1 รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษาต้นแบบ การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา โดย นางวไิ ลวรรณ แก้วถาวร กล่มุ ที่ 20 เลขที่ 9 สงั กัดวิทยาลัยการอาชีพคลองท่อม สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
2 คานา รายงานฉบับน้ี เป็นรายงานการฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษาต้นแบบ หลกั สูตรการพัฒนา ข้าราชการครูบุคลากรทางการศกึ ษา กอ่ นแต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ในระหว่างวันที่ 18 เมษายนถงึ 11 พฤษภาคม 2565 ประกอบด้วย แนว ปฏิบัตแิ ละภารกจิ ของผ้เู ข้ารับการพัฒนาการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษาการพฒั นาสมรรถนะรอง ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาครอบคลมุ เนื้อหาท้งั 3 สมรรถนะ คือ การดารงตนของรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา อาชวี ศึกษายุคชวี ิตวถิ อี นาคต Next normal ภาวะผนู้ าทางวิชาการ และวิชาชพี อาชวี ศกึ ษา และการบรหิ าร สถานศึกษาอาชวี ศึกษา รวมถึงการศึกษาดงู าน การนาเสนอผลงาน และการประเมินผลการพัฒนาต้องศึกษา และทาความเข้าใจเพ่ือให้สามารถปฏบิ ัติตนได้อย่างถูกต้อง สามารถนาความรู้ และประสบการณ์จากการ พัฒนาไปประยุกต์ใชใ้ นการบริหารสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งคุณภาพต่อไป ข้าพเจา้ ขอขอบคุณ คณะผู้บริหารและบคุ ลากรทางการศึกษา วทิ ยาลัยเทคนิคจะนะ และวิทยาลัย อาชีวศกึ ษา ซ่ึงเปน็ สถานศกึ ษาต้นแบบ ทีไ่ ด้ถา่ ยทอดความรู้และประสบการณ์หลักการบรหิ ารและข้อมูลการ บริหารการจดั การศกึ ษาในการจัดทารายงานฉบบั น้ีใหส้ มบูรณ์ ขอขอบคุณ ดร.พลู สขุ ธชั โอภาส และ ดร.ปรีดี เกตุทอง วทิ ยากรพีเ่ ลย้ี งที่กรุณาให้ข้อคดิ เห็นในการนาทฤษฎมี าใชใ้ นการทารายงานคร้งั นีแ้ ละ ขอขอบคุณผู้เกีย่ วข้องทุกทา่ นท่ีใหค้ วามร่วมมือให้รายงานฉบับน้ปี ระสบความสาเร็จ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี นางวไิ ลวรรณ แกว้ ถาวร
สารบญั 3 รายการ หนา้ บรบิ ทสถานศึกษาต้นแบบ ๔ กลยุทธ์ในการขับเคล่ือน Future Skill ๕ การสร้างความเขม็ แขง็ และความรว่ มมือในองคก์ รและสถานประกอบการณ์ ๗ ระบบบริหารจดั การสู่คณุ ภาพ ๙ การขับเคลื่อนระบบงานวชิ าการ ๑๑ ภาคผนวก
4 ใบนาเสนองาน รายงาน 4 ประเด็น จากการเข้ารับการฝึกประสบการณ์ ในตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ณ 1.วทิ ยาลัยเทคนคิ จะนะ ระหว่างวนั ท่ี 25-29 เมษายน 2565 2.วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ระหว่างวันที่ 2-6 พฤษภาคม 2565 วิทยากรพี่เลี้ยง...........ผอ.พูนสขุ ธชั โอภาส......................................................................................... ชื่อ-สกุล นางวไิ ลวรรณ แก้วถาวร กล่มุ ที่ 20 เลขท่ี 9 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้าพเจา้ นางวิไลวรรณ แกว้ ถาวร เข้ารบั การฝกึ ประสบการณ์ในตาแหนง่ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา ในสถานศึกษาตน้ แบบ จานวน 2 สถานศึกษา คือ สถานศึกษาท่ี 1 วิทยาลัยเทคนิคจะนะ ระหว่างวันท่ี 25 - 29 เมษายน 2565 และสถานศึกษาท่ี 2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี ระหว่างวันท่ี 2 - 6 พฤษภาคม 2565 ขอสรปุ รายงานการฝึกประสบการณใ์ นตาแหน่งรองผอู้ านวยการสถานศึกษา ดงั น้ี บรบิ ทสถานศกึ ษาต้นแบบ บริบทวิทยาลยั เทคนคิ จะนะ วิทยาลัยเทคนคิ จะนะ เปน็ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มุ่งเสริมสร้าง และพัฒนากาลังคนของประเทศ ให้มีคุณภาพในการประกอบอาชีพ ตามนโยบายของรัฐบาล เพ่ือตอบสนอง ความต้องการของสังคมและประเทศชาติให้เป็นผู้ท่ีมีความรู้ มีทักษะวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมเหมาะสมท่ี จะเปน็ พลเมืองดีของชาติ ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 8 สาขา งาน และระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) จานวน 8 สาขางาน สถานที่ต้ัง อยู่เลขที่ ๘๗ หมู่ ๘ ถนน หาดใหญ่ – จะนะ ตาบลจะโหนง อาเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสไปรษณีย์ ๙๐๑๓๐ โดยใช้ที่ดินสาธารณะ ประโยชนท์ ่งุ พันตนั บนเน้ือท่ี ๙๘ ไร่ ๒ งาน ๗.๑๐ ตารางวา ปรัชญาของสถานศกึ ษา \"คุณภาพเลิศ ประเสรฐิ คุณธรรม กา้ วนาวชิ า พัฒนาสังคม\" วิสัยทัศน์ วิทยาลัยเทคนิคจะนะ “มุ่งจัดการศึกษาเพ่ือผลิตกาลังคนด้านวิชาชีพท่ีหลากหลาย ให้มี ฝีมือควบคู่คุณธรรม ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่ มาตรฐานสากล” พันธกิจ 1) จัดการศึกษาวิชาชีพที่หลากหลาย มีคุณภาพควบคู่คุณธรรม สอดคล้องกับ ตลาดแรงงาน 2) นาแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบริหารจัดการการศึกษา 3) สร้างเครือข่าย ความรว่ มมอื กับทกุ ภาคสว่ น ๓) พัฒนาองค์ความรู้ การวิจยั นวตั กรรม และเทคโนโลยสี ่สู ากล บรบิ ทวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษา มีพ้ืนท่ีท้ังหมด 7 ไร่ 1 งาน 80.3 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ 456/3 ตาบลตลาด อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบันจัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 16 สาขางาน และระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จานวน 14 สาขางาน ปรชั ญาของสถานศึกษา \"วชิ าดี มที ักษะ ใฝธ่ รรมะ สามคั คี มวี ินยั \"
5 วิสยั ทศั น์/พันธกิจของวิทยาลยั อาชวี ศึกษาสรุ าษฎร์ธานี “วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสุราษฎรธ์ านเี ปน็ สถานศึกษาทผี่ ลติ และพัฒนากาลังคนดา้ นอาชวี ศึกษาอยา่ งมคี ณุ ภาพ เพ่ือตอบสนองความต้องการของประเทศสสู่ ากล” ประเด็นในการศกึ ษาการฝกึ ประสบการณต์ าแหน่งรองผอู้ านวยการสถานศึกษา ประกอบดว้ ย 4 ประเดน็ ดังน้ี - กลยทุ ธ์ในการขับเคล่อื น Future Skill - การสรา้ งความเข็มแข็งและความร่วมมอื ในองคก์ รและสถานประกอบการณ์ - ระบบบริหารจดั การสคู่ ุณภาพ - การขบั เคลื่อนระบบงานวิชาการ 1. กลยทุ ธใ์ นการขบั เคล่อื น Future Skill สถานศึกษาวิทยาลัยเทคนิคจะนะ และวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี มีกลยุทธ์ในการขับเคล่ือน วิทยาลัยท่ีมีความคล้ายคลึงกัน การขับเคลื่อนให้วิทยาลัยประสบผลสาเร็จในลักษณะของ Future Skill หรือ ทักษะแห่งอนาคต ซ่ึงเป็นทักษะท่ีมีความสาคัญอย่างมากสาหรับโลกในอนาคต ที่เทคโนโลยีต่างๆ จะเข้ามามี บทบาทอย่างเต็มรูปแบบ โดยแต่ละวิทยาลัยจะใช้หลักการบริหารที่มีคุณภาพเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน เพื่อให้สถานมคี ณุ ภาพ และผลิต พฒั นากาลังคน ตามคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ในศตวรรษที่ 21 กลยุทธใ์ นการขบั เคลอื่ น Future Skill เพ่ือความสาเร็จของการปฏบิ ัติงาน สรุปไดด้ ังนี้ 1.1 กลยุทธ์ในการขับเคลื่อน Future Skill โดยใช้กระบวนการวงจรการบริหารเชิงคุณภาพ PDCA เป็นหลักการบริหารท่ีสาคัญ สาหรับการบริหารองค์กรให้ขับเคลื่อนเดินไปข้างหน้า ซึ่งมีสาระสาคัญ ดงั น้ี 1) ขัน้ ตอนของการวางแผน (Plan) คอื การคิดค้นหาทางเลือกลว่ งหน้าท่ีดที สี่ ดุ ในการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างประหยัด ให้ได้ผลคุ้มค้าท่ีสุด โดย การดาเนินงานตามขั้นตอนอย่างเป็นระบบแบบแผน เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ตี่ ้ังไว้ 2) ขน้ั ลงมือ ปฏบิ ตั ิ (Do) เป็นการดาเนินการตามแผนทวี่ างไว้ตามข้ันตอน กบั การ ประสานงานกบั ฝ่ายบริหาร และฝา่ ยอื่น ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3) ขนั้ ตรวจสอบหรอื ประเมนิ ผล (Check) การติดตามตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงาน ตามที่ กาหนดเปรียบเทยี บผลงานกบั เปา้ หมาย และเพ่ือรายงานความคบื หนา้ บนการปฏิบัติ ประมวล ข้อคิดเห็น และ ขอ้ ผดิ พลาดต่าง ๆ และสรปุ เพ่อื ดาเนนิ การแกไ้ ขปรบั ปรุง 4) การแก้ไขปรบั ปรงุ (Action) เป็นการนาผลมาวเิ คราะห์พจิ ารณาหาต้นตอสาเหตุ ขอ้ บกพร่อง การระดมสมองเพ่ือแก้ไขปญั หาตามที่ได้กล่าวมาแล้วขา้ งต้น 1.2 กลยุทธใ์ นการขับเคลื่อน Future Skill โดยใชแ้ ผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ประกอบดว้ ย - กาหนดเป้าหมายทีช่ ัดเจน - ยทุ ธศาสตร์ - วิสัยทัศน์
6 - พันธกจิ แนวปฏบิ ัติที่ชัดเจน สมบูรณ์ครอบคลุมการพฒั นาทกุ กิจกรรมโครงการ 1.4 กลยุทธใ์ นการขับเคล่ือน Future Skill โดยใช้เกณฑ์สถานศึกษารางวลั พระราชทาน เกณฑ์สถานศึกษารางวลั พระราชทาน ประกอบด้วย 1) คุณภาพนกั เรยี น นกั ศึกษา 2) การบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการ 3) การบรหิ ารจัดการ 4) ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสถานศกึ ษากบั ผ้ปู กครองและชุมชน 5) บุคลากรและการบรหิ ารงานบุคลากร 6) ความดีเดน่ ของสถานศึกษา 1.5 กลยทุ ธใ์ นการขับเคลอ่ื น Future Skill โดยใชเ้ กณฑก์ ารประกันคณุ ภาพการศึกษาอาชีวศึกษา เกณฑ์การประกนั คณุ ภาพการศึกษาอาชวี ศึกษา ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานที่ 1 คณุ ลกั ษณะของผู้สาเร็จการศึกษาอาชีวศกึ ษาท่ีพงึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชวี ศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ 2. การสรา้ งความเขม้ แข็งและความร่วมมือในองค์กรและหนว่ ยงานภายนอก 2.1 การมีส่วนร่วมของผู้ครองและชุมชนต่อการจัดการศึกษา โดยมีเครือข่ายผู้ปกครอง ชุมชน และ ท้องถ่ินให้การสนับสนุนในการจัดการศึกษา ในส่วนของการสนับสนุนทรัพยากร สนับสนุนพื้นท่ีให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ 2.2 ความร่วมมือกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยร่วมมือกันในการประชาสัมพันธ์การรับรู้ ข่าวสารการรับสมัคร นักเรียน นักศึกษา และสถานศึกษาให้ความช่วยเหลือชุมชนในโครงการจิตอาสา เช่น โครงการอาชีวะอาสาปีใหม่ โครงการอาชีวอาสงกรานต์ โครงการอาชีวอาสาร่วมด้วยช่วยประชาชน (Fix it Center) เปน็ ตน้ 3. ระบบบริหารจดั การคุณภาพ ระบบบริหารจัดการคุณภาพในการบริหารท้ังสองสถานศึกษา ใช้วงจรการบริหารเชิงคุณภาพ PDCA ในการปฏิบัติงานหรือโครงการทุกส่วนขององค์กร เพ่ือให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย และนโยบายการ จดั การศึกษา โดยการจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ซึ่งการประกันคุณภาพภายในเป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประกันคุณภาพภายนอก โดยใช้หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการ ประกันคุณภาพการศึกษา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ได้แก่ มาตรฐานที่ 1 ดา้ นคุณลักษณะของผูเ้ รียนอาชีวศกึ ษาที่พึงประสงค์ มาตรฐานท่ี 2 ด้านการจัดการอาชีวศึกษา และมาตรฐานท่ี 3 ด้านการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้ มเี กณฑก์ ารประเมินคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ.2561 จานวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผู้เรียนและผู้สาเร็จ การศกึ ษา 2) ดา้ นหลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน 3) ด้านครูผูส้ อนและผู้บริหารสถานศึกษา 4) ด้าน การมีส่วนรว่ ม และ 5) ด้านปัจจัยพนื้ ฐาน
7 ทง้ั สองสถานศึกษาได้ดาเนินการจัดการศึกษาและประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามหลักเกณฑ์ และแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาจัดทาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาของสถานศึกษาและจัดทารายงานผลการ ประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ต่อสานกั มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา สถานศึกษาได้จัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซ่ึงกาหนดเป้าหมายและ แนวทางในการบริหารจัดการอาชีวศกึ ษาของวิทยาลยั เทคนิคจะนะและวิทยาลัยอาชีวศึกษา ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนเป็น ผมู้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา เปน็ เกง่ คนดี และมคี วามสขุ มีความรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานสากล มีคุณธรรมจรยิ ธรรม มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม บนพื้นฐานความเป็นไทย และน้อมนาหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การดาเนินชีวิตและการศึกษา ครูผู้สอนจัดทาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล เป็น สารสนเทศ และเอกสารประจาช้ันเรียนอย่างเป็นปัจจุบันสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนและโรงฝึกงานท่ีเอื้อต่อ การเรียนรู้และฝึกทักษะ มีการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มีการจัดกิจกรรมท่ี หลากหลายตามความสนใจและความถนัดของผู้เรียน เป็นไปตามมาตรการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ ไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ซึ่งผู้เรียนมีโอกาสได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและปลอดภัย มีการ วัดผลประเมินผลตามสภาพจริงทุกแผนกวิชาและกลุ่มทักษะวิชาชีพ ทาให้ผู้เรียนมีทักษะวิชาชีพ ความรู้ ความสามารถอย่างดีส่งผลให้ผู้เรียนสามารถบริการวิชาชีพสู่ชุมชนได้เป็นอย่างดี สามารถใช้เทคโนโลยีในการ แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดี และบุคลากรครูได้ พัฒนาตนเองทางด้านวิชาการ วิชาชีพ และงานวิจัย ควบคู่ไปกับการพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง ท้ังรูปแบบ On Line และ On Site การบริหารจดั การศกึ ษาให้มคี ุณภาพไดด้ าเนินการนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามยุทธศาสตร์ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นโยบาย ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษา ใน ระยะ 15 ปี ซ่ึงมุ่งปรับปรุงปัจจัยสนับสนุนและกระบวนการจัดอาชีวศึกษาให้เกิดคุณภาพ ท้ังในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี 1) ดา้ นการพฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ คี ณุ ภาพ และดาเนินการตามภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา โดยการพฒั นาผู้เรยี นและประชาชน ดว้ ยดาเนนิ การเสริมสร้างทกั ษะเดิมทมี่ ีอยู่ ใหย้ งั สามารถใชก้ ับโลกปัจจุบัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Up Skill) การปรับทักษะเดิมโดยนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้ประกอบในการ ทางานให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพมากข้ึน (Re Skill) และ ความเป็นเลิศเฉพาะทางของสถานศึกษา (Excellent) 2) ให้ความสาคัญกับครู และผู้บริหารสถานศึกษาซ่ึงเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จ โดยมุ่งเพ่ิมพูน ขีด ความสามารถของครูในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เชน่ การสง่ เสริมให้ครูผู้สอนได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองทั้งตนเองและวิชาชีพ จนสามารถพัฒนาตนเองจนมี ความก้าวหน้าสามารถยกระดับตนเองจากครูจ้างเป็นพนักงานราชการ จากพนักงานราชการ เป็นข้าราชการ
8 จากครูเป็นเป็นรองผู้อานวยการ จากรองผู้อานวยการเป็นผู้อานวยการ ซ่ึงหมายรวมถึงการไปปฏิบัติงานใน ตาแหนง่ ใหมใ่ นสถานศึกษาอื่น ๆ ด้วย และการดึงคนเกง่ จากสถานประกอบการมาเป็นผู้สอนซ่ึงเป็นการพัฒนา ระบบทวิภาคีแบบเข้มข้น รวมถึงการสร้างคนเก่งขึ้นมาเอง ภายใต้โครงการสาหรับการพัฒนาบุคลากรท่ี หลากหลาย 3) ยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคลอ้ งและเชือ่ มโยงกับสถานประกอบการ โดยเนน้ ความรว่ มมอื ในการจัดอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคี และการฝึกงาน เช่น การพัฒนาหลักสูตรการจัดการ เรียนการสอน และหลักสูตรฐานสมรรถนะ ตามที่สถานประกอบการและชุมชนมีความต้องการ โดยให้สถาน ประกอบการและชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและแผนจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนใน ระบบทวิภาคแี บบเข้มขน้ สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียน การสอน ต้ังแต่การ ทาหลกั สตู ร แผนการเรยี น ร่วมทุนพัฒนาผู้สอน สนับสนุนเคร่ืองมือ เครื่องจักร ครุภัณฑ์ รับผู้เรียนเข้ารับการ ฝึกประสบการณ์ และรับผูเ้ รยี นทสี่ าเร็จการศึกษา เขา้ ทางานในสถานประกอบการท่ีฝึกฝึกประสบการณ์ผู้เรียน มา 4) เตรียมความพรอ้ มกาลังคนใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการอาชีวศึกษาและความต้องการ ของตลาดแรงงาน ตอบสนองยุทธศาสตร์ 20 ปี การเพ่ิมขีดความสามารถทางภาษา และสมรรถนะกาลังคน อาชีวศึกษาให้มีมาตรฐานในระดับสากล รวมถึงการอบรมพัฒนาทักษะทางภาษาต่างประเทศท่ีสอดรับและ จาเป็นให้กับครูและนักเรียน นักศึกษา ภายใต้วิกฤตของการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ด้วย โครงการพัฒนาทักษะทางด้านดิจติ อลเพ่ือการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา เปน็ ตน้ 4. การขับเคลอ่ื นระบบงานวิชาการ 4.1 กาหนดโยบาย 10 ข้อ เพื่อสง่ เสริมการจดั การศึกษาไดแ้ ก่ 1) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ จดั การศึกษา โดยยดึ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั เพ่อื พัฒนาทักษะความรดู้ ้าน วชิ าการ ด้านทักษะฝมี อื และดา้ นคุณธรรม ตามปรชั ญาของวิทยาลยั เทคนิคจะนะ อาเภอจะนะ จงั หวดั สงขลา “คณุ ภาพเลศิ ประเสรฐิ คุณธรรม ก้าวนาวชิ า พฒั นาสังคม” 2) ดา้ นการจดั การเรียนการสอนครูผ้สู อน “ตรงเวลา เต็มเวลา และเตม็ ความสามารถ” ประธานแจ้’ทปี่ ระชุมเพ่มิ เติม ครูผสู้ อนควรใช้หลักการบูรณาการ การเรียนการสอนให้ตรงเวลา 3) ด้านครูท่ปี รึกษา ครูทป่ี รกึ ษา “รแู้ ละเข้าใจนกั เรียน นกั ศกึ ษา ตดิ ตามและแก้ปญั หาเป็น รายบุคคล” 4) ประสานสัมพนั ธ์ใหบ้ ริการชมุ ชน เพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจและเกดิ ภาพลกั ษณ์ทด่ี ี ให้ ความสาคัญกบั ผูเ้ รยี นของอาชวี ศึกษาและช่อื เสียงของวิทยาลัยเทคนิคจะนะ และสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา (สอศ.) เป็นสโลแกนของนายกรัฐมนตรี ผูเ้ รยี นอาชวี ะเป็นผ้ทู ีม่ ีคณุ ค่า 5) เพม่ิ คุณภาพและปรมิ าณผู้เรยี นให้มคี วามเหมาะสมกับความพร้อมด้านครู บุคลากร ครุภณั ฑ์ และสถานทขี่ องวทิ ยาลยั เทคนิคจะนะ 6) สง่ เสรมิ เทคโนโลยีนวัตกรรมงานวิจัย และสิง่ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ 7) สง่ เสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และสร้างความรกั ความสามคั คใี ห้เกิดข้นึ ในแผนกวชิ า และ วิทยาลัยฯ ขอใหค้ รูและบคุ ลากรทุกคนรกั และสามัคคตี ่อกัน
9 8) สร้างขวัญกาลังใจในการทางานและพัฒนาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความก้าวหนา้ ในวิชาชพี 9) สนองนโยบายหนว่ ยงานระดบั สงู ในระดบั จงั หวดั และจงั หวัดชายแดนใต้ และสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารอยา่ งเครง่ ครดั 10) สง่ เสริมสนับสนุนศนู ย์ฝึกอบรมวิชาชพี อาเภอสะเดา ให้พฒั นาไปสวู่ ิทยาลยั เทคนิค สะเดา 4.2 กาหนดแนวปฏิบตั พิ น้ื ฐานสาหรบั ครูและบคุ ลากร 1) คร-ู อาจารย์มีหนา้ ท่ีสาคญั เก่ยี วกบั ศิษย์ 3 ประการ - ใหค้ วามรแู้ ละประสบการณ์ที่มคี ุณคา่ แก่ลกู ศิษย์ - ใหท้ กั ษะจนเพียงพอแกก่ ารประกอบอาชีพได้ดว้ ยตนเอง - ปลกู ฝังเจตคติและคณุ ธรรมความคดิ เพอื่ ใหศ้ ษิ ยเ์ ปน็ คนทม่ี ีคณุ คา่ ต่อสงั คม หนา้ ทที่ ง้ั 3 ประการน้มี ีความสาคัญไม่ย่ิงหย่อนกว่ากัน จะต้องได้รับการเอาใจใส่ดูแลท้ัง 3 ประการ อย่างเท่า เทยี มกัน 2) แนวปฏบิ ัตเิ พื่อเป็นตัวอยา่ งทด่ี ี เพ่ือเพิ่มอานาจในการบริหารงานทุกระดับและเพื่อให้พลัง ในการเปน็ ตัวอย่างแก่ศษิ ย์เข้มแขง็ ยง่ิ ขึน้ คร-ู อาจารยจ์ ะต้องพรอ้ มใจกัน - แตง่ กายสขุ ภาพเหมาะสมทจ่ี ะทาหน้าที่ครู มสี ตใิ นการยับยง้ั ชงั่ ใจในเร่ืองนี้อยู่ เสมอ - ไม่สูบบหุ รีห่ รอื เสพของมึนเมาขณะสอนอบรมเด็ก หรอื อยใู่ นสถานศึกษา - ตรงต่อเวลาในทุกเรือ่ ง โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงเก่ยี วกบั การเรียนการสอน การอบรม การจดั กิจกรรม - ครองตนใหเ้ หมาะสมกบั ทเี่ ปน็ ครู และเปน็ ตวั อย่างแก่ศษิ ยท์ ี่ดี - มีสว่ นช่วยรักษาความสะอาดความเปน็ ระเบียบของวทิ ยาลยั ฯอยูเ่ สมอ โดยถือ ความสะอาดและความเป็นระเบียบเป็นลักษณะเด่นเฉพาะของวิทยาลัยฯ และเป็นลักษณะเด่นของชุมชนที่ พฒั นาแลว้ 3) ตระหนักว่าผู้มีอาชีพครจู ะตอ้ งทาหน้าทีค่ รูแบบมอื อาชพี คอื มกี ารศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติม เตรียมการสอน จัดการเรียนการสอน การวัดผลและประเมินผลโดยใช้หลักค้นคว้าหาความรู้ โดยใช้ หลกั วชิ าและเทคโนโลยตี ่าง ๆ เขา้ ช่วย เพื่อใหอ้ าชพี ครูมีค่าควรแก่การยกย่องนับถือจากคนทั่วไป 4) หากตอ้ งการให้สงั คมไทยเป็นอยา่ งไร จะตอ้ งจาลองสงั คมนน้ั มาไวใ้ นวิทยาลยั ฯ แลว้ ให้ ศิษย์ใช้ชีวิตอยู่ในสังคมน้ันจนเป็นนิสัย เพราะถ้าวิทยาลัยฯซึ่งเป็นแหล่งฝึกคน ไม่สามารถจาลองสังคมท่ีพึง ประสงค์ไว้ได้แล้ว การจะพฒั นาสงั คมไทยใหไ้ ด้นน้ั ย่อมเปน็ อนั สิ้นหวงั 5) การใหก้ ารศึกษา จะตอ้ งส่งผลให้เกิดความเจริญงอกงามทตี่ วั เด็ก จนมองเหน็ ได้เชน่ นจ้ี ึง กาหนดเกณฑ์เก่ียวกับความเจรญิ งอกงามทพ่ี งึ ประสงค์ไว้ใหช้ ัดเจน แล้วหม่ันสังเกต แก้ไข และส่งเสรมิ ประคับประคองให้มคี วามเจรญิ งอกงามอย่างต่อเนอ่ื ง 6) เช่ือว่าสง่ิ แวดลอ้ มมอี ิทธพิ ลอย่างยง่ิ ตอ่ มนษุ ย์ ฉะนนั้ หากจดั ให้ทกุ ส่วนทุกมมุ ในวิทยาลยั ฯ
10 สะอาดสวยงามและเปน็ ระเบียบได้ดจี รงิ ๆ แลว้ พฤตกิ รรมของเด็กจะดขี ึ้นเอง ท้งั นโี้ ดยวางเปน็ เกณฑ์ไว้ว่า - จะจัดห้องเรียนห้องปฏิบัติงานอุปกรณก์ ารเรยี นการสอนตา่ ง ๆ รวมท้ังตัว ผู้เรียนเองให้อยู่ในสภาพสะอาดเรียบร้อย มีระบบ ก่อนที่จะทาการสอนทุกครั้ง และเม่ือสอนเสร็จจะจัดให้ สะอาดเปน็ ระเบียบอีกครง้ั - สาหรบั โรงฝึกงานและการสอนภาคปฏบิ ัติ จะยึดหลักการร่วมกันดังนี้ ก) สารวจโรงฝกึ งานท้ังภายนอกภายในอยเู่ สมอ หากมีสิง่ สกปรกไม่ เรยี บร้อยหรือชารดุ จะจดั การแกไ้ ขใหอ้ ยใู่ นสภาพเรียบร้อยทันที ไม่ปล่อยท้งิ ไว้ ข) จดั บรเิ วณฝึกปฏบิ ตั ิ รวมท้งั ตัวผเู้ รียนใหม้ ีสภาพเรียบร้อย มีระบบ ก่อนทจี่ ะทาการเรยี นและฝกึ หากมเี ศษวสั ดทุ งิ้ อย่ใู นบริเวณฝึก กข็ อให้เปน็ วสั ดอุ ันเกิดจาการฝึกงานคราวน้นั เท่านนั้ และเมอื่ ฝึกเสร็จจะจดั ใหส้ ะอาดเรียบรอ้ ยจริง ๆอีกครง้ั ค) สารวจเครื่องมือเคร่อื งจักรอยู่เสมอ หากมีชารดุ จะเรง่ ซ่อมให้มีสภาพดี โดยเร็วจะไมใ่ หช้ ารดุ อยเู่ กนิ 3 วนั 7) เชอื่ มัน่ ในคณุ ความดแี ละผลของความดี ถ้าแม้นทาความดีและไดใ้ คร่ครวญอย่างถีถ่ ว้ น แล้วว่า ดีแต่ยังไม่ได้รับผลของความดีดังท่ีหวัง จักต้องคิดว่ายังทาความดีไม่เพียงพอ ต้องเพ่ิมปริมาณการทา ความดใี หม้ ากขึ้นไปอกี โดยไม่คดิ โกรธโทษใคร 8) งานราชการทีป่ ฏิบตั อิ ย่ทู กุ วันน้นั ประโยชนจ์ ะตกแกแ่ ผน่ ดิน มิได้ตกอยู่กบั ผใู้ ดโดยเฉพาะ ฉะน้ันผู้ปฏิบัติงานราชการจึงมีโอกาสที่จะทาส่ิงอันเป็นบุญเป็นกุศลอยู่ทุกนาที ถ้าได้ทุ่มเทเสียสละลงไป ผลท่ี ได้ย่อมเปน็ คุณความดีเป็นบุญเป็นกุศลแต่ในทางตรงกันข้ามหากไม่ทุ่มเทไม่เสียสละหรือเอาเปรียบเบียดเบียน แผ่นดนิ เปน็ บาปแนน่ อน ปกติบญุ หรือบาปมกั ปรากฏใหเ้ ห็นได้เป็นรูปธรรมโดยท่ัวไป หากใช้ความคิดพิจารณา ถ่องแท้ 9) ปญั หาทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในสถานศึกษา ส่วนหนงึ่ มักเกิดจากความเขา้ ใจผิด เพราะได้ข้อมลู ผิดๆ ซึ่งสามารถแก้ไขไดโ้ ดย - การมองกันในแงด่ ี - เช่ือม่ันในความเป็นคนชนั้ ครู - พยายามตดิ ตอ่ ประสานงานกนั และกันโดยตรง - หลีกเลี่ยงการตดิ ตอ่ ผา่ นบุคคลที่ 3 ให้มากเทา่ ทจี่ ะมากได้ หากจาเปน็ ต้อง มั่นใจจริง ๆว่า ข้อมูลหรือข่าวสารท่ีฝากผ่านบุคคลท่ี 3 มา ก็ต้องคิดไว้ก่อนว่า ข้อมูลที่ได้รับอาจคลาดเคลื่อน ได้ ซึ่งเป็นธรรมดาของการถ่ายทอดเช่นนี้ การพยายามหาโอกาสพบปะพูดจากันโดยตรงจึงเป็นสิ่งท่ีจาเป็น อยา่ งย่งิ 10) ความซือ่ สัตย์ สจุ ริต ยังมีความจาเป็นและเป็นสง่ิ ที่สาคัญและถกู ต้องทสี่ ุด_ _4.3 สถานศึกษามกี ารวเิ คราะหแ์ ละวางแผนเปดิ สอนรายวิชาตา่ ง ๆ ตามโครงสร้างหลกั สูตรได้ อย่างหลากหลาย จัดกิจกรรมเรียนรู้ได้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ และเป้าหมายของสถานศึกษา มีการกากับ ตดิ ตามและประเมนิ การใชห้ ลักสูตร โดยนาผลการประเมินไปใชป้ รับปรุงหลกั สตู ร ได้หลกั สูตรที่มีความยืดหยุ่น หลากหลายสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
11 จากการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษาทั้ง 2 แห่ง พบว่า สถานศึกษาท้งั 2 แหง่ มีกลยุทธใ์ นการ ขับเคล่ือน Future Skill อยา่ งเปน็ ระบบ มีการสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความร่วมมือกบั สถาน ประกอบการและหน่วยงานอ่ืน มรี ะบบการบรหิ ารจดั การสู่คุณภาพที่ชดั เจน และสามารถขบั เคล่ือนระบบงาน วิชาการอยา่ งมีคณุ ภาพ ส่งผลให้ผ้เู รยี นมคี ณุ ภาพตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ โดยเฉพาะ เรือ่ งการขับเคลื่อนเพื่อพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาด้านการนเิ ทศภายใน ด้วย สามารถนาไปประยุกต์ใชเ้ ม่ือ ปฏบิ ตั หิ น้าที่รองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ดังนี้ การบริหารสถานศึกษาส่คู ุณภาพ ด้วยแผนพฒั นาและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามมาตรฐานอาชวี ศึกษา ( E & BCV MODEL ) P : Plan D : Do C : Check A : Action การวางแผน การปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบ การดาเนินการ กลยุทธก์ ารขบั เคลื่อน Future การสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบ ระบบบรหิ ารจดั การสคู่ ุณภาพ การขบั เคล่อื นระบบ Skill ของสถานศึกษา ความร่วมมอื กบั สถาน งานวชิ าการ ประกอบการและหนว่ ยงานอ่นื C : Characteristics of the E : Education graduate V Vocational Management development plan B : Building a lerning ประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพ society มาตรฐานท่ี 1 คุณลักษณะ มาตรฐานที่ 2 การจดั การ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ประกนั คุณภาพ ของผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา อาชีวศกึ ษา มาตรฐานที่ 3 การสรา้ ง อาชีวศึกษาทพ่ี งึ ประสงค์ 1. ยกระดับด้านหลักสตู ร - กาหนดเปา้ หมายทช่ี ดั เจน สงั คมแห่งการเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ อาชีวศกึ ษา - ยทุ ธศาสตร์ 1. ด้านความรว่ มมือ สรา้ ง - พัฒนาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ - วสิ ยั ทัศน์ สังคมแหง่ การเรียนรู้ - ผู้เรียนผา่ นการทดสอบ อย่างเป็นระบบ ปรบั ปรงุ - พันธกจิ แนวปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจน - การบริหารสถานศึกษา ทาง V-NET รายวชิ า เพม่ิ หลกั สตู รใหม่ แบบมีส่วนร่วม 2. ดา้ นทักษะและการ 2. การจัดการเรียนการสอน สมบูรณค์ รอบคลุมการพัฒนา เชื่อมโยงเครอื ขา่ ยและระดม ประยกุ ต์ใช้ อาชวี ศกึ ษา ทกุ กจิ กรรม ทรัพยากรเพ่ือการจดั - จดั ทาแผนการจดั การเรียนรสู้ ู่ การศึกษา - บ่มเพาะผู้เรียนมี การปฏิบตั ิเน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั - การเข้าถงึ บรกิ ารชมุ ชน สมรรถนะในการเปน็ 3. การบรหิ ารจัดการชนั้ เรียน และจิตอาสา ผปู้ ระกอบการหรอื การ 4. การพัฒนาครแู ละการพัฒนา 2. สรา้ งนวตั กรรม ประกอบอาชพี อสิ ระ วชิ าชพี สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ 5. พฒั นาระบบอินเตอร์เนต็ งานวิจัย - ผูเ้ รยี นมสี มรรถนะทักษะ ความเรว็ สงู – 6. การบริหาร - สถานศกึ ษาสง่ เสรมิ วิชาชีพ จดั การระบบฐานข้อมลู สนบั สนนุ ให้ผูเ้ รียนพัฒนา 3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม สารสนเทศ อาคารสถานท่ี นวตั กรรม สงิ่ ประดิษฐ์ และคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ห้องเรียน ห้องปฏบิ ตั กิ าร โรง โครงงานวิทยาศาสตร์ หรอื ฝึกงานหรอื งานฟารม์ งานวจิ ยั - ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะที่พึง ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน มี - มอบรางวลั สรา้ งขวญั ประสงค์ มีงานทาและศึกษา ความปลอดภยั กาลังใจแกบ่ คุ ลากรทาง ต่อของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา 7. พฒั นาแหล่งเรียนรแู้ ละศนู ย์ การศกึ ษา วิทยบริการ8. การจดั การ
12 ภาคผนวก
13 ขอ้ มูลสถานศึกษาตน้ แบบ จานวน คน หมายเหตุ 3 1.วทิ ยาลัยเทคนคิ จะนะ ระหว่างวันท่ี 25-29 เมษายน 2565 10 ปฏบิ ตั ิงานใน 1 สถานศกึ ษา สรุปข้อมลู บุคลากร ปีการศึกษา 2564 18 17 ประเภทบุคลากร 6 1.ผ้บู ริหาร 9 2.ข้าราชการครู 9 3.ลกู จ้างประจา 73 4.พนักงานราชการ ครู 5.พนักงานราชการ สายสนบั สนนุ การศึกษา 0 6.ลกู จา้ งชั่วคราว ครพู ิเศษสอน 2 7.ลกู จา้ งชว่ั คราว สายสนับสนนุ การศึกษา 2 8.ลูกจ้างชวั่ คราว สายสนบั สนนุ การศึกษา รวมท้ังสิน้ หมายเหตุ มาช่วยราชการ ไปชว่ ยราชการ รวม สรุปข้อมูลผเู้ รยี น ปีการศึกษา 2564 ในระบบ ประเภทวิชา ปวช. ปวส. รวม ทงั้ สนิ้ ช่างอตุ สาหกรรม ปี 1 ปี 2 ปี 3 รวม ปี 1 ปี 2 เทียบโอน ฯ รวม พาณิชยกรรม 71 408 94 94 149 337 23 48 - 48 120 รวม 118 528 40 11 22 73 47 0 - 134 105 171 410 70 48 - สรปุ ข้อมลู ผู้เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564 ระยะสั้น ประเภทหลักสูตร จานวน ผฝู้ กึ อบรม หมายเหตุ ระยะส้นั หลากหลาย 31 - 250 ช่วั โมง 102 108 อาชีพ 668 รวม 770
14 2.วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ระหวา่ งวันท่ี 2-6 พฤษภาคม 2565 สรปุ ขอ้ มลู บคุ ลากร ปกี ารศกึ ษา 2564 ประเภทบคุ ลากร อตั รากาลัง วฒุ กิ ารศึกษา ชาย หญงิ รวม ปริญญา ปริญญา ปรญิ ญา ตา่ กวา่ หมาย ปริญญา เหตุ เอก โท ตรี ตรี ผบู้ ริหาร 21 3 - 3- - ขา้ ราชการครู 12 47 59 - 30 29 - บุคลากรทางการศึกษา -1 1 - -- 1 พนกั งานราชการ 1 12 13 - 3 30 - ครพู ิเศษสอน 15 30 45 - 5 40 - ลกู จ้างประจา 33 6 - -- 6 ลกู จา้ งชั่วคราว 5 22 17 - - 10 17 38 116 154 - 41 89 24 รวม ขอ้ มูลผเู้ รยี นปีการศึกษา 2564 ในระบบ ประเภทวิชา/สาขาวชิ า ปวช. ปวช. ปวช. รวม ชาย หญงิ พาณิชยกรรม ชาย หญิง ชาย หญิง 8 141 453 10 47 1175 การบัญชี 12 163 7 122 2 27 78 69 68 386 การตลาด 14 63 5 36 00 42 การเลขานกุ าร 2 20 0 27 89 283 1,134 คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ 46 75 45 83 ชาย หญงิ รวม 16 48 การโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ว็บ 32 10 0 0 10 4 57 และอปุ กรณ์เคล่ือนที่ 49 18 228 60 28 333 รวม 106 331 57 268 ชาย หญิง รวม ศิลปกรรม ชาย หญงิ ชาย หญงิ ปวช. รวม ชาย หญงิ วิจติ รศลิ ป์ 10 10 10 11 1 16 36 43 98 361 ออกแบบ 11 16 10 11 00 80 38 48 คอมพวิ เตอร์กราฟกิ 55 35 39 32 รวม 71 61 59 54 คหกรรม ชาย หญงิ ชาย หญิง ประเภทวิชา/สาขาวชิ า ปวช. ปวช. พาณิชยกรรม ชาย หญิง ชาย หญงิ แฟชนั่ ดไี ซน์ 3 7 45 อาหารและโภชนาการ 35 85 16 84 ธรุ กิจอาหาร 15 27 11 27 การออกแบบแฟชน่ั และเครื่อง 1 10 3 23
15 แต่งกาย 0 0 00 2 14 16 คหกรรมเพือ่ การโรงแรม 54 129 34 139 49 136 541 ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง รวม รวม 17 52 2 69 7 53 200 อตุ สาหกรรมท่องเท่ยี ว 0 0 4 31 2 25 62 การโรงแรม 3 26 4 32 2 32 99 การโรงแรม(MiniEP) 8 24 5 34 6 35 112 การโรงแรม (ทวิภาคี) 28 102 15 166 17 145 473 การท่องเทยี่ ว 259 623 165 627 215 592 2,481 รวม รวมระดับ ปวช.
16 ภาพการฝกึ ประสบการณ์ ณ วทิ ยาลยั เทคนิคจะนะ
17 ภาพการฝกึ ประสบการณ์ ณ วทิ ยาลยั เทคนิคจะนะ
18 ภาพการฝึกประสบการณ์ ณ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: