โครงงาน เครื่องหอมจากดอกไม้ธรรมชาติ จดั ทำโดย 1.นางสาว ชนากานต์ บุญชนะเมธี เลขท่ี 12 2.นางสาว สชุ านาถ อินต๊ะนาม เลขที่ 24 3.นางสาว แสงระวี ขันไชย เลขท่ี 30 4.นางสาว กานต์ธดิ า ทีฆาวงค์ เลขที่ 38 5.นางสาว ชนิตา สทุ าทัต เลขที่ 40 ระดับมัธยมศึกษาปที ี่5/3 เสนอ ครู ดำรงค์ คนั ธะเรศย์ โรงเรียนปัว อำเภอปัว จงั หวดั น่าน สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาน่าน เขต37
โครงงาน เครื่องหอมจากดอกไม้ธรรมชาติ จดั ทำโดย 1.นางสาว ชนากานต์ บุญชนะเมธี เลขท่ี 12 2.นางสาว สชุ านาถ อินต๊ะนาม เลขที่ 24 3.นางสาว แสงระวี ขันไชย เลขท่ี 30 4.นางสาว กานต์ธดิ า ทีฆาวงค์ เลขที่ 38 5.นางสาว ชนิตา สทุ าทตั เลขที่ 40 ระดับมัธยมศึกษาปที ี่5/3 เสนอ ครู ดำรงค์ คนั ธะเรศย์ โรงเรียนปัว อำเภอปัว จงั หวดั น่าน สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาน่าน เขต37
สารบัญ ก เก่ยี วกับโครงงาน ข กติ ติกรรมประกาศ ค บทคดั ย่อ 1 บทท่ี 1 บทนำ 3 ท่มี าและความสำคัญ 10 วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 13 สมมตฐิ าน 14 ขอบเขตของการทดลอง วัตถดุ ิบ/อปุ กรณ์ บทที่ 2 เอกสารอ้างองิ บทที่ 3 วธิ ีดำเนินการทดลอง บทที่ 4 ผลการทดลอง บทท่ี 5 อภิปรายและสรปุ ผลการทดลอง บรรณานุกรม
เก่ียวกับโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ชอื่ เรื่อง: เครอื่ งหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ ชอ่ื ผจู้ ดั ทำ: 1.นางสาว ชนากานต์ บญุ ชนะเมธี เลขที่ 12 2.นางสาว สุชานาถ อินต๊ะนาม เลขท่ี 24 3.นางสาว แสงระวี ขนั ไชย เลขท่ี 30 4.นางสาว กานตธ์ ิดา ทฆี าวงค์ เลขท่ี 38 5.นางสาว ชนติ า สุทาทัต เลขท่ี 40 ครูท่ปี รกึ ษา : ครู ดำรงค์ คนั ธะเรศย์ สถานศึกษา : โรงเรยี นปัว อำเภอปัว จังหวัดน่าน รหสั ไปรษณีย์ 55120 สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาน่าน เขต 37 ระยะเวลาในการทำโครงงาน : ตงั้ แต่วันท่ี 19 สิงหาคม – 30 กันยายน พ.ศ. 2564 ปีการศกึ ษา : 2564
กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เครื่องหอมจากดอกไม้ธรรมชาติ เป็นอีกหนึ่งโครงงานที่ทำให้ เราได้ร้วู ิธกี ารทำเครื่องหอมจากดอกไม้ ซงึ่ สามารถนำไปใชไ้ ด้จริงในชวี ิตประจำวนั โครงงานนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาของ ครู ดำรงค์ คันธะเรศย์ ซึ่งได้ให้คำปรึกษา ข้อชี้แนะและความช่วยเหลือ จนกระทั่งโครงงานนี้ สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้จัดทำโครงงาน ขอขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู มา ณ ทีน่ ี้ ผู้จัดทำโครงงาน
บทคดั ย่อ เนอื่ งจากปัจจุบนั มอี ากาศทรี่ อ้ นแต่ละบ้านก็ตอ้ งมีการตดิ เครื่องปรับอากาศเพื่อให้มีอากาศ ที่เย็นสดชื่นแต่ในห้องอาจจะเย็นแต่ไม่ได้สดชื่นอย่างที่คิด เนื่องจากเราออกไปข้างนอกพบเจอ อากาศร้อน มีเหงื่อ มีกลิ่นที่ไม่พงึ ประสงค์ติดมา พอเข้ามาในบ้านที่มีเครื่องปรับอากาศจะทำให้มี กลิ่นเหม็นอับ อาจทำให้หงุดหงิด จากที่เครียดมาจากที่ทำงาน ที่โรงเรียน หรือสถานที่ต่างๆ อาจ ทำให้เกิดความเครียดเพิ่มขึ้น ด้วยเหตุนี้คณะผู้จัดทำจึงได้ศึกษาค้นคว้าการทำเครื่องหอมจาก ดอกไมธ้ รรมชาติข้ึนมาเพื่อให้ภายในบ้านเกิดความหอม ไม่มีกลิน่ อับชื้น ไม่มีกลิน่ เหงื่อ ผ่อนคลาย คลายความเครียด ดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ ทำให้บ้านมีกลิ่นหอมจากเครื่องหอมที่ทำจากดอกไม้ พร้อมกับความเย็นที่มาจากเครื่องปรับอากาศ และมีการเลือกใช้ดอกไม้ที่มาจากธรรมชาติเพื่อนำ ดอกไม้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้นและการใช้ดอกไม้ที่มา จากธรรมชาติทำให้มีความ ปลอดภยั มากกวา่ การใช้สารเคมใี นการทำเพราะการใช้สารเคมอี าจมีการตกคา้ ง
บทท่ี 1 บทนำ ทม่ี าและความสำคญั เนื่องจากโลกของเรามีอากาศที่ร้อนแต่ละบ้านก็ต้องมีการติดเครื่องปรับอากาศเพื่อให้มี อากาศที่เย็นสดชื่นแต่ในห้องอาจจะเย็นแตไ่ ม่ได้สดชื่นอย่างที่คิด เนื่องจากเราออกไปข้างนอกพบ เจออากาศรอ้ น มีเหงือ่ มกี ลน่ิ ที่ไม่พึงประสงคต์ ดิ มา เมื่อเข้ามาในบา้ นท่ีมีเครอ่ื งปรับอากาศอาจจะ ทำใหม้ ีกลิ่นเหมน็ อบั บางทีเกดิ ความหงดุ หงิด จากทเี่ ครียดมาจากที่ทำงาน ท่โี รงเรียน หรือสถานท่ี ต่างๆ อาจทำใหเ้ กดิ ความเครียดเพม่ิ ขน้ึ ได้ ในปัจจุบันมีอากาศที่ร้อนมากขึ้นและภายในบ้านอาจมีกลิ่นเหม็นอับ ด้วยเหตุนี้คณะ ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาค้นคว้าการทำเครื่องหอมจากดอกไม้ธรรมชาติขึ้นมาเพื่อให้ภายในบ้านเกิด ความหอม ไม่มีกลิ่นอับชื้น ไม่มีกลิ่นเหงื่อ ผ่อนคลาย คลายความเครียด ดับกลิ่นที่ไม่พึง ประสงค์ ทำให้บ้านมีกลิ่นหอมจากเครื่องหอมที่ทำจากดอกไม้ พร้อมกับความเย็นที่มาจาก เครื่องปรับอากาศ และมีการเลือกใช้ดอกไม้ที่มาจากธรรมชาติ เพื่อนำดอกไม้มาปรับใช้ให้เกิด ประโยชนม์ ากยิ่งขึ้น ดอกไม้ที่นำมาใช้คือ ดอกกุหลาบ ดอกมะลิ และดอกกระดงั งา การใช้ดอกไม้ ทีม่ าจากธรรมชาตทิ ำใหม้ คี วามปลอดภยั มากกว่าการใชส้ ารเคมีในการทำเพราะการใช้สารเคมีอาจ มกี ารตกค้าง วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 1.เพ่อื ศึกษาการทำเครื่องหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ 2.เพอ่ื ศกึ ษาประโยชนข์ องเคร่ืองหอม 3.เพ่อื การใชด้ อกไมใ้ หเ้ กิดประโยชนย์ ิง่ ขน้ึ 4.เพ่อื ใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์
ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1.ไดผ้ ลติ ภัณฑเ์ ครอื่ งหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ 2.ได้ร้ถู งึ ขน้ั ตอนและวิธกี ารทำเคร่ืองหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ 3.กลิ่นเคร่ืองหอมทช่ี ่วยบำบดั อารมณแ์ ละจิตใจใหร้ ู้สกึ ผอ่ นคลายมากข้นึ 4.ทำให้คนหันมาสนใจกับสินค้าออร์เเกนิคที่ไม่มีสารพิษใดๆ และได้รับรู้ถึงประโยชน์ของ ดอกไมม้ ากขึน้ สมมตฐิ าน ถ้าใชด้ อกไม้ธรรมชาตเิ ปน็ สว่ นผสมในการทำเครอื่ งหอมแล้วเคร่อื งหอมจะมีความปลอดภัย มากกว่าการใชส้ ารเคมใี นการผสม ขอบเขตของการทำโครงงาน ทำโครงงานเกยี่ วกบั เครื่องหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ โดยดอกไม้ทีใ่ ชค้ อื ดอกไม้ธรรมชาติท่ี มีกลิ่นหอม เช่น ดอกกุหลาบ ดอกมะลิ ดอกกระดังงา เป็นต้น เราจะทำการทดลองตัวผลิตภัณฑ์ กับสมาชิกในกลุ่มก่อนเมื่อได้ผลลัพธ์ที่ดีเราจะทดลองกับกลุ่มทดลองและทำการบันทึกผลเพ่ือ พฒั นาผลิตภณั ฑต์ อ่ ไป แผนการกำหนดเวลาปฏิบัตงิ าน 2 สัปดาห์
ระยะเวลาการดำเนนิ โครงงาน ขน้ั ตอนการ 1-14 สงิ หาคม 15-31 สิงหาคม 1-14 กนั ยายน 15-30 กนั ยายน ดำเนนิ งาน ปรึกษาหัวข้อโครงงาน กันภายในกลุ่ม เสนอหวั ข้อโครงงาน รวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมูล เร่มิ จัดทำโครงงาน ตรวจสอบและแกไ้ ข ปัญหา สรปุ ผลการทำ โครงงาน
ชนดิ ของดอกไม้ บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง ดอกไมท้ ีใ่ ช้ ดอกกุหลาบ กุหลาบ (อังกฤษ: rose) คือ ดอกไม้ในสกุล Rosa ในวงศ์ Rosaceae ที่ได้รับความนิยม ปลูกมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลกที่มีต้นกำเนิดจากทวีปเอเชีย ผู้คนนิยมปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน, ประดับตกแต่งบ้าน, ประดับสถานท่ี, ปลูกเพื่อการพาณิชย์ อาทิ เพื่อนำไปสกัด น้ำหอม นำไปทำเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้ น (อ้างอิง กุหลาบ , 2563 https://th.wikipedia.org/กุหลาบ ) ดอกไม้ท่ีใช้
ดอกมะลิ มะลิ ดอกไมห้ อมประจำหน้าร้อน ยิง่ รอ้ นดอกย่ิงดก มะลิทใ่ี ครๆกอ้ คุ้นตามีให้เห็นอยู่ทุก มุมบ้านทั้งมะลิซ้อนและมะลิลา รวมไปถึงมะลิสายพันธุ์อื่นๆต่างก้อออกดอกดกช่วงฤดูร้อน ดอก มะลิกล่นิ หอมช่ืนใจเกดิ มาเพื่อเป็นไม้ประจำประเทศไทยทง้ั กล่ินและรูปทรงถูกบรรจงสรรสร้างให้มี ความเป็นเอกลักษณ์ในแบบไทยแท้ มะลจิ ัดเป็นดอกไมห้ อมหนึ่งเดียวท่ีให้ความหอมเย็นชื่นใจเป็น กลิ่นยืนพื้นที่ใช้ปรุงในน้ำอบไทยและเข้าแทรกในเครื่องหอมตำหรับอื่นๆอีกแถบทุกชนิดขาดกลิ่น มะลิไม่ไดเ้ ลย ถ้าขาดกล่นิ มะลิคอื จบกนั เลย น้ำอบไทยเจา้ ดงั ของไทยทอ่ี ยูค่ สู่ ังคมไทยมาร่วมร้อยปี กใ็ ช้กลิ่นมะลเิ ปน็ กล่ินยนื ให้ความหอมชืน่ ใจคงความเป็นกล่นิ อายแบบโบราณไว้ไดด้ ีทีส่ ุด (อ้างอิง มะลิเครื่องหอม , 2559 คนรักไม้ดอกหอมและเครื่อง หอมไทย) ดอกไม้ที่ใช้ ดอกกระดังงา กระดังงา กลิ่นดอกกระดังงาไทยจะต่างจากกกลิ่นกระดังงาจีนที่เป็นไม้ต้นเลื้อย กระดังงาไทยเป็นไมย้ ืนต้น มีดอกคล้ายๆกับดอกสายหยุด เพราะเป็นพืชในวงศ์สกุลเดยี วกัน กล่ิน หอมหวานชื่นใจ นำไปลนไฟใหไ้ ด้กลิ่นที่หอม หวนมากขึ้น กลิน่ จะหวานจับใจแบบความหอมของ กล่ินเครือ่ งหอมไทยๆ (อา้ งองิ ดอกกระดงั งา , 2564 คนรกั ไม้ดอกหอมและเครอื่ งหอมไทย )
จากเรื่องชนิดของดอกไม้ที่ใช้ในการทำเครื่องหอมข้างต้น กล่าวสรุปได้ว่า ดอกไม้ที่ใช้ คือดอกกุหลาบ ดอกมะลิ และดอกกระดังงา ซึ่งดอกไม้ทั้งสามชนิดนี้มีกลิ่นที่หอมที่แตกต่างกัน ดอกกุหลาบ เป็นดอกไมท้ ม่ี หี ลากหลายสีหลากหลายกล่นิ และสว่ นใหญ่นิยมในการปลูกเพื่อความ สวยงาม ตกแต่งสวน ตกแต่งบ้าน นอกจากนี้ยังมีการนำดอกไป สกัดน้ำหอมและนำไปทำเครื่อง หอมอีกดว้ ย ดอกมะลิ เปน็ ดอกไม้หอมทม่ี กี ลนิ่ หอมชื่นใจ มักใช้ในการปรุงในน้ำอบไทยต่างๆ และ ดอกมะลิยังเป็นเหมือนกลิ่นหอมที่ยังคงความโบราณไวอ้ ีกด้วย ดอกกระดังงา เป็นดอกไม้ที่มีกลิ่น หอมหวานชื่นใจ เมื่อนำไปลนไปจะทำให้มีกล่ินหอมนวลมากข้ึน จากดอกไม้ทั้งสามที่เราใช้จะเห็น ได้ว่าดอกไม้ที่ใช้มักจะมีกลิ่นที่หอมเมื่อนำไปทำเครื่องหอมจะทำให้มีกลิ่นหอมชื่นใจ ผ่อนคลาย และอารมณด์ ยี ิง่ ข้นึ ประเภทของเครอ่ื งหอม เครื่องหอม หมายถึงสิ่งของหรือวัตถอุ ย่างใดอย่างหน่ึง ซึ่งกลิ่นหอมสามารถรบั ความร้สู ึก ได้ด้วยการดม เครื่องหอม ตามประวัติมีมาตั้งนานประมาณ 5000 ปีแล้ว ชาวอียิปต์สมัย นั้น ได้ใช้ยางไม้ชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอมมาประดับกาย และได้คิดค้นเป็นนักผสมเครื่องหอมชาติ แรกของโลก ใชย้ างไม้ต่าง ๆ มาผสมเขา้ ดว้ ยกัน รวมท้งั ใชเ้ น้ือไม้หอมบางชนิดมาป่นผสมกันเป็น เครื่องหอมเรียกว่า กาฟี ชาวอียิปต์สมัยโบราณใช้เผาให้กลิ่นหอมเพื่อบวงสรวงเทพเจ้าต่าง ๆ ใน สมัยน้ัน ต่อมามีการคิดค้นพฒั นาเครือ่ งหอม โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพชื เช่น ดอกไม้ เนื้อไม้บาง ชนิดมาต้ม คั้น เพื่อให้น้ำมันหอมระเหยออกมาแล้วนำน้ำมันหอมนั้นมาใช้ประโยชน์ ต่อไป ปัจจบุ ันน้ีมกี ารวจิ ัยพฒั นา สกดั น้ำมันหอมระเหยออกมาทำเปน็ นำ้ หอมตา่ ง ๆ มีกลิน่ หอม ท่ีแตกตา่ งกนั ไป มากมายหลายชนิด ประเภทของเคร่อื งหอมไทย ▪ เครือ่ งหอมไทยประเภทปรุงกลิ่น ส่วนใหญ่เครื่องปรุงในการทำเครื่องหอมประเภทปรุงกลิ่นมักจะเป็นพืชสมุนไพร หรือสิ่ง ท่ีมาจากธรรมชาติ เช่น ลำเจยี ก ดินสอพอง แกน่ จันทนเ์ ทศ ขี้ผึ้ง พิมเสน ฯลฯ ผลหมากรากไม้ ที่หาได้ง่ายที่ริมรั้ว เช่น ใบเตยหอม มะกรูด ดอกมะลิ กระดังงา กุหลาบ ฯลฯ ซึ่งเครื่องหอม ไทยประเภทปรุงกลิ่นที่เป็นที่นิยมและน่าสนใจในวิธีการปรุง อุปกรณ์ และวัตถุดิบ เช่น น้ำดอกไม้สด น้ำอบไทยไม่ใช้ดอกไม้สด ผ้าชุบน้ำอบอย่างเปียก น้ำปรุง ออดิโคโลณจน์ และ
น้ำหอม โดยเครอ่ื งหอมชนิดต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาข้างตน้ มวี ธิ กี ารปรุงท่ีสลบั ซับซ้อน ตอ้ งใช้ความ พิถีพถิ นั เปน็ อยา่ งมากในทกุ ขนั้ ตอนทกุ ๆ ขั้น โดยผแู้ ตง่ กล่าวถึงการทำเคร่อื งหอมไทยประเภท ปรุงกลิน่ ไว้ดงั น้ี ▪ น้ำดอกไม้สด น้ำดอกไม้สดนั้นเป็นที่นิยมกันมานาน เช่น น้ำลอยดอกมะลิสำหรับดื่ม ทำน้ำเชื่อม ปรุง ส่วนผสมของขนม ใช้ล้างมือ มอื สำหรับเจ้านายใช้สรงน้ำ ▪ นำ้ อบไทยดอกไมส้ ด น้ำอบไทยเป็นเครื่องหอมที่สำคัญที่สุด ในกระบวนการทำเครื่องหอม เพราะน้ำอบไทยมี ประโยชน์หลายอย่าง ใช้ผสมทำแป้งร่ำ ทำกระแจะเจิมหน้า ผสมกับดินสอพองแป้งหินแป้งร่ำ ทาตัว ▪ น้ำปรุง น้ำปรุงเป็นเครื่องหอมชนิดหนึ่ง ที่มีกลิ่นหอมเย็นให้ความรู้สึกแบบไทย ๆ สตรีในสมัยโบราณ นอกจากจะมีการประแป้งแต่งตัว ลูบตัวด้วยน้ำอบน้ำปรุง แต่มาบัดนี้ สตรีส่วนใหญ่รู้จักแต่ นำ้ หอม ออดโิ คโลญจน์ มาแทน ▪ ออดโิ คโลญจน์ ใช้ทาตัวในหน้าร้อนทำให้เย็น และหอมชื่นใจ บางครั้งผสมน้ำชุบผ้าเช็ดหน้า ผ้าขนหนู ใช้ เช็ดหนา้ ทำใหส้ ดช่ืนขน้ึ ออดโิ คโลญจน์ มีหลายกลิน่ แต่เสนอเพียง 1 กล่ิน ▪ น้ำหอม น้ำหอมสามารถเลือกและปรุงกลิ่นได้ในปัจจุบัน ร้านขายผลิตภัณฑ์เครื่องหอมมีกลิ่นหอมที่ให้ เลือกมากมาย ▪ เคร่ืองหอมไทยประเภทประทนิ โฉม เครื่องหอมไทยประเภทประทินโฉมนม้ี ีอยู่ดว้ ยกันหลายชนิด อาทิ ดนิ สอพอง แป้งหอม แป้ง ผงกลิ่นไทย แป้งร่ำ แป้งเกสรดอกไม้ แป้งพวง เครื่องหอมไทยนี้เป็นการนำมาจากธรรมชาติ ล้วนๆ ไม่มีการเจือปนด้วยสารสังเคราะห์หรือสารเคมีทางวิทยาศาสตร์แต่อย่างใด เป็นภูมิ ปัญญาของคนไทยสมัยโบราณที่ทุกวันนี้เริ่มจะจางหายด้วยสารเคมีทางวิทยาศาสตร์ที่ สังเคราะห์ขึ้นมาแทนที่ ในส่วนของกรรมวิธีในการทำก็มีแตกต่างกันไปในแต่ละรูปแบบว่าเรา จะต้องการเมื่อมีวิธีการทำก็ต้องมีอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำซึ่งสามารถหาได้ง่าย โดยผู้แต่งได้ กล่าวถงึ การทำเคร่อื งหอมไทยประเภทประทนิ โฉมไวด้ งั นี้
▪ ดนิ สอพอง สมัยโบราณใช้เป็นเครื่องประทินผิว ทาตัวเด็กแก้ผื่นคัน ใช้ทาพื้นที่ลงรักให้เห็นลายชัดเจน ดินสอพองที่ใช้ทำยาจะนำไปสะตุ โดยอบในหม้อดินจนแห้ง ดินสอพองสะตุใช้ทำยารักษาแผล กามโรค แผลเรื้อรัง คำว่าสอในดินสอพองนั้นมาจากภาษาเขมรแปลว่าขาว ดินสอพองจึง หมายถึงดินสีขาวท่ไี ม่แข็งตวั ▪ แป้งร่ำ เป็นแป้งหนิ หรอื แปง้ นวลท่ีผสมเครอื่ งหอมดว้ ยกรรมวิธีดัง้ เดิม เพ่อื ใช้ผสมกบั นำ้ อบ ทำเป็นแป้ง กระแจะใช้ในการเจิม หรอื ใช้ทาผวิ หลังอาบน้ำ ใช้ผัดหน้า ทาตวั ทำให้หอมสดชน่ื ▪ แป้งพวง เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของคนไทย โดยนำแป้งร่ำมาหยอดบนเส้นด้ายแล้วนำมารวมกันเป็นพวง และนำแป้งเหลา่ น้ันมาผกู กับดอกไม้ นำมาใชท้ ัดหู แต่งผม ปกั มวยผม จะไดก้ ลน่ิ หอม สวยงาม ใช้เปน็ ของชำรว่ ยและใชต้ ิดเส้อื ได้อกี ดว้ ย ▪ แป้งเกสรดอกไม้ แป้งเกสรดอกไม้มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป ตามความประสงค์ของผู้ปรุง บ้างก็เรียกแป้งสารภี แป้งพิกลุ ขึน้ อยูก่ บั ผูป้ รุงมีความประสงคต์ อ้ งการกลน่ิ ใดนำ ก่อนที่นำ้ หอมและโคโลญสารพดั แบรนดจ์ ะได้รับความนยิ มอย่างทกุ วันน้ี ก็มีบรรดา เครื่อง หอม โบราณทีช่ าวไทยในอดีตได้คดิ ค้นขึ้นเพอื่ ปรุงแต่งกลิน่ กาย และใช้สำหรับงานต่าง ๆ ซึ่งเคร่ือง หอมในยุคก่อนนั้นไม่ใช่เพียงแค่มีกลิ่นหอมสดชื่นอย่างเดียวเท่าน้ัน แต่ยังมีประโยชน์จากสมุนไพร ที่เป็นสว่ นผสม ปลอดภัยไรส้ าร เพราะทงั้ วตั ถุดบิ และกระบวนการน้ัน ล้วนมาจากธรรมชาตทิ ัง้ ส้นิ 1. ดนิ สอพอง คนไทยในยุคนี้คงจะคุน้ หน้าคุน้ ตากับดนิ สอพองมากที่สุด เพราะในช่วงสงกรานต์ของทุกปี จะขาดเจา้ ส่ิงน้ไี ปไมไ่ ด้ ซึ่งนอกจากจะนำมาปะหน้าทาตากนั ในชว่ งสงกรานต์แล้ว คนสมัยก่อนก็จะ ใช้ดินสอพองหรือดินสีขาวที่ถูกขุดขึ้นมา เรียกว่า ดินสุก มาผสมกับน้ำอบเพื่อให้มีกลิ่นหอม และ ทาตัวดับร้อน แก้ผด ผื่นคัน แต่ดินสอพองตามท้องตลาดในยุคนี้อาจไม่ได้มีการกรองอย่างดีเท่า เม่ือก่อน จงึ อาจต้องเลอื กให้ดีก่อนนำมาใช้
2. แป้งร่ำ แป้งร่ำจะมีหน้าตาคล้ายกับดินสอพองที่เราคุ้นเคยกัน เพราะวิธีการทำจะใช้แป้งหินหรือ แป้งนวลมาผสมกับน้ำอบหรือน้ำปรุง แล้วจึงนำไปทำการร่ำ ซึ่งเป็นกรรมวิธีการอบแบบโบราณ ด้วยวตั ถุดิบตา่ ง ๆ ท่มี ีกลนิ่ หอม ตามดว้ ยการใส่น้ำมนั ชะมดเช็ดเพ่ือใหไ้ ด้กลนิ่ ที่ตดิ ทนนาน โดยใน ยุคก่อนนั้นหญิงไทยก็จะนิยมใช้แป้งร่ำผสมกับน้ำอบมาผัดหน้าและทาตัวให้หอมสดชื่น ส่วนแป้ง กระแจะซึ่งเป็นแป้งที่ใช้สำหรับการเจิมในพิธีมงคลต่าง ๆ ของไทย ก็เป็นส่วนผสมระหว่างแป้งร่ำ และน้ำอบเชน่ กนั 3. น้ำอบ นอกจากดินสอพองแล้ว ก็มีน้ำอบที่ยังเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เพราะด้วย ประโยชน์ที่หลากหลายตั้งแต่อดีต ทั้งนำมาทาตัวให้หอมสดชื่นหลังอาบน้ำ รดน้ำผู้ใหญ่ สรงน้ำ พระ และยงั ใชเ้ พ่อื ผสมกบั กบั เครื่องหอมชนดิ อ่นื ๆ ซ่งึ กวา่ จะกลายเปน็ น้ำอบทหี่ อมขนาดน้ี ก็ต้อง ผ่านทั้งการอบร่ำและปรุงเพิ่ม จากไม้หอมต่าง ๆ รวมถึงกำยาน ชะมดเช็ด และพิมเสน ที่เป็น วัตถุดิบหลักในการทำเครื่องหอมไทย ซำ้ ไปมาหลายข้ันตอนจนมีกล่นิ ทต่ี ิดทน 4. น้ำปรงุ น้ำปรุงถือเป็นน้ำหอมของไทยที่มีกรรมวิธีอย่างพิถีพิถัน ตั้งแต่การคัดเลือกดอกไม้แต่ละ พันธุ์ในชว่ งเวลาทีเ่ หมาะสมเพือ่ นำไปผสมกับน้ำสะอาด และทำการหมักอย่างยาวนานหลายเดอื น เพื่อให้ได้น้ำปรุงที่สะอาดบริสุทธิ์ มีกลิ่นหอมติดทนนานเม่ือใช้งาน โดยนอกจากจะทำให้กลิ่นกาย หอมแล้ว สรรคุณจากสมุนไพรยังช่วยบำรุงผิวพร้อมทั้งยังสามารถใช้ในการอบผ้าให้หอม และ ปอ้ งกันแมลงมากัดกนิ ผา้ ดว้ ย
5. กระแจะจนั ทร์ กระแจะจันทร์เป็นเครื่องหอมของไทยมานานตั้งในยุคเริ่มแรกที่ยังไม่มีเครื่องหอมชนดิ อน่ื ๆ มากนัก ซึ่งในยุคนั้นจะนำแก่นด้านในของไม้จันทร์หอม ที่มีน้ำมันหอมระเหยอยู่มาก มาฝนให้ เป็นผงละเอียด ก่อนนำมาใช้ทาบำรุงผิวจะต้องผสมกับน้ำอบให้เป็นเนื้อเหลวข้นสีเหลือง เรียกว่า กระแจะจนั ทร์ และในยคุ ตอ่ ๆ มาก็อาจมีการอบรำ่ ด้วยกำยานหรอื เทียนอบให้มีกลิ่นหอมเพ่ิมมาก ขึ้น 6. บหุ งารำไป บุหงารำไปในแบบดั้งเดิมคือการนำกลีบดอกไม้หอมชนิดต่าง ๆ อย่างเช่น กระดังงา มะลิ หรือพิกุลมาทำให้แห้งและนำไปอบร่ำด้วยเทียน ตามด้วยการปรุงด้วยน้ำปรุงและพิมเสน เหมาะ กับการนำไปวางไว้ในหีบหรือตู้เก็บเสื้อผ้า ทำให้เสื้อผ้ามีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ซึ่งจะแตกต่างจากใน ปจั จุบนั ท่ีเปน็ การนำดอกไมแ้ ห้งมาผสมกับนำ้ หอมและยอ้ มสใี ห้สดขึน้
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนนิ งาน วัตถุดิบ/อุปกรณ์ 1.กลบี ดอกไมส้ ด เชน่ มะลิ กุหลาบมอญ กระดังงา พกิ ลุ บานไม่รู้โรย ชมนาด 2.เทียนอบร่ำ 3.ตะคนั ดินเผา (ถ้วยดินเผาเล็กๆ) 4.หม้อเคลือบหรอื โถแก้วทม่ี ฝี าปิด 5.น้ำอบกลนิ่ มะลิ 6.ถงุ ผ้าโปร่ง หรือถุงลูกไม้ 7.เข็ม ดา้ ย กรรไกร และกาวหลอด 8.ริบบ้ิน ด้นิ ทอง ดอกไม้ ใบไม้ตกแตง่ ตามชอบ วิธที ำ 1. นำกลีบดอกไม้สดไปตากจนแห้งสนิท (ราว 1 สัปดาห์) ดอกกุหลาบควรตากในที่ร่ม จะ ไดส้ สี วย ดอกมะลิควรตากแดดให้หมดความชนื้ 2. นำดอกไมแ้ หง้ ใส่หม้อเคลือบหรอื โถแกว้ 3. จุดเทียนอบจนไส้เทียนแดงจัด ดับเทียน ควันเทียนจะลอยฟุ้งขึ้นมา วางเทียนบนตะคนั ใสใ่ นหมอ้ ดอกไม้แห้ง แลว้ ปดิ ฝาร่ำไวจ้ นหมดควัน ราว 10 – 15 นาที แลว้ นำเทยี นออกมา จดุ ใหม่ ซำ้ ๆ 5 – 7 ตง้ั (คร้งั ) จนดอกไม้ซับกลน่ิ หอมนวลอยา่ งเตม็ ที่ 4. นำน้ำอบท่เี ราได้เตรียมไว้ ฉดี พรมบนดอกไม้แห้ง คลุกเคล้าใหเ้ ขา้ กัน พกั ไว้ 5.บรรจดุ อกไม้แห้งใส่ถงุ ผ้าโปรง่ หรือถงุ ลูกไม้ และเย็บตกแต่งดว้ ยรบิ บ้ิน หรือดิน้ ทอง
วิธกี ารอบดอกไม้จากควันเทยี นอบรำ่ การอบ หมายถึง การนำมาปรุงกลิ่นด้วยควัน หรือนำมาปรุงกลิ่นด้วยดอกไม้หอม การอบ ให้กลิ่นหอมเพียงแค่ช่วงเวลาหนึ่งกลิ่นหอมจะซึมเข้าไปในของที่นำไปอบ โดยวัตถุที่ต้องการให้มี กลิ่นนั้นอยู่ในภาชนะที่มีฝาปิดสนิท จะอบด้วยเทียนอบ มักจะไม่ใช้ดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมเลี่ยน ๆ ห ร ื อ เ ป รี้ ย ว การอบแห้ง หมายถึง การวางดอกไม้ไว้บนขนมหรือสิ่งของต่างๆ ควรจะใช้ภาชนะเล็ก ๆ วางไว้บนของที่อยู่ในโถ ปิดให้สนิท การอบแห้งควรอบตามเวลาดอกไม้บาน และเปิดออกตอน เ ช ้ า ต รู่ การร่ำ หมายถึง การอบกลิ่นหอมหลายอย่าง และทำโดยภาชนะเผาไฟแล้วใส่เครื่องหอม เพื่อให้เกิดควนั ทีม่ ีกลิ่นหอมได้แก่ กลิ่นหอมของยางไม้ กลิ่นน้ามัน กลิ่นเนื้อไม้ ฯลฯ การร่ำเครื่อง หอมต้องใช้ภาชนะที่สำคัญ คือ โถกระเบื้องการที่จะร่ำต้องใส่ทวนไว้ตรงกลางโถ นำตะคันเผาไฟ ให้รอ้ น แลว้ นำไปวางไวบ้ นทวน (อ้างอิง ออนไลน์, 2564 URL: https://itstreethai.com/เคร่อื งหอมทำ อย่างไร/)
เคลด็ ลบั การอบรำ่ กลนิ่ ควันเทียน 1.เลือกซื้อเทยี นอบที่มกี ลิ่นหอม จับดูเนือ้ เทียนตอ้ งไมแ่ ข็งเกินไป ถ้าทำจากข้ีผ้ึงแท้จะอ่อน 2.ถา้ เปน็ เทยี นทใ่ี ชม้ าแล้ว กอ่ นจุดเทยี นต้องเข่ียขี้เถา้ รอบๆ เทียนทิง้ กอ่ น ตดั ไสเ้ ทยี นใหส้ ้ัน ลงโดยเฉพาะปลายที่ไหม้ มิฉะนั้นจะเหม็นควันไฟและผงขี้เถ้าอาจตกใส่ขนมได้ เขี่ยไส้ เทียนใหแ้ ผ่บานออกกอ่ น เวลาจุด เปลวไฟจะลกุ หลอมถึงเน้ือเทยี นได้เร็ว เม่ือสังเกตว่าเร่ิม มีน้ำตาเทียนแล้ว จึงเป่าให้ไฟดับ รีบวางเทียนลงบนถ้วยตะไลที่อยู่ในภาชนะเตรียมไว้อบ อีกทีปิดฝาภาชนะทันที อบทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที หรือข้ามคืนก็แล้วแต่สิ่งที่อบ 3.เทียนแต่ละเจ้ามีปริมาณเครื่องเทศหรือน้ำมันดอกไม้หอมไม่เท่ากัน ดังนั้นบางเล่มที่มี เครื่องหอมเยอะอาจใช้เวลาอบไม่นาน ถ้าใช้ครั้งแรกให้ลองอบครั้งเดียวดูก่อนค่อยทำ 4.เมื่อใช้เสร็จแล้วเก็บเทียนใส่ขวดโหลหรือถุงซิปล็อกปิดสนิท เก็บไว้ในที่แห้ง (ครมู ด อดิศร วัฒนะกจิ และชมรมพิพิธสยาม,2561 )
1. นำกลีบดอกไม้สดไปตากจนแห้งสนิท (ราว 1 สัปดาห์) ดอกกุหลาบควรตากในที่ร่ม จะ ได้ สสี วย ดอกมะลคิ วรตากแดดใหห้ มดความชน้ื 2. นำบุหงาแหง้ ใสห่ ม้อเคลอื บหรอื โถแกว้ 3. จุดเทียนอบจนไส้เทียนแดงจัด ดับเทียน ควันเทียนจะลอยฟุง้ ขึ้นมา วางเทียนบนตะคนั ใสใ่ นหมอ้ บุหงาแห้ง แล้วปดิ ฝาร่ำไวจ้ นหมดควัน 4. ร่ำราว 10 – 15 นาที แล้วนำเทียนออกมาจดุ ใหม่ ร่ำซ้ำๆ 5 – 7 ตั้ง (ครั้ง) จนบุหงาซับ กล่ินหอมนวลอย่างเต็มที่5. พรมน้ำอบบนบุหงาแห้ง คลกุ เคล้าใหเ้ ข้ากัน พักไว้ (ภทั รียา พวั พงศกร,2555) วิธีการอบดอกไม้จากควันเทียนอบร่ำได้ว่าวิธีการอบดอกไม้จากควันเทียนร่ำจะมีการ นำเอาการอบและการรำ่ มาไว้ในวธิ ีการอบดอกไม้จากควันเทยี นร่ำโดยการอบคือการนำดอกไม้มา ปรงุ ดว้ ยกล่นิ ควนั ใหอ้ ม โดยวิธีการคอื นำวัตถทุ ่ีต้องการอบ มาใสไ่ ว้ในภาชนะท่ีมฝี าปิด เเละการอบ ด้วยเทียนอบ การอบแห้ง คือการวางดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมไว้บนขนม หรือสิ่งของที่ต้องการให้มี กล่นิ ดอกไม้นนั้ และปดิ ฝาใหส้ นทิ และการร่ำ คอื การอบกล่ินหอม โดยนำภาชนะไปเผาให้เกดิ ควัน หอม โดยมวี ิธีการคอื นำกลีบดอกไม้สดไปตากแห้ง และนำไปใส่หม้อแกว้ จดุ เทยี นจนไสแ้ ดงจัด ดับ เทียนควันเทียนจะลอยขึ้นมา แล้วปิดฝาร่ำจนหมดควัน ร่ำซ้ำจนกลิ่นของดอกไม้หอมเต็มที่ พรม นำ้ และคลกุ กับดอกไม้แหง้ ทีส่ นใจ
บทท่ี 4 ผลการจดั ทำโครงงาน จากการศึกษาการทำโครงงานเครื่องหอมจากธรรมชาติโดยปฏิบัติตามขั้นตอนการ ดำเนนิ การคือ ปรึกษาหวั ข้อโครงงานกนั ภายในกลุม่ เสนอหัวขอ้ โครงงาน รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์ ข้อมลู เรมิ่ จัดทำโครงงานตรวจสอบและแก้ไขปัญหา สรปุ ผลการทำโครงงาน และไดช้ น้ิ งานเป็นถุง เครอ่ื งหอมจากดอกไมธ้ รรมชาตอิ อกมาใชป้ ระโยชน์ คณะผู้จดั ทำโครงงานเครื่องหอมจากดอกไมธ้ รรมชาติ ไดท้ ำแบบสอบถามความพงึ พอใจของเคร่ือง หอมจากดอกไม้ธรรมชาติ จากนักเรียนโรงเรยี นปัวจำนวน 20 คน จากการเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดย การใช้แบบสอบถามจำนวน 20 ชุด สามารถแสดงผลการวเิ คราะห์ ข้อมูลไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี นักเรียนโรงเรียนปวั จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ กลุ่มท่ี 1 5 25.00 กลุม่ ที่ 2 10 50.00 กลุม่ ที่ 3 3 15.00 กลุ่มที่ 4 2 10.00 รวม 20 100 จากตารางพบวากลุ่มตวั อยา่ งท่ีตอบแบบสอบถามในการทำโครงงานคร้ังนี้ คิดเป็น กลุม่ ท่ี 1 ร้อยละ 25 กลุม่ ที่ 2 ร้อยละ 50 กลมุ่ ที่ 3 ร้อยละ 15 และกลมุ่ ท่ี 4 ร้อยละ 10
ผลการประเมิณผล นกั เรียน 5 คะแนน 4คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน (คน) (คน) (คน) โรงเรยี นปัว (คน) (คน) 100 100 กลุ่มท่ี 1 3 1 000 000 กลมุ่ ท่ี 2 9 0 200 กล่มุ ที่ 3 3 0 กลมุ่ ท่ี 4 0 2 รวม 15 3
บทท่ี 5 สรปุ ผลและอภิปรายผลการดำเนนิ การจดั ทำโครงงาน เนื่องจากโลกของเรามีอากาศที่ร้อนแต่ในห้องอาจจะเย็นแต่ไม่ได้สดชื่นอย่างที่คิด เนื่องจากเราออกไปข้างนอกพบเจออากาศร้อน มีเหงื่อ มีกลิ่นที่ไม่พึงประสงคต์ ิดมา เมื่อเข้ามาใน บ้านที่มีเครื่องปรับอากาศอาจจะทำให้มีกลิ่นเหม็นอับ บางทีเกิดความหงุดหงิด ด้วยเหตุนี้คณะ ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาค้นคว้าการทำเครื่องหอมจากดอกไม้ธรรมชาติขึ้นมาเพื่อให้ภายในบ้านเกิด ความหอม และมีการเลือกใช้ดอกไม้ที่มาจากธรรมชาติ เพื่อนำดอกไม้มาปรับใช้ให้เกิด ประโยชนม์ ากยิ่งขึน้ ดอกไมท้ ี่นำมาใช้คือ ดอกกุหลาบ ดอกมะลิ และดอกกระดงั งา การใช้ดอกไม้ ท่ีมาจากธรรมชาติทำให้มคี วามปลอดภัยมากกว่าการใชส้ ารเคมีในการทำเพราะการใช้สารเคมีอาจ มกี ารตกค้าง จากขนั้ ตอนการประเมนิ ผล คณะผูจ้ ดั ทำได้มีการเก็บขอ้ มูลโดยได้ทำการแจกแบบสอบถาม ความพึงพอใจของเคร่ืองหอมจากดอกไม้ ใหก้ บั นักเรยี นโรงเรยี นปัว จำนวน 20 ชุด และผลลัพธ์ท่ี ไดอ้ ยใู่ นเกณฑท์ ี่นา่ พึงพอใจมาก
บรรณานกุ รม ▪ วธิ ีทำบหุ งาสดและบหุ งาแหง้ เครอ่ื งหอมของสาวชาววงั (พ.ศ.2561) https://readthecloud.co/staycation-perfume-flower/ ▪ ถงุ หอมจากดอกกลว้ ยไมด้ บั กลิน่ - e-research Siam University (พ.ศ.2562) https://e-research.siam.edu ▪ STEM - ธนชินณ์ ชัยพพิ ัฒนว์ รกุล (พ.ศ2561) http://thanachin28.blogspot.com › 2018/09 ▪ กหุ ลาบ , 2563 https://th.wikipedia.org/กหุ ลาบ ▪ มะลเิ ครอ่ื งหอม , 2559 คนรักไม้ดอกหอมและเครื่องหอมไทย ▪ ดอกกระดงั งา , 2564 คนรักไมด้ อกหอมและเครื่องหอมไทย ▪ ออนไลน์, 2564 URL: https://itstreethai.com/เครือ่ งหอมทำอยา่ งไร/ ▪ ครมู ด อดศิ ร วฒั นะกิจ และชมรมพพิ ธิ สยาม,2561 ▪ ภทั รยี า พวั พงศกร,2555
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: