“วันแรงงาน” กบั สทิ ธติ ามกฎหมายทคี่ นคา้ แรงงานต้องรู้ ข้อมูลจากเวป็ ไซต์ https://www.bangkokbiznews.com/ \"วันแรงงาน\" 1 พฤษภาคม ชวนผคู้ ้าแรงงานไทยไปร้จู ัก \"สิทธิแรงงาน\" และตน้ กาเนิดวัน แรงงานของไทยและทัว่ โลก เมื่อ \"แรงงาน\" เป็นกาลังหลักสาคัญของชาติ และมีกลุ่มผู้ใช้แรงงานในเมืองไทย จานวนไม่น้อยที่อาจจะยังไม่รู้หรือไม่เข้าใจเกี่ยวกับ \"สิทธิแรงงาน\" เนื่องใน วันแรงงาน แห่งชาติ เราจะพาไปเจาะลึกข้อมูลเกี่ยวกับจานวนแรงงานในไทย สิทธิที่ควรรู้ รวมถึง ต้นกาเนิดของวันแรงงานโลก
ตน้ กาเนดิ วันแรงงานสากล (May Day) ย้อนกลบั ไปในสมัยทีโ่ ลกเขา้ สู่ยคุ อตุ สาหกรรม มนุษย์เริ่มรู้จกั ประดิษฐ์เครือ่ งจกั ร ทุ่นแรงนามาใช้ผลิตสินค้าและอาหาร ต่อมาได้นาเครื่องจักรเหล่านี้มาใช้งานควบคู่กับ แรงงานมนษุ ย์โดยไมม่ สี วัสดิการหรือข้อตกลงที่ชัดเจนระหวา่ งนายจา้ งและลกู จา้ ง ตอ่ มา ในปี ค.ศ. 1886 แรงงานในสหรัฐอเมริกาได้เรียกร้องให้กาหนดชั่วโมงการทางานสูงสุด วนั ละ 8 ชว่ั โมง รวมถงึ ใหท้ บทวนสทิ ธขิ องแรงงานด้านอน่ื ๆ ด้วย เรื่องราวบานปลายจนเกิดการชุมนุมและเกิดจลาจลเพื่อเรียกร้องสิทธิแรงงานท่ี จัตุรัสเฮย์มาร์เก็ต ในสหรัฐอเมริกา เกิดการปะทะระหว่างแรงงานและตารวจส่งผลให้มี ผ้บู าดเจบ็ และเสียชีวิตท้งั สองฝ่าย ภายหลงั การสญู เสียทง้ั สองฝา่ ยตอ่ มาจึงไดท้ าข้อตกลง ด้านจ้างงานอย่างเป็นธรรม และมอบสวัสดิการที่เหมาะสมทั้งด้านความปลอดภัยและ ด้านสขุ ภาพให้แก่ผู้คา้ แรงงาน จากเหตกุ ารจลาจลจนทาใหเ้ กิดการตอ่ รองในคร้ังนั้น จงึ มี การกาหนดให้วันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันแรงงานสากลหรือที่เรียกว่า เมย์เดย์ (May Day) ทั้งน้ี มีการจัดต้งั สหภาพแรงงานเปน็ ครั้งแรกของโลกในชว่ งศตวรรษท่ี 19 ซ่ึงช่วง นั้นกาลังอยู่ในกระแสลัทธิสังคมนยิ มของ คาร์ล มาร์กซ์ ที่ได้วิพากษ์ระบบทุนนิยมซ่ึงกด ขชี่ นชนั้ กรรมาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมว่าไมเ่ ป็นธรรมอย่างรา้ ยกาจ
ประวัตวิ ันแรงงานแห่งชาติ ในสมัยกอ่ นประเทศในแถบยโุ รปจะถอื เอาวนั เมยเ์ ดย์ (May Day) เป็นวันเริ่มต้น ฤดูใหม่ทางเกษตรกรรม จึงมีพิธีเฉลิมฉลองและทาการบวงสรวงขอให้ปลูกพืชได้ผลดี รวมถึงขอให้ประชาชนอยเู่ ย็นเปน็ สุข อกี ทั้งทางภาคเหนอื ของยโุ รปกจ็ ะมีการจดั งานรอบ กองไฟในวันนี้ด้วย ซง่ึ ประเพณนี ี้ในประเทศอังกฤษกย็ ังมีสืบทอดกนั มาจนถึงปจั จุบันน้ี จากตอนแรกที่เป็นเพียงวันหยุดพักผ่อนประจาปี ต่อมาประเทศอุตสาหกรรม หลายประเทศจึงถือเป็นวันหยุดตามประเพณีทั่วไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตือนใจให้ ประชาชนตระหนกั ถึงผูใ้ ชแ้ รงงานทไ่ี ด้ทาประโยชนแ์ กเ่ ศรษฐกิจของประเทศ ความหมายของ วันเมย์เดย์ (May Day) จึงเปลี่ยนไปจากเดิม จนเมื่อ ปพี .ศ. 2433 ได้มกี ารเรียกร้องในหลายประเทศทางตะวันตกให้ถอื เอาวนั ที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันแรงงานสากล ทาให้หลายประเทศได้เริ่มฉลองวันแรงงานเป็นครั้งแรกในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2433 และได้สืบทอดมาจนถึงในปัจจบุ นั ประวัติวันแรงงานแห่งชาติในประเทศไทย ในประเทศไทย เมื่ออุตสาหกรรมได้ขยายตัวขึ้น ผู้ใช้แรงงานก็มีปัญหามากขึ้น รวมทั้งปัญหาแรงงานกม็ ีความสลับซับซ้อนยิ่งขึ้น จนทาให้ในปี พ.ศ. 2475 ประเทศไทย ก็ได้เร่ิมมกี ารจดั การบริหารแรงงาน ซึง่ เปน็ การจัดสรรและพฒั นาแรงงานรวมถงึ คุ้มครอง ดูแลสภาพการทางาน เพื่อสร้างรากฐานและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับ ลูกจา้ ง ภาพจาก Michel Piccaya / Shutterstock
โดยในวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2499 คณะกรรมการการจัดงานที่ระลึกแรงงาน ได้จดั ประชมุ ขึน้ พรอ้ มท้งั มีความเหน็ ตรงกันวา่ ควรกาหนดใหว้ ันท่ี 1 พฤษภาคม เป็นวัน ระลึกถึงแรงงานไทย จึงได้มีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีขอให้รับรองวันที่ 1 พฤษภาคม จนเป็นที่มาของวันกรรมกรแห่งชาติ และต่อมาก็ได้เปลี่ยนเป็นวันแรงงานแห่งชาติ และ ในปี พ.ศ. 2500 ก็ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติกาหนดวิธีระงับข้อพิพาทแรงงาน ซ่ึงไดก้ าหนดใหล้ ูกจ้างมีสิทธิ์หยดุ งานในวนั แรงงานแหง่ ชาตดิ ว้ ย แต่พระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวมีอายุเพียงแค่ 18 เดือนก็ถูกยกเลิกไป โดยมี ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 19 มาแทนที่ และมีการให้อานาจกระทรวงมหาดไทย ออกประกาศกาหนดเรื่องการคุ้มครองแรงงาน และกาหนดวันกรรมกรให้เป็นวันหยุด ตามประเพณี แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ในขณะนั้นมีการผันแปร จึงมีคาชี้แจงออกมาใน แต่ละปี เพื่อเตือนนายจ้างให้ลูกจ้างหยุดงานในวันที่ 1 พฤษภาคม แต่ก็มีการขอร้อง ไม่ใหม้ ีการเฉลมิ ฉลองเพื่อความสงบเรยี บร้อยของบ้านเมือง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2517 ได้เปิดให้มีการฉลองตามสมควร จึงมอบให้กรมแรงงาน ที่ขณะนั้นสังกัดกระทรวงมหาดไทย จัดงานฉลองวันแรงงานแห่งชาติขึ้นที่สวนลุมพินี โดยมกี ารทาบญุ ตกั บาตร มีนิทรรศการแสดงความรู้ และกจิ กรรมอืน่ ๆ อกี มากมาย โดยแต่เดมิ นั้นการบรหิ ารแรงงานอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย แต่รัฐบาลได้เล็งเห็นว่าควรจะมีการยกระดับหน่วยงานเพื่อให้มีงบประมาณและ เจ้าหน้าที่สาหรับการดูแลผู้ใช้แรงงานอย่างพอเพียง ในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 จึงได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้จัดตั้งกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม ข้นึ เพือ่ ให้การบรหิ ารงานมคี วามกา้ วหน้าทัดเทียมนานาประเทศ และมหี นา้ ที่ดงั ต่อไปน้ี
1. การจัดหางาน ด้วยการช่วยเหลือคนว่างงานให้มีงานทา ช่วยเหลือนายจ้างให้ ได้คนมีคุณภาพดีไปทางาน รวบรวมเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการทางาน แหล่งงาน ภาวะตลาดแรงงาน 2. งานแนะแนวอาชีพ ให้คาปรึกษาแก่เยาวชนและผู้ประสงค์จะทางาน เพื่อให้ สามารถเลือกแนวทางประกอบอาชีพที่เหมาะสมตามความถนัด ความสามารถทาง รา่ งกาย คณุ สมบัติ บุคลิกภาพ และความเหมาะสมแกค่ วามตอ้ งการทางเศรษฐกิจ 3. การพัฒนาแรงงาน ส่งเสริมพัฒนาฝีมือแก่คนงานและเยาวชนที่ไม่มีโอกาส ศกึ ษาต่อ โดยการฝึกแบบเรง่ รัด 4. งานคมุ้ ครองแรงงาน วางหลักการและวธิ กี ารเก่ียวกับช่วั โมงทางาน วันหยุด งาน ตลอดจนการจัดให้มสี วัสดิการตา่ ง ๆ 5. งานแรงงานสัมพันธ์ ทาการส่งเสริมและสร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้าง กับลูกจ้างให้ทั้งสองฝ่าย เข้าใจถึงลักษณะและสภาพของปัญหา ตลอดจนวิธีการท่ี เหมาะสมท่จี ะช่วยขจดั ความเข้าใจผดิ และข้อขัดแยง้ อ่ืน ๆ ส่วนด้านที่เกี่ยวกับกรรมกรก็ได้มีการจัดตั้งกลุ่มสหภาพแรงงานขึ้นหลายร้อย กลุม่ และยงั ได้รวมตัวกนั จัดต้ังสภาองค์การลูกจา้ งข้นึ เพอื่ ทาหนา้ ท่พี ทิ ักษ์สทิ ธิใหก้ บั ผใู้ ช้ แรงงาน มี 3 สภา ได้แก่ - สภาองค์การลูกจ้างแรงงานแห่งประเทศไทย - สภาองค์การลกู จา้ งแห่งประเทศไทย - สภาองค์การแรงงานแหง่ ประเทศไทย
สิทธแิ รงงานในคาปฏญิ ญาสากล องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation) ได้ถือ กาเนิดขึ้นมาในปี ค.ศ. 1919 (หลังสงครามโลกครั้งที่1) ภายใต้สันนิบาตชาติ ต่อมาใน สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติขึ้นแทนที่สันนิบาติ ชาติ ซึ่งทางองค์การแรงงานระหว่างประเทศก็ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสหประชาชาติ ด้วย โดยสานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ก็ได้กล่าวถึงสิทธิ แรงงานไว้ในคาปฏญิ ญาสากลว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชนไว้ในขอ้ ท่ี 23 และ 24 ดังนี้ ขอ้ 23 1. ทุกคนมีสิทธิในการงาน ในการเลือกงานโดยอิสระในเงื่อนไขอันยุติธรรม และ เป็นประโยชนแ์ ห่งการงาน และการค้มุ ครองแหง่ การวา่ งงาน 2. ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเงินค่าจ้างเท่าเทียมกันสาหรับงานเท่าเทียมกัน โดย ปราศจากการเลือกปฏบิ ตั ใิ ดๆ 3. ทุกคนที่ทางานมีสิทธิที่จะได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรมและเป็นประโยชน์ ที่จะให้ ประกันแก่ตนเองและครอบครัวแห่งตน ซึ่งความเป็นอยู่อันคู่ควรแก่เกียรติศักดิ์ของ มนุษย์ และถ้าจาเป็นกจ็ ะต้องได้รับวถิ ีทางคุม้ ครองทางสงั คมอ่ืนเพ่ิมเตมิ ด้วย 4. ทุกคนมีสิทธิที่จะจัดตั้งและเข้าร่วมสหพันธ์กรรมกรเพื่อความคุ้มครองแห่ง ประโยชน์ของตน ข้อ 24 ทุกคนมสี ทิ ธใิ นการพกั ผอ่ นและเวลาวา่ ง รวมท้งั จากดั เวลาการทางานตามสมควร และวนั หยุดงานเปน็ ครง้ั คราวโดยไดร้ ับสินจา้ ง
\"วันแรงงาน\" ในไทยมคี ร้งั แรกเมือ่ พ.ศ. 2475 วนั แรงงานในประเทศไทยถกู กล่าวถงึ คร้งั แรกในปี พ.ศ. 2475 ซึง่ ตรงกับสมัยจอม พล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี ในรัชสมัยรัชกาลที่ 8 และรัฐบาลได้รับรอง วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันกรรมกรแห่งชาติในปี พ.ศ. 2499 และได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัน แรงงานในปี พ.ศ. 2500 ในยุคแรกของวนั แรงงานนั้น ลกู จา้ งยงั ไม่ได้หยุดงานในวันที่ 1 พฤษภาคม แต่พอ มาในปี พ.ศ. 2517 ทางการไทยได้พิจารณาให้วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันหยุดของผู้ใช้ แรงงานเพื่อให้ได้มีช่วงเวลาเฉลิมฉลองและพักผ่อน ซึ่งในช่วงวันหยุดวันแรงงานมักจะ ใกล้เคียงกับวันพชื มงคลซงึ่ กเ็ ป็นวันหยดุ นกั ขตั ฤกษเ์ ชน่ กัน ผใู้ ชแ้ รงงานท่มี คี รอบครวั เป็น เกษตรกรจึงมักใช้โอกาสนี้เริ่มฤดูกาลหว่านไถไร่นาเตรียมปลูกข้าว ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าว ถือเป็นฤกษ์มงคลในการเพาะปลูกกอ่ นทฤี่ ดฝู นจะเร่ิมต้นขนึ้
\"สทิ ธแิ รงงาน\" ทผ่ี ู้ค้าแรงงานไทยตอ้ งรู้ สิทธิแรงงาน (Labour Rights) หมายถึง สิทธิของผู้ใช้แรงงานในความสัมพันธ์ ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ทั้งสิทธิทางกฎหมายและสิทธิมนุษยชน เช่น อัตราค่าจ้าง จานวนชั่วโมงการทางาน สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในที่ทางาน สิทธิในการ จัดตั้งสหภาพแรงงาน เป็นต้น สาหรับสิทธิแรงงานตามกฎหมายไทย ระบุไว้หลายข้อ ดังนี้ 1. เวลาทางาน สาหรับงานทั่วไปกาหนดให้ทาไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ สาหรับงานอันตรายตามท่ีกาหนดในกฏกระทรวง กาหนดให้ทาไม่เกิน 7 ชั่วโมง ต่อวนั และไม่เกนิ 42 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ 2. เวลาพกั ในวันที่มีการทางานให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพักติดต่อกันไม่น้อยกว่า วันละ 1 ชั่วโมง ภายใน 5 ชัว่ โมงแรกของการทางาน หรอื นายจ้างและลกู จา้ งจะตกลงกนั ล่วงหน้าให้มีเวลาพักน้อยกว่าครั้งละ 1 ชั่วโมง ก็ได้แต่ต้องไม่น้อยกว่าครั้งละ 20 นาที และเม่ือรวมกันแล้วตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ วนั ละ 1 ช่วั โมง กรณีงานในหน้าทม่ี ลี กั ษณะต้องทาตดิ ตอ่ กันไปหรอื เป็นงานฉุกเฉินโดยจะหยดุ เสยี มไิ ด้ นายจ้างจะไม่จัดเวลาพกั ใหล้ กู จ้างกไ็ ด้ แตต่ ้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง 3. วันหยดุ ประจาสปั ดาห์, วนั หยุดประเพณี, วนั หยุดประจาปี วันหยุดประจาสัปดาห์ : ลูกจ้างต้องมีวันหยุดไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน โดยมี ระยะห่างกนั ไม่เกิน 6 วนั และลูกจา้ งมีสิทธไ์ิ ด้รบั ค่าจา้ งในวันหยดุ ประจาสปั ดาห์ (ยกเวน้ ลูกจ้างรายวันหรือรายชั่วโมง) โดยนายจ้างและลูกจ้างสามารถตกลงกันล่วงหน้า และ กาหนดให้มีวันหยุดประจาสัปดาห์วันใดก็ได้ สาหรับงานโรงแรม งานขนส่ง งานในป่า งานประมง งานดบั เพลิง หรืองานอน่ื ๆ ตามทกี่ ฎกระทรวงฯ กาหนด นายจ้างและลูกจา้ ง ใหต้ กลงกันล่วงหน้า สามารถสะสมและเล่อื นวันหยุดประจาสปั ดาหไ์ ปเมือ่ ไดกไ็ ด้ แตต่ อ้ ง อยู่ในระยะเวลาไม่เกนิ 4 สัปดาหต์ ดิ ตอ่ กนั
วันหยุดตามประเพณี : ลูกจ้างต้องได้ไม่น้อยกว่าปีละ 13 วัน โดยรวมวันแรงงาน แห่งชาติด้วย ถ้าวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจาสัปดาห์ ให้หยุดชดเชยในวัน ทางานถัดไป ลูกจา้ งมีสทิ ธไ์ิ ดร้ บั ค่าจ้างในวนั หยดุ ตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจาปี : ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันมาครบ 1 ปี มีสิทธิหยุดพักผ่อน ประจาปีไม่น้อยกว่าปีละ 6 วันทางาน ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อน ประจาปี ถ้าลูกจ้างที่ทางานยังไม่ครบ 1 ปี จะให้หยุดตามส่วนก็ได้ ให้นายจ้างเป็นผู้ กาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปีให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าหรือกาหนดตามที่ตกลงกัน นายจ้างและลูกจ้างจะตกลงกันล่วงหน้าสะสมและเลื่อนวันหยุดพักผ่อนประจาปีไปรวม หยุดในปอี น่ื ก็ได้ 4. การทางานล่วงเวลา และการทางานในวันหยุด ในกรณีทง่ี านมีลักษณะต้องทาตดิ ต่อกนั ไป ถา้ หยดุ จะเสียหายแกง่ านหรือเป็นงาน ฉุกเฉิน นายจ้างอาจให้ลกู จา้ ง ทางานล่วงเวลา หรอื ทางานในวนั หยุดเทา่ ทจี่ าเปน็ กไ็ ด้ ส่วนกิจการโรงแรม สถานมหรสพ งานขนส่ง ร้านขายอาหาร ร้านขายเครื่องดื่ม สโมสร สมาคม สถานพยาบาล และกจิ การอ่นื ตามทีก่ ระทรวงจะได้กาหนดนายจา้ งจะให้ ลูกจ้างทางานใน วันหยุดเท่าที่จาเป็นก็ได้ โดยได้รับความยินยอมจากลูกจ้างเป็นคราวๆ ไป ในกรณีที่มีการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า สองชั่วโมง นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างมีเวลาพัก ไม่น้อยกว่ายี่สิบนาที ก่อนที่ลูกจ้างเริ่ม ทางาน ล่วงเวลา (ยกเว้นงานที่มีลักษณะหรือสภาพของงานต้องทาติดต่อกันไป โดยได้รับความ ยินยอมจากลกู จ้างหรอื เปน็ งานฉกุ เฉิน)
5. คา่ ล่วงเวลาและค่าทางานในวันหยดุ ถ้าทางานเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจา่ ยคา่ ลว่ งเวลา ไม่นอ้ ย กว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวน ชั่วโมงที่ทาหรือไม่ น้อยกว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อหน่วย ในวันทางานตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจา้ งท่ีไดร้ บั ค่าจา้ งตามผลงาน ถ้าทางานในวนั หยดุ เกินเวลาทางานปกติของวัน ทางานนายจ้างต้องจ่าย ค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างในอัตราสามเท่าของอัตรา ค่าจ้างต่อชั่วโมง ในวันทางานตามจานวนชั่วโมงที่ทาหรือตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับ ลกู จา้ งท่ีได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย ถ้าทางานในวันหยุดในเวลาทางานปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุด ให้แกล่ ูกจ้างทีม่ สี ิทธไิ ดร้ ับคา่ จ้างในวนั หยุดเพ่ิมขึ้นอกี 1 เทา่ ของค่าจา้ ง ในวันทางานตาม ชั่วโมงที่ทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้าง ตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย สาหรับลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดต้อง จ่ายไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของค่าจ้างในวันทางานตามชั่วโมงที่ทางานในวันหยุดหรือตาม จานวนผลงาน ท่ที าไดส้ าหรบั ลกู จา้ งทไ่ี ดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย 6. ค่าชดเชย ลกู จ้างมีสิทธไิ ดร้ บั ค่าชดเชย หากนายจ้างเลกิ จา้ งโดยลูกจา้ งไม่มีความผดิ ดงั น้ี - ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับ ค่าจา้ งอตั ราสุดท้าย 30 วัน - ลกู จ้างซ่งึ ทางานติดตอ่ กันครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มสี ทิ ธไิ ดร้ ับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้าง อัตราสดุ ท้าย 90 วนั - ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบ 3 ปีแต่ไม่ครบ 6 ปี มีสิทธิได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจา้ ง อตั ราสุดท้าย 180 วัน - ลูกจ้างซ่งึ ทางานติดต่อกันครบ 6 ปี แตไ่ มค่ รบ 10 ปี มีสทิ ธไ์ิ ดร้ บั ค่าชดเชยเทา่ กับอัตรา คา่ จ้างสุดท้าย 240 วัน
- ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตรา สดุ ทา้ ย 300 วัน - ในกรณีที่นายจ้างจะเลิกจา้ งลกู จ้างเพราะเหตุปรับปรงุ หน่วยงาน กระบวนการผลิตการ จาหน่ายหรือการบริการอันเนื่องมาจากการนาเครื่องจักรมาใช้หรือเปลี่ยนแปลงเครื่อง จักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเหตุให้ต้องลดจานวนลูกจ้างลง นายจ้างต้องแจ้งวันที่จะเลิก จ้าง เหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้างที่จะถูกเลิกจ้างให้ลูกจ้างและพนักงาน ตรวจแรงงานทราบล่วงหนา้ ไม่น้อยกว่าหกสิบวนั ก่อนวนั ที่จะเลกิ จา้ ง “หากไม่แจง้ แก่ลกู จา้ งทีจ่ ะเลกิ จา้ งทราบลว่ งหนา้ หรือแจ้งล่วงหนา้ น้อยกวา่ ระยะเวลา 60 วนั นายจา้ งต้องจา่ ยค่าชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ แก่ ลูกจ้างเทา่ กับคา่ จ้างอตั ราสดุ ท้าย 60 วนั คา่ ชดเชยแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้านใี้ ห้ ถือว่านายจา้ งได้จา่ ยค่าสินจา้ งแทน การบอกกล่าวล่วงหน้าตามกฎหมายด้วย” ทม่ี า : https://www.bangkokbiznews.com/
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: