนเี้ ปน็ องคก์ ารท่ี รวบรวบคนลาวท่ีอยู่ฮานอย และแขวงต่างๆ ของเวียดนาม เพื่อจัดตั้ง องค์การก้ชู าติของคนลาวท่ีอยู่ในเวียดนามหรือที่อพยพไปเวียดนาม ประธานไกสอน ในยุคต่อสู้กับพวกจักรวรรดินิยมล่าเมืองขึ้นทั้งเก่า และใหม่ รว่ มกบั ผนู้ ำ� ทา่ นอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ประธานสภุ านวุ งศ์ ประธานหนฮู กั พมู สะหวนั ประธานคำ� ไต สพี นั ดอน ประธานไกสอนเปน็ ผนู้ ำ� ในการตอ่ สู้ ทางการทหารเขา้ มาในภารกจิ ปลดปลอ่ ยชาติ โดยใชย้ ทุ ธวธิ ี “บวั ไมใ่ หช้ ำ�้ น�้ำไม่ให้ขุ่น” สร้างตั้งพรรคประชาชนลาว โดยท่านเป็นเลขาธิการใหญ่ พรรคคนแรก โดยในช่วงน้ันพรรคด�ำเนินงานอย่างปิดลับ โดยแนวลาว ฮักซาดเป็นตัวแทนให้กับพรรค จนสามารถปลดปล่อยประเทศชาติได้ อยา่ งสมบรู ณ์ จนประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 193

ลาวเมอื่  พ.ศ. 2518  พรรคจงึ ดำ� เนนิ งานอยา่ งเปดิ เผย ทา่ นดำ� รงตำ� แหนง่ นี้จนถึงแก่อสัญกรรม  เมอ่ื ป ี พ.ศ. 2535 ประธาน ไกสอน  พมวหิ าน  เคยเดินทางมาเยือนประเทศไทย อย่าง เป็นทางการในฐานะแขกของรัฐบาล และพระราชอาคันตุกะ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และกราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จ พระราชด�ำเนินทรงเปิดสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งแรก  ที่จังหวัด หนองคาย  และเสด็จพระราชด�ำเนินเยือน สปป.ลาว ด้วย  แต่ว่าท่าน ถงึ แกอ่ สญั กรรมเสยี กอ่ น  ทา่ น หนฮู กั   พมู สะหวนั ประธานประเทศคน ต่อมาจงึ ไดร้ ่วมพธิ ีเปดิ สะพานมติ รภาพแทน ในปี พ.ศ. 2553 เปน็ ปที ่ีประธาน ไกสอน พมวิหาน มีอายุครบ 90 ปี พรรคและรฐั บาล สปป.ลาว ไดจ้ ัดงานเฉลมิ ฉลอง โดยเฉพาะครอบครัว พมวหิ าน  นำ� โดยทา่ นนาง ทองวนิ   พมวหิ าน  ภรรยา  ไดจ้ ดั พธิ อี ทุ ศิ ส่วนกุศล ทบี่ ้านของทา่ น ในวนั ที่ 9-10 ธนั วาคม พ.ศ. 2553 มกี ารสวด พระปรติ มงคล ตอนเช้าถวายสงั ฆทานแดพ่ ระสงฆ์ 9 รูป สว่ นงานที่เป็น รฐั พธิ ี จัดขน้ึ ในวันที่ 12 ธนั วาคม ปัจจุบันอัฐิของท่านได้ประดิษฐานไว้ร่วมกับการน�ำในอดีตท่านอ่ืนๆ ณ สสุ านแห่งชาติ หลัก 24 เมืองไซทานี นครหลวงเวียงจันทน์ 194

ประธานประเทศคนท่ี 4 นายหนฮู กั พมู สะหวนั (25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535-24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2541) นายหนูฮัก  พูมสะหวัน เป็นบุตรของนายทองพักกับนางบันทูน พมู สะหวัน เกดิ เมอื่ วนั ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2453 ในครอบครัวเช้อื สายญวน ที่บ้านพาลุกาลเแขวงเมืองมุกดาหาร (ปัจจุบันขึ้นกับต�ำบลชะโนด  อ�ำเภอ หว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร) ในราชอาณาจักรไทยเมีน้องสาวชื่อนางสีดา พูมสะหวัน เรียนหนังสือชั้นตน้ ทวี่ ัดมโนภริ มย์ ซึง่ เปน็ วดั เกา่ แก่สรา้ งขน้ึ โดย พ่ีชายเจ้าจันทกินรี เจ้าเมืองมุกดาหาร  อน่ึงนางบันทูนผู้เป็นมารดาเป็น หลานสาวของพระอมรฤทธิธาดา  (ญาหลวงทัด)  เจา้ เมืองพาลกุ า  กรภมู ิ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 195

ตอ่ มาครอบครวั ไดย้ า้ ยไปตง้ั ถนิ่ ฐานกบั ครอบครวั ทเี่ มอื งคนั ธบรุ ปี ระเทศลาว ในชว่ งอายุ 14-15 ปี และในปจั จบุ นั บา้ นเดมิ ของหนฮู กั ทพี่ าลกุ า ยงั คงเหลอื เสาบ้านเพยี งเสาเดียวเป็นอนสุ รณ์ ปี พ.ศ. 2493 นายหนฮู กั ไดเ้ ขา้ รว่ มขบวนการตอ่ ตา้ นฝรง่ั เศสในลาวพรอ้ ม กับผู้น�ำของลาวฝ่ายซ้ายคนอื่นๆ ต่อมาเม่ือมีการก่อต้ังพรรคประชาชนลาว (พรรคประชาชนปฏวิ ตั ลิ าวในปจั จบุ นั ) ในปี พ.ศ. 2498 จงึ ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ กรรมการกลางของพรรค ในปี พ.ศ. 2502 นายหนูฮักพร้อมด้วยเจ้าสุภานุวงศ์ และผู้น�ำลาว ฝ่ายซ้ายคนอื่นๆถูกรัฐบาลลาวฝ่ายขวาจับกุม แต่คณะบุคคลดังกล่าวก็ สามารถหลบหนีไปได้และได้เคลื่อนไหวเพอ่ื การปฏวิ ตั ิลาว  โดยนาย หนฮู ัก รับผิดชอบเขตงานแถบภาคเหนือของลาว (เชียงขวางและหัวพัน)  และได้มี บทบาทในการรว่ มรฐั บาลกบั รฐั บาลลาวฝา่ ยขวาทเ่ี วยี งจนั ทนท์ กุ ครง้ั หลงั การ เปล่ียนแปลงการปกครองและสถาปนาประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวในปี พ.ศ. 2518 นายหนฮู กั พูมสะหวันจงึ ไดร้ ับการแตง่ ตง้ั ให้ เป็นรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกระทรวงการเงิน ก�ำกับดูแลเศรษฐกิจ ของประเทศเป็นเวลาหลายปี ในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535 นายหนฮู กั จงึ ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ปน็ ประธาน ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว แทนนาย ไกสอน พมวหิ าน ซงึ่ ถงึ แก่กรรมขณะด�ำรงต�ำแหน่ง จนถงึ ปี พ.ศ. 2541 หลงั จากน้นั จึงดำ� รง ต�ำแหนง่ ทปี่ รึกษาพิเศษของคณะกรรมการศูนยก์ ลางพรรค ต่อมาเปน็ เวลา 5 ปีก่อนจะเกษียณตัวเอง  และเรมิ่ หายหนา้ ไปจากสาธารณชน นายหนฮู ัก พูมสะหวัน ถึงแกอ่ สัญกรรมเม่อื วันที่ 9 กนั ยายน พ.ศ. 2551 ทนี่ ครหลวงเวยี งจันทน์ ประเทศลาว ขณะมีอายุ 98 ปี นับเปน็ ผู้รว่ มการกอ่ ต้งั พรรคประชาชนปฏวิ ัตลิ าวคนสดุ ทา้ ยท่ีถงึ แกอ่ สญั กรรม 196

ประธานประเทศคนท่ี 5 พลเอกคำ� ไต สีพันดอน (24 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2541-8 มิถนุ ายน พ.ศ. 2549) พลเอกค�ำไต สีพันดอน (เกิด 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2467 ที่ แขวง จำ� ปาสัก  ประเทศลาว)  เขา้ รว่ มขบวนการปฏวิ ัตติ งั้ แตป่ ี พ.ศ. 2490 เข้าเป็นสมาชิกขบวนการลาวอิสระพ.ศ. 2495 และได้รับความไว้วางใจ ใหเ้ ปน็ ประธานกรรมการของภาคกลาง จนถงึ พ.ศ. 2497 ซงึ่ เปน็ ปที ไ่ี ดเ้ ขา้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 197

เปน็ สมาชกิ พรรคคอมมวิ นสิ ตอ์ นิ โดจนี   อกี สองปตี อ่ มา  พ.ศ. 2499 เขา้ เปน็ สมาชกิ พรรคประชาชนลาว ซง่ึ ตอ่ มาในพ.ศ. 2500 ไดร้ บั เลอื กเปน็ เขา้ เปน็ กรรมการกลางพรรค และไดด้ ำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ สำ� นกั งานศนู ย์ กลางพรรคฯ ในปี พ.ศ. 2500-2502 และในปี พ.ศ. 2503 ไดเ้ ปน็ หวั หนา้ กองก�ำลังทหารของขบวนการประเทศลาว ซึ่งได้เข้าสู้รบอย่างโชกโชน และได้รับเลือกจากพรรคประชาชนปฏิวัติลาวให้เป็นสมาชิกกรม การเมอื งศนู ยก์ ลางพรรคฯมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2515 และเขา้ มามีต�ำแหนง่ ทางการบริหารต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2518-2534  โดยด�ำรงต�ำแหน่งรองนายก รฐั มนตร ีสปป.ลาว รฐั มนตรกี ระทรวงปอ้ งกนั ประเทศ ผบู้ ญั ชาการกองทพั ประชาชนลาว จนกระทง่ั สภาแห่งชาตเิ ห็นชอบให้ดำ� รงตำ� แหนง่ นายก รฐั มนตร ี สปป.ลาว เมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2534 ตอ่ มาพรรคประชาชน ปฏิวัติลาวเห็นชอบให้ด�ำรงต�ำแหน่งประธานพรรคประชาชนปฏิวัติลาว ตงั้ แต ่ 24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535  และพลเอกคำ� ไต สพี นั ดอนไดก้ า้ วเขา้ ดำ� รงตำ� แหนง่ สงู สดุ ในฐานะประธานประเทศตง้ั แต ่24 ก.พ. 2541-8 ม.ิ ย. 2549 198

ประธานประเทศคนที่ 6 (คนปัจจุบนั ) พลโทจูมมะลี ไซยะสอน (8 มถิ ุนายน พ.ศ. 2549-ปจั จบุ นั ) พลโทจูมมะลี ไซยะสอนเปน็ ชาวลาวเผา่ ลาวล่มุ เกิดเม่ือวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2479 ในครอบครวั ชาวนาทบ่ี า้ นวดั เหนอื เมอื งไซเสดถา แขวงอดั ตะปอื ประเทศลาว ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 199


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook