Egyptian Civilization
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอียิปต์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สริ โิ ชคดกี ุล Egypt is the gift of the nile When อารยธรรมอียิปตเ์ ริ่มข้ึนเมื่อประมาณ 3500 ปกี อ่ นครสิ ต์ศักราช Where บรเิ วณลุม่ แม่นา้ ไนล์ ทางตอนเหนือของแอฟริกา Whom ชาวอียปิ ต์โบราณ
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ปิ ต์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สิรโิ ชคดกี ลุ กอ่ นอยี ปิ ต์จะรวมตวั กนั เป็นปึ กแผน่ Lower Egypt บริเวณปากแมน่ า้ ไนล์ติดกับทะเล อียิปต์ลา่ ง เมดิเตอรเ์ รเนียนเหนือนครเมมฟสิ (Memphis) Upper Egypt ตั้งอย่ทู างตอนใต้ ตั้งแตบ่ ริเวณทีร่ าบจนถึง อียปิ ตบ์ น บริเวณเมืองอัสวาน (Aswan) การตัง้ ถิน่ ฐานจะรวมกันเป็นหมู่บา้ นเลก็ ๆ ต่อมาหมู่บา้ นตา่ ง ๆ ได้ รวมกันเปน็ รัฐหรือจังหวัด เรยี กวา่ โนม หรอื โนมิส (Nomes) มี อสิ ระต่อกัน ประมาณ 40 แหง่ แต่ละโนมมีหัวหน้าควบคุม
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับชั้นม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ ความเจรญิ รุ่งเรืองของอียิปต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สริ โิ ชคดกี ุล Early Dynastic Period ประมาณ 3,100 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมเนส (Menes) หรือนารเ์ มอร์ (Narmer) ประมุขแหง่ อียิปต์ล่าง ได้รวมดินแดนทัง้ สองเขา้ ดว้ ยกัน และสถาปนาราชวงศท์ ่ี 1 ตั้งตนเป็น ‘ฟาโรห์’ มีเมืองหลวงอยู่ท่นี ครเมมฟสิ (Memphis) The Old Kingdom The Middle Kingdom The New Kingdom The Decline มีความกา้ วหนา้ ในดา้ น ฟาโรหม์ ีอา้ นาจอยู่ในช่วงแรก ขบั ไล่ชาวต่างชาติได้ จงึ เรยี ก เรม่ิ เสื่อมอ้านาจ มีชาวต่างชาติ วิทยาศาสตร์และศลิ ปกรรม หลังจากถูกคนต่างชาตจิ ากเอเชีย ชว่ งน้วี า่ “สมัยอาณาจักรใหม่” เช่น อัสซีเรีย เปอรเ์ ซีย รวมทัง้ ฟาโรห์มีอ้านาจเดด็ ขาด และ มีการก่อสร้างพีระมดิ รุกรานและเข้ามาปกครอง ขยายอาณาเขตเหนอื ดินแดน แอฟริกาเข้ามารุกราน แต่ สมัยนี้จงึ ได้ชื่อว่า มีความเจรญิ กา้ วหนา้ ทาง ฟาโรห์กย็ ังคงครองดนิ แดนมา วิทยาการและภูมปิ ัญญามาก ใกลเ้ คียงจนเปน็ จักรวรรดิ จนถงึ ประมาณ 30 ปกี อ่ นค.ศ. “Pyramid Age” โดยเฉพาะด้านการชลประทาน อียปิ ต์ และการคมนาคมทางน้า อียปิ ต์กเ็ สื่อมสลายและถูก ชาวตา่ งชาติยึดครอง (ยุคทองของอียปิ ต)์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ปิ ต์ ครูผูส้ อน : ครูสุภยศ สริ ิโชคดีกุล ระบอบการปกครอง ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ภูมิปัญญาของชาวอียิปต์ ฟาโรห์เปรียบดังเทพเจ้า - สภาพทีต่ ้งั ร้อนและแห้งแลง้ ยกเวน้ 2 ฝั่งแม่น้าไนลท์ ี่มี คิดค้นเทคโนโลยีและวทิ ยาการ มีอ้านาจเดด็ ขาดสง่ ผลให้ นา้ ทว่ มขงั ดนิ ดี ท้าให้เกดิ ระบบชลประทาน อกี ทง้ั ถูกปิด ความเจรญิ ดา้ นตา่ ง ๆ เพื่อ สามารถสร้างสรรคแ์ ละพัฒนา ล้อมดว้ ยทะเลและทะเลทรายจงึ ช่วยป้องกนั การรุกราน ตอบสนองการดา้ รงชีวติ และ สง่ิ ตา่ ง ๆ ตามนโยบายของตน - ทรัพยากรส้าคัญคือหินแกรหินและหนิ ทราย ใชใ้ น ความเชือ่ ทางศาสนา ไดเ้ ตม็ ที่ การกอ่ สรา้ ง มีตน้ ออ้ และต้นกกใช้ท้ากระดาษ เกดิ ความกา้ วหนา้ ในการบันทกึ และสรา้ งวรรณกรรม ปัจจัยหลอ่ หลอม อารยธรรมอยี ิปต์
| อารยธรรมอยี ปิ ต์ สภาพทางภมู ิศาสตร์ของอยี ปิ ต์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สริ ิโชคดีกุล สังคมอียปิ ต์โบราณ มีลักษณะเป็นรูปพีระมิด ยอดสงู สุดคือ ฟาโรห์ รองลงมาได้แก่ เจา้ หนา้ ที่ บา้ นเมือง ทหาร นักบวช พอ่ ค้า ช่างฝมี ือ ชาวนา และทาสมฐี านะต่้าสดุ
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ชั้นม.6 | อารยธรรมอยี ิปต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สริ ิโชคดกี ุล มีฐานะเป็นเทวราชา (god-king) เป็นเจา้ ของผืนดินทัง้ หมด มี หน้าที่ควบคุมระบบชลประทาน การเพาะปลูก ด้วยสถานะของเทพ จึงทา้ ใหเ้ กดิ วัฒนธรรมเชิดชูฟาโรหแ์ ละพระราชวงศ์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับชั้นม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สิริโชคดกี ุล ราชินฮี ัตเซปซุต แหง่ ราชวงศท์ ี่ 18 ราชินีอียิปต์ผูเ้ ป็นผสู้ า้ เร็จราชการแทน ทรงควบคุมราชกิจของแผ่นดนิ ทั้งหมด แสดงให้เห็นวา่ สตรอี ียปิ ตก์ ็มีศักด์ศิ รีสูงและ ไมไ่ ด้ต้่าตอ้ ยมากไปกว่าเพศชาย hatshepsut
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับชั้นม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สิริโชคดีกุล ฟาโรหแ์ อคนาตัน (1379-1361 B.C) พยายามท้าลายอ้านาจของกลุ่มนักบวช ปฏิรูปศาสนา เปลีย่ นแปลงการนับถอื เทพเจ้าหลายองค์มาเปน็ เทพองค์เดียว คือ สุริยเทพอะตัน (Aton) สาเหตทุ ี่ตอ้ งมกี ารปฏริ ปู ศาสนา : ตอ้ งการฟื้นฟอู า้ นาจฟาโรห์ ความแตกแยกของชาวอยี ปิ ต์ และความขัดแยง้ ระหวา่ งฟาโรหก์ บั นักบวช Akhnaton
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ปิ ต์ ครูผูส้ อน : ครูสุภยศ สิริโชคดีกุล ศาสนาและความเชอ่ื ของชาวอยี ปิ ต์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอียิปต์ บูชาสัตวต์ า่ ง ๆ เพราะเชือ่ วา่ สัตว์เหลา่ นัน้ เป็นทีส่ งิ สถติ ของเทพ ครูผู้สอน : ครูสุภยศ สริ โิ ชคดกี ลุ Amon-Ra Osiris isis Thoth Anubis
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอียิปต์ คัมภีร์ของผ้ตู าย ครูผู้สอน : ครูสุภยศ สริ โิ ชคดกี ลุ อธิบายผลงานและ Book of the Dead คุณความดีในอดตี ของ วญิ ญาณที่รอรับการ https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/63/El_pesado_del_coraz%C3%B3n_en_el_Papiro_de_Hunefer.jpg ตัดสินของเทพโอซิริส
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอียิปต์ ครูผู้สอน : ครูสุภยศ สริ โิ ชคดกี ุล Mummy การทา้ มัมมี่ กรรมวิธีในการเกบ็ รักษาศพ โดยเร่มิ ต้นจากพระ ศพของฟาโรห์ มีกระบวนการที่ซับซอ้ น จุดประสงคข์ องการทา้ มมั มี่ เพือ่ ใหผ้ ูท้ ีต่ ายมีชีวิตนริ ันดร์และเยาว์วัยตลอดกาล http://panshanger.herts.sch.uk/wp-content/uploads/2020/11/Egypt.jpg
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ชั้นม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สิริโชคดกี ุล ภูมิปัญญาแห่งอยี ปิ ต์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ิปต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สริ ิโชคดกี ุล Hieroglyphic อักษรเฮยี โรกลิฟกิ ส์ เรียกอีกอย่างได้ว่า ‘สัญลักษณศ์ ักด์สิ ิทธ์ิ (Sacred sign) เปน็ อักษรภาพจารกึ ในแผ่นศิลาหรือฝาผนังหนิ ตอ่ มา พัฒนาให้เขียนง่ายข้ึน เรียกว่า อักษรเฮียราตกิ (Hieratic) Papyrus paper กระดาษปาปิรุสท้าจากตน้ ปาปิรุส (papyrus) ที่มีขน้ึ ทั่วไปในแมน่ า้ ไนล์ ใชป้ ล้องหญา้ มาตัด เป็นปากกาจ้ิมหมกึ
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอียปิ ต์ Rosetta Stone ครูผูส้ อน : ครูสุภยศ สิรโิ ชคดีกุล ศิลาโรเซตตา ค้นพบโดยกองทัพฝรง่ั เศสในปี ค.ศ. 1799 ณ เมืองโรเซตตา ใกลป้ ากแมน่ า้ ไนล์ ประกอบด้วยอักษร 3 ภาษา คือ อักษรเฮยี โรกลฟิ กิ ส์ อักษรอียปิ ต์สมยั หลงั อักษรกรีก ทา้ ใหน้ ักนิรุกตศิ าสตร์สามารถเทียบภาษากรีกเพื่อถอดอักษรเฮียโรกลิฟกิ สไ์ ด้ Jean-francois Champollion ฌอ็ ง-ฟรอ็ งซวั ช็องโปลียง ผู้ถอดความในศิลาโรเซตตาได้สาเรจ็
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ิปต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สิริโชคดีกุล การประดิษฐป์ ฏิทนิ รุ่นแรก ๆ ของโลก จากการวางแผนเพือ่ ท้าเกษตรกรรม ชาวอียิปต์ศึกษาและเก็บ ข้อมลู ชว่ งเวลาและการสังเกตการโคจรของดาวซริ ิอสุ (Sirius) การเกิดปฏิทนิ แบบสรุ ยิ คติ แบง่ ปีหนง่ึ ออกเป็น 365 วนั [ปฏิทินของอียปิ ต์ชา้ ไปปีละ 6 ชั่วโมง แกไ้ ขโดยจูเลียส ซีซาร]์
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ปิ ต์ ครูผู้สอน : ครูสุภยศ สริ ิโชคดกี ลุ - วางรากฐานการศึกษาวิชาพีชคณติ และเรขาคณิต ซง่ึ เปน็ วชิ าทีส่ ัมพันธ์กับงานด้านวิศวกรรม - ค้านวณหาพืน้ ที่สามเหลย่ี ม และปริมาตรของพีระมดิ ความรู้ทางคณิตศาสตรแ์ ละฟิสกิ ส์ ส่งผลใหเ้ กิดความเจริญในการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ชั้นม.6 | อารยธรรมอียิปต์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สิรโิ ชคดกี ลุ https://www.elitereaders.com/wp-content/uploads/2017/01/great-pyramid-of-giza.jpg
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับชั้นม.6 | อารยธรรมอียิปต์ สฟงิ ซ์ ครูผู้สอน : ครูสภุ ยศ สริ โิ ชคดีกุล ลา้ ตวั เปน็ สงิ โต หน้าเป็นองค์ฟาโรห์ Pyramid ทา้ หนา้ ท่ใี นการเปน็ องครักษ์ให้แก่พีระมดิ บางก็ว่าเป็นสัญลกั ษณ์แสดงถงึ อ้านาจของฟาโรห์ sphinx
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดับช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ิปต์ ครูผูส้ อน : ครูสภุ ยศ สริ ิโชคดกี ุล Valley of the kings https://images.thaiza.com/content/b/451163.jpg สรา้ งข้ึนในยคุ อาณาจักรใหม่ โดย การเจาะหบุ เขาเขา้ ไป เปน็ ห้อง ต่าง ๆ ทาประตูกลไกตา่ ง ๆ ให้ เป็นท่เี ก็บพระศพของฟาโรห์ https://lp-cms-production.imgix.net/2019-06/f6e18c09be072890091813ba173e0fae-valley-of-the-kings.jpg
รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ส33101 ระดบั ช้ันม.6 | อารยธรรมอยี ปิ ต์ ครูผูส้ อน : ครูสุภยศ สริ ิโชคดีกลุ ABU-SIMBEL วหิ ารอาบูซิิมเบล อนสุ รณ์สถานแหง่ ฟาโรห์รามเสสที่ 2 และพระนางเนเฟอรท์ ารี และอนสุ รณแ์ หง่ การเฉลมิ ฉลองชัยชนะของอยี ิปตท์ ่ีมตี ่อชาวนวิ เบยี ทส่ี มรภูมิแห่งคารเ์ ดส https://egyptianstreets.com/wp-content/uploads/2018/02/1-15.jpg
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: