คมู่ อื การปฏิบตั ิงาน การเปล่ียนคอมเพรสเซอร์ เครือ่ งปรับอากาศ หจก.สนิ โสภา เซอรว์ สิ นายพุฒิพงศ์ ใจอินทร์ รหสั 6441040018 สาขาเทคโนโลยีไฟฟา้ วิทยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคใต้ อ้างอิงรายวิชา : การเขยี นรายงานในงานอาชพี รหัส : 20-4000-1101 ทีป่ รกึ ษา : ดร.สมหวัง ศุภพล
สารบญั 1 1-2 บทนำ 3-5 ขนั้ ตอนการเปลีย่ นคอมเพรสเซอร์เครื่องปรับอากาศ 6-7 เครือ่ งมืออุปกรณแ์ ละข้อควรระวัง 8-10 01.การถอดฝาครอบคอมเพรรเซอร์เคร่อื งปรับอากาศ 11-13 02.ใช้ไฟเชือ่ มแกส๊ เป่าจดุ ตอ่ เผอื่ นำคอมเพรสเซอรอ์ อก 14-15 03.ล้างทอ่ ระบบน้ำยาแอร์ด้วยนำ้ ยาF11 16-17 04.เชือ่ มทอ่ น้ำยาติดตัง้ คอมเพรสเซอร์ลกู ใหม่ 18-20 05.ทำสุญญากาศด้วยเคร่ืองแวค็ คั่มป้ัม 21 06.ตรวจเช็คการทำงานของคอมเพรสเซอร์เคร่อื งปรบั อากาศ 22-31 ภาคผนวก 32-40 ภาคผนวก ก การตรวจเช็คสภาพมอเตอร์ 41-42 ภาคผนวก ข การซ่อมบำรุงส่วนต่างๆ ตามตาราง 43 บรรณานกุ รม ประวัติผู้จัดทำ
-1- บทนำ ในปัจจบุ นั เครือ่ งปรบั อากาศนนั้ เป็นสิ่งท่จี าเป็นในการใชช้ วี ติ ในแตล่ ะวนั เพราะเมอื งไทยมีอากาศท่ีรอ้ นผคู้ นสว่ น ใหญ่มกั จะติดตงั้ เครอ่ื งปรบั อากาศเกือบทกุ ครวั เรือนคอมเพรสเซอรข์ องเครื่องปรบั อากาศคือหวั ใจของระบบปรบั อากาศ ทง้ั นีก้ ารใชเ้ ครื่องปรบั อากาศเป็นประจาเคร่ืองปรบั อากาศจึงมีอาการชารุดหรือเส่ือมสภาพ เครื่องปรบั อากาศถึงแมว้ ่า คอมเพรสเซอรข์ องเครื่องปรบั อากาศจะเป็นส่ิงท่ีไม่ไดช้ ารุดบ่อยครงั้ แต่การเปลี่ยนคอมเพรสเซอรเ์ คร่ืองปรบั อากาศนนั้ มี วิธีการเปลย่ี นท่ยี ากในระดบั นึงจงึ ตอ้ งมคี มู่ อื ในการเปลยี่ น ค่มู ือฉบบั นีม้ ีขนั้ ตอนการเปลี่ยนคอมเพรสเซอรเ์ คร่ืองปรบั อากาศ รายละเอียดต่างๆ ของวสั ดอุ ุปกรณแ์ ละหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าคมู่ ือฉบบั นจี้ ะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่าน ขั้นตอนการเปลีย่ นคอมเพรสเซอรเ์ ครื่องปรับอากาศ มี 6 ขน้ั ตอน การถอดฝาครอบคอมเพรสเซอร์ 01 เครื่องปรับอากาศ ใช้ไฟเชื่อมแก๊สเป่ าจดุ ต่อเพอื่ นา 02 คอมเพรสเซอรอ์ อก ล้างทอ่ ระบบนา้ ยาแอรด์ ้วยนา้ ยาF11 03
-2- ขัน้ ตอนการเปลี่ยนคอมเพรสเซอร์เคร่อื งปรบั อากาศ มี 6 ข้ันตอน เชอ่ื มทอ่ นา้ ยาตดิ ตัง้ คอมเพรสเซอรล์ กู 04 ใหม่ ทำสุญญากาศด้วยเคร่ืองแวคคั่ม 05 02 ตรวจเช็คการทำงานคอมเพรสเซอร์ 06 เครอื่ งปรับอากาศ 02
-3- เคร่อื งมอื อปุ กรณแ์ ละข้อควรระวัง การเปลยี่ นคอมเพรสเซอร์เครอื่ งปรบั อากาศ ไขควงปากแฉก ไขควงปากแบน ขอ้ ควรระวัง ขอ้ ควรระวัง ควรใชข้ นั สกรูแบบถกู วธิ ีไม่ใช้ควรแทนอปุ กรณ์อืน่ ควรใช้ขนั สกรูแบบถูกวธิ ีไมใ่ ช้ควรแทนอปุ กรณอ์ ื่น สว่านแบตเตอรี่ ถังแกส๊ เชอ่ื มทองแดง ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ควรเชค็ ดอกสว่านว่าใส่แนน่ หรือไม่ บรเิ วณทีท่ ำงานไม่ควรมีส่ิงทีต่ ดิ ไฟง่าย คีมปากจง้ิ จก ผา้ กันเปื้อน ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวัง ไม่ควรใชค้ ีม ตอกหรือทบุ งดั แทนคอ้ น -
-4- เครื่องมืออุปกรณแ์ ละขอ้ ควรระวงั การเปลี่ยนคอมเพรสเซอรเ์ ครอื่ งปรบั อากาศ เกจวัดน้ำยาแอร์ น้ำยาF11 ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง ควรตรวจสอบจดุ ต่อของสายเกจทกุ ครงั้ วา่ แน่นหรอื ไมค่ วรใหส้ มั ผสั บรเิ วณดวงตาและผวิ หนงั เพราะนา้ ยามี ชารุดหรอื ไม่ ฤทธิเ์ ป็นกรด ถงั ไนโตรเจน กระบอกอดั นำ้ ยาF11 ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ตรวจสอบจดุ ขอ้ ต่อของหวั ถงั ไนโตรเจนใหแ้ น่นกอ่ นท่ี ควรใชใ้ หถ้ กู วธิ ีไมใ่ ชแ้ ทนอปุ กรณอ์ ่นื จะใชง้ าน ลวดเชอื่ มทองแดง เครื่องแวคค่มั ป้มั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ใชใ้ หถ้ กู วธิ ีไม่ใชแ้ ทนอปุ รกรณอ์ นื่ ๆ ก่อนใชง้ านควรตรวจสอบวา่ นา้ มนั แวคค่มั ปั้มมหี รอื ไม่ และหลงั ใชง้ านควรเกบ็ ใหด้ ีไมใ่ หป้ ั้มตะแคงหรอื คว่า
-5- เคร่อื งมืออปุ กรณแ์ ละขอ้ ควรระวงั การเปลย่ี นคอมเพรสเซอร์ ประแจเล่ือน แคลมปม์ เิ ตอร์ ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั ใชใ้ หถ้ กู วธิ ีไม่ใชท้ บุ หรืองดั จะทาใหอ้ ปุ กรณเ์ สียหาย ตอ้ งดพู กิ ดั กระแสของเครอื่ งวดั อย่างละเอียด
-6- 01 การถอดฝาครอบคอมเพรสเซอร์ เครื่องปรบั อากาศ เคร่อื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวัง -ควรขนั สกรูอย่างระมดั ระวงั ไม่เรว็ จนเกินไป -ควรใชม้ ือหรอื อปุ กรณร์ องสกรูท่ขี นั เพ่อื กนั -ควรกดนา้ หนกั ลงไปท่ีหวั สกรู สกรูหลน่ สญู หาย
-7- 01 การถอดฝาคอมเพรสเซอร์ เคร่ืองปรับอากาศ shorturl.asia/e4XMS 1.ขนั สกรูฝาครอบดา้ นบนทงั้ 2ดา้ น 2. ขนั สกรูฝาครอบดา้ นหนา้ 3. ขนั สกรูดา้ นขา้ งออก 4.ถอดฝาครอบเสรจ็ สมบรู ณ์
-8- 02 ใช้ไฟเชื่อมแก๊สเป่ าจดุ ตอ่ เพอ่ื นาคอมเพรสเซอรอ์ อก เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวัง -ใช้ไฟแก๊สเป่าท่อทองแดง -ควรทำงานในทีท่ ่ีไม่มสี ่ิงของติดไฟได้ง่าย -ใช้คีมดึงขอ้ ตอ่ ของทอ่ ทองแดงออกมา -นำผา้ ชุบน้ำมาปดิ ตรงท่อทองแดงที่รอ้ น -ควรระมัดระวงั ไม่ให้ไฟไปโดนส่วนอื่นของ เคร่ืองปรับอากาศ -ควรโดนท่อทองแดงท่รี ้อนต้องนำผ้าชุบนำ้ เชด็
-9- 02 ขัน้ ตอนการนำคอมเพรสเซอร์ ออก shorturl.asia/e4XMS 1. ใชไ้ ฟเป่าท่อทองแดงดา้ นบนใหร้ อ้ นแลว้ นาคมี ดงึ ออก 2. ใชไ้ ฟเป่าท่อทองแดงดา้ นขา้ งใหร้ อ้ นแลว้ นาคมี ดงึ 3. ใชไ้ ฟเป่าทอ่ ทองแดงดา้ นบนใหร้ อ้ นแลว้ นาคีมดงึ ออก 4. ค่อยๆยกคอมเพรสเซอรอ์ อกอย่างระมดั ระวงั
- 10 - .3 02 5.ถอดคอมเพรสเซอรเ์ สรจ็ เรยี บรอ้ ย
- 11 - 03 ลา้ งทอ่ ระบบนา้ ยาด้วยนา้ ยาF11 เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวงั -นำสายเกจต่อเขา้ กบั กระบอกอดั น้ำยาF11 -ควรทำงานในท่ที ไี่ มม่ ีส่งิ ของตดิ ไฟไดง้ า่ ย และต่อเข้ากับถงั ไนโตรเจน -ควรระวงั การเปิดปดิ แรงดนั จากถงั ไนโตรเจน -เปิดถงั ไนโตรเจนเพ่อื ไลแ่ รงดนั น้ำยาF11ใน ไมใ่ ห้แรงเกนิ ไป ทอ่ นำ้ ยา -ระวงั ไม่นำ้ ยาF11กระเดน็ เลอะพ้ืนท่รี อบๆ
- 12 - 03 ล้างทอ่ ระบบนา้ ยาด้วยนา้ ยา F11 shorturl.asia/e4XMS 1. เทนา้ ยาF11ลงในกระบอกอดั นา้ ยา 2. ต่อสายเกจทางดา้ นlowเขา้ กบั กระบอกอดั นา้ ยา และสายเกจต่อจากกระบอกนา้ ยาไปยงั ทอ่ นา้ ยา 3. นาสายเกจสีเหลอื งตรงกลางเกจตอ่ เขา้ กบั ถงั 4. นาขวดเปล่ามารองนา้ ยาF11ท่ีจะไลอ่ อกมาจากท่อ ไนโตรเจนเพ่อื ไล่แรงดนั นา้ ยา
- 13 - 03 5.เปิดเกจดา้ นlowเพ่อื ใหแ้ รงดนั ไล่นา้ ยาF11เขา้ ไปใน 6.สงั เกตนุ า้ ยาF11ท่ไี หลออกมาทางทอ่ นา้ ยาจะมีสดี า ระบบท่อนา้ ยาและดนั ออกมาทางท่อนา้ ยา 7.เม่ือไล่จนนา้ ยาF11ในกระบอกหมดแต่นา้ ยายงั เป็นสี 8.เม่ือนา้ ยาF11ท่ไี ล่แรงดนั ออกมาใสแลว้ เสรจ็ ขน้ั ตอน ดาใหเ้ ตมิ นา้ ยาเขา้ ในกระบอกและไลร่ ะบบใหมจ่ นกว่าจ การไล่นา้ ยาF11เรียบรอ้ ยแลว้ นา้ ยาท่อี อกมาเป็นสใี ส
- 14 - 04 เชอ่ื มทอ่ นา้ ยาตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอรล์ กู ใหม่ เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั -ใช้ไฟ รนทอ่ ทองแดงให้ร้อนแลว้ นำเอา -ควรทำงานในที่ทไี่ มม่ ีสิ่งของติดไฟไดง้ ่าย ลวดทองแดงจมิ้ ตรงทีร่ อยตอ่ ท่อทองแดง เพอื่ ใหล้ วดทองแดงละลายเชอ่ื ปิดรอยตอ่ ท่อ -ควรระวงั ไมใ่ หไ้ ฟ รนทอ่ ทองแดงนานเกนิ ไป จะทำใหท้ อ่ ขาดหรอื ละลายได้
- 15 - 04 เชื่อมทอ่ นา้ ยาตดิ ตงั้ คอมเพรสเซอรล์ ูกใหม่ shorturl.asia/e4XMS 1. เช่ือมทอ่ ทองแดงตามจดุ ท่ีต่อกบั คอมเพรสเซอร์ 2.เช่ือมทอ่ ทองแดงตามจดุ ท่ตี ่อกบั คอมเพรสเซอร์ 3. เช่ือมท่อทองแดงตามจดุ ท่ตี ่อกบั คอมเพรสเซอร์ 4.เม่ือเช่ือมท่อทองแดงตามจดุ ท่ตี อ่ กบั คอมเพรสเซอร์ ครบแลว้ กเ็ สรจ็ สนิ้ ขน้ั ตอน
- 16 - 05 ทาสุญญากาศดว้ ยเคร่อื งแวคค่ัม เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวัง -ใชป้ ระแจขันฝาทป่ี ิดอยทู่ ่ีวาลว์ ของ -ควรเชค็ ข้อตอ่ เกจกบั เคร่ืองแวคค่ัมว่าแนน่ คอมเพรสเซอร์ หรือไม่ -นำเกจทางดา้ นlowต่อเข้ากับคอมเพรสเซอร์ -ควรใช้เวลาแวคคม่ั ประมาณ30-45นาที และสายเกจสเี หลืองตอ่ เขา้ กบั เครือ่ งแวคคั่ม
- 17 - 05 ทำสุญญากาศดว้ ยเคร่ือง แวคคั่ม shorturl.asia/WQUjh 1.นาสายเกจทางดา้ นlowสีนา้ เงินต่อเขา้ กบั 2.เปิดเครอ่ื งแวคค่มั และเปิดเกจดา้ นlowสงั เกตวา่ เข็ม คอมเพรสเซอรส์ ายเกจสเี หลืองตอ่ เขา้ กบั เครื่องแวคค่มั จะตกลงมาอยทู่ ่ี -30 3.เปิดเคร่อื งใหท้ าการแวคค่มั ไวป้ ระมาณ30นาทวี ิธีฟัง 4.เม่ือทาการแวคค่มั เสรจ็ แลว้ ใหป้ ิดเกจกอ่ นเสมอแลว้ เสยี งดคู ลิปวดิ โี อไดท้ ่ลี งิ คด์ า้ นบน ค่อยปิดเครือ่ งแวคค่มั เสรจ็ สนิ้ ขนั้ ตอน
- 18 - 06 ตรวจเชค็ การทำงานคอมเพรสเซอรเ์ คร่อื งปรับอากาศ เครือ่ งมือและอุปกรณ์ เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวงั -ใชไ้ ขควงขนั ฝาครอบแผงไฟออก -ควรระมัดระวงั ในการใชแ้ คลมป์มิเตอร์ ตรวจสอบค่าที่จะใชว้ ัดให้ดี -นำแคลมปม์ เิ ตอรห์ นบี คล้องกับสายไฟเส้นที่ จะวัดค่ากระแส -ควรระมัดระวงั ไฟรว่ั ขณะวัดกระแส -ใชเ้ กจตอ่ เพอื่ จะดคู ่าแรงดันนำ้ ยา
- 19 - 06 ตรวจเชค็ การทำงานของ คอมเพรสเซอร์ shorturl.asia/dbSkW 1.ถอดฝาคลอบวงจรไฟฟ้าท่คี อนเดนซงิ่ แลว้ นาแคลมป์ 2.นาสายเกจดา้ นlowตอ่ เขา้ กบั เครอื่ งคอมเพรสเซอร์ มเิ ตอรห์ นีบคลอ้ งไวท้ ่สี ายไฟ 3.เปิดเคร่อื งทาการวดั กระแสและแรงดนั ของนา้ ยา 4.ตรวจเชค็ กระแสและแรงดนั นา้ ยาวา่ ตรงตามท่ีเนม เพลทท่ตี ดิ มากบั เครือ่ งกาหนดมาหรอื ไม่
- 20 - 06 5.เม่ือตรงตามท่ีเนมเพลทกาหนดแลว้ ทาการประกอบฝา 6.เสรจ็ สนิ้ ขน้ั ตอนการตรวจเชค็ การทางานของ ครอบท่ถี อดออกมา คอมเพรสเซอร์
- 21 - ภาคผนวก
- 22 - ภาคผนวก ก. เครอื่ งปรบั อากาศ
- 23 - เครื่องปรบั อากาศคอื อะไร เคร่อื งปรับอากาศ หรือแอร์ เปน็ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ชนิดหนงึ่ ทใี่ ชใ้ นการปรับอณุ หภมู ิให้กบั ภายในห้องท่ี ตอ้ งการใหเ้ ย็นลง และคงที่ ซ่ึงจริงๆ แลว้ เครืองปรับอากาศจะไมไ่ ด้มเี ฉพาะทำความเยน็ อยา่ งเดยี ว ใน ต่างประเทศที่มอี ากาศหนาวอยแู่ ลว้ ก็จะใช้อกี ชนิดหนึง่ นั่นคอื เคร่ืองทำความร้อน (Heater) แทน สำหรับในบทความน้ีจะพดู ถึงเคร่อื งปรับอากาศทที่ ำความเยน็ ส่วนประกอบของเครือ่ งปรบั อากาศ 1. คอมเพรสเซอร์ (Compressor) เป็นอุปกรณช์ ิ้นแรกของเคร่ืองปรบั อากาศ มหี น้าท่ใี นการ เคล่อื นสารทำความเยน็ หรอื น้ำยาแอร์ ทำให้สารทำความเย็นมีคุณหภมู แิ ละความดนั สูงขึ้น 2. คอยลร์ อ้ น (Condenser) เปน็ อปุ กรณท์ ีจ่ ะติดต้งั ภายนอก ทำหนา้ ทีใ่ นการระบายความรอ้ น จากสารทำความเยน็ ออก 3. คอยล์เยน็ (Evaporator) เป็นอุปกรณท์ ่ตี ดิ ตังอยู่ภายใน ทำหนา้ ทใ่ี นการดดู ซับความร้อนจาก ภายในให้เขา้ ไปสสู่ ารทำความเย็น 4. อุปกรณล์ ดความดนั (Throttling Device) เปน็ อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการลดความดันและอณุ หภมู ิ ของสารทำความเย็น ขัน้ ตอนการทำงานของเคร่ืองปรับอากาศ 1. คอมเพรสเซอร์ จะดดู และอดั ความดนั เข้าสู่สารทำความเยน็ และส่งต่อไปยงั คอยล์ร้อน 2. น้ำยาจะไหลผ่านแผงคอยลร์ อ้ น และใชพ้ ัดลมเป่าเพ่ือระบายความรอ้ นออกจากสารทำความ เยน็ ทำใหอ้ ุณหภูมลิ ดลง และส่งตอ่ ไปยังอปุ กรณ์ลดความดนั 3. นำ้ ยาจะไหลผ่านจากอุปกรณล์ ดความดนั ไปยงั คอยล์เยน็ โดยผา่ นท่อ ซงึ่ นำ้ ยาท่ีไหลในส่วนนี้ จะมีความดันตำ่ และอุณหภูมติ ำ่ 4. นำ้ ยาจะไหลผ่านแผงคอยล์เยน็ โดยมพี ดั ลมเป่า ทำใหส้ ารทำความเยน็ ดูดซับความร้อนออก จากภายในหอ้ ง ทำให้น้ำยามีความรอ้ นสงู ขึ้น และจะถกู สง่ กลับไปยังคอมเพรสเซอร์
- 24 - ประเภทของเครอ่ื งปรับอากาศ 1. แอร์ติดผนัง (Wall Type) เป็นเครอื่ งปรับอากาศทพี่ บเห็นได้บอ่ ยท่ีสดุ เพราะเป็นเครอื่ งปรบั อากาศที่สามารถตดิ ตั้งได้ ง่าย บำรงุ รักษา-ซอ่ มไดง้ า่ ย มีหลากหลายฟงั ก์ช่ันให้ใชง้ าน มีความเงียบ แต่อาจจะไม่เหมาะสำหรบั การใช้งานหนกั และไมส่ ามารถเคลื่อนย้ายได้ โดยมกั จะมี BTU อยทู่ ี่ 9,000 BTU จนถึง 20,000 BTU เลยทีเดียว ขอ้ ดขี องแอร์ตดิ ผนงั หรอื แอรว์ อลไทป์ • มแี อรต์ ิดผนังให้เลือกหลากหลายรปู แบบและหลากหลายย่ีห้อด้วยเชน่ กัน • รูปแบบทนั สมัย และมีใหเ้ ลือกหลากหลาย มาพร้อมฟงั กช์ ัน่ ท่ีทนั สมยั • การทำงานของแอรว์ อลไทป์จะเงยี บ • ซอ่ มงา่ ย ทำนบุ ำรุงงา่ ย ข้อเสยี ของแอรต์ ดิ ผนัง หรือแอร์วอลไทป์ • แอร์วอลไทปไ์ ม่เหมาะกับงานหนัก เน่อื งจากคอยล์เย็นมีขนาดเลก็ ส่งผลให้คอยลส์ กปรก และ อดุ ตนั งา่ ยกว่าคอยลท์ ี่มีขนาดใหญก่ วา่
- 25 - 2. แอร์แบบต้งั พ้นื หรอื แขวน ( Ceiling / Floor Type) เป็นแอรท์ ใ่ี ช้งานคลา้ ยๆ กับเครื่องปรบั อากาศแบบติดผนงั แต่ชนิดนีจ้ ะวางไวก้ บั พ้นื ทห่ี ้อย แขวนไวบ้ นผนงั ไม่สามารถเคลือ่ นย้ายได้ สำหรบั การติดต้งั บนพ้ืนควรจะคำนงึ ถึงการกระจายความ เย็นดว้ ย ถ้าหากวางไว้ในตำแหน่งท่ีไมด่ ี ก็จะไม่สามารถกระจายความเยน็ ได้ท่ัวถงึ ข้อดี • ติดตัง้ ง่าย ไม่ต้องทำนั่งรา้ นตอ่ ขึน้ ไปเพ่อื วางแอรห์ รือคอมเพรสเซอร์ต่างๆ • เปิดใช้แลว้ ทำให้รูส้ ึกถงึ ความเย็นไดร้ วดเร็วเพราะแอรอ์ ยูใ่ นระดบั ตวั โดยตรง ข้อเสีย • ไม่ค่อยมีรูปแบบดีไซนใ์ หเ้ ลอื กหลากหลาย • ถา่ ยเทความเย็นไมด่ เี ท่าแอร์ตดิ ผนังทเี่ ป่าลมลงมาจากท่ีสงู อาจมปี ัญหาความเย็นกระจกุ อยู่ที่ จุดๆ เดียว
- 26 - 3. แอรแ์ บบฝงั ติดเพดาน เคร่ืองปรับอากาศชนิดนี้ จะเปน็ เครอ่ื งปรบั อากาศขนาดใหญ่ ราคาค่อนขา้ งสูง มีการติดต้ังที่ ซับซ้อน แต่จดุ เด่นของเคร่อื งปรบั อากาศชนิดน้คี ือ จะมองไมเ่ ห็นตวั เครือ่ งปรับอากาศโผล่ออกมา ดา้ นนอก ทำใหไ้ ม่เปลอื งพ้ืนที่ นอกจากจะใช้ภายในบ้านแล้ว หา้ งสรรพสนิ ค้า โรงแรม ก็ใช้งานเช่นกนั เพราะเคร่ืองปรับอากาศชนดิ นี้สามารถกระจายความเยน็ ไดท้ ัว่ ถึง ข้อดี • ไม่เปลอื งพื้นท่ี ดูเท่ โมเดิร์น • กระจายอากาศได้ดี โดยเฉพาะหากตดิ ตงั้ บริเวณกลางหอ้ ง ขอ้ เสีย • ตดิ ตง้ั ยาก อาจต้องคดิ เรื่องการตดิ ตัง้ พร้อมๆ กบั ขั้นตอนการสร้างไปเลย • เสียค่าใช้จา่ ยเยอะ ท้ังเครื่องทม่ี ักจะแพงกว่าและคา่ ตดิ ตงั้ ทย่ี ากกว่า
- 27 - 4. ระบบปรบั อากาศในอาคาร (HVAC) เป็นระบบในการปรับอากาศขนาดใหญก่ ว่าการตดิ ตงั้ แอรบ์ ้างท่วั ไป โดยระบบนี้จะมีเครืองทำ ความเย็นและสง่ และระบายลมออกผ่าน ทอ่ ลม ซง่ึ ระบบนม้ี ักจะใช้ในพนื้ ทขี่ นาดใหญ่ เชน่ หา้ งสรรพสินคา้ อาคารสำนักงาน ขนาดใหญ่ 5. แอร์แบบตู้ตั้งพืน้ (Package Type) เครื่องปรับอากาศชนิดน้จี ะมีลกั ษณะเปน็ ตสู้ เ่ี หล่ียม ไมค่ อ่ ยนยิ มใชง้ านภายในบ้าน เพราะตัวตู้ มขี นาดใหญ่ ตง้ั อยบู่ นพ้นื ซึ่งเคร่ืองปรับอากาศชนิดนี้จะเหมาะใช้ในพื้นท่ีมขี นาดใหญ่ เชน่ หอ้ ง ประชมุ สนามบนิ
- 28 - 6. แอรแ์ บบเคลื่อนที่ (Movable Type) เครอ่ื งปรับอากาศชนิดน้ีจะเร่ิมพบเห็นไดบ้ ่อย เพราะมขี นาดเล็ก และยงั เคล่อื นท่ไี ดอ้ กี ด้วย แต่แอรช์ นดิ นม้ี ขี นาด BTU ทีต่ ่ำ จงึ ไม่เหมาะกบั ห้องทม่ี ขี นาดใหญ่ ข้อดี • ขนาดกะทดั รัด • ไมต่ อ้ งตดิ ตั้ง ข้อเสยี • ใช้ได้แต่ในหอ้ งขนาดเลก็ BTU ตำ่
- 29 - 7. แอรแ์ บบหนา้ ตา่ ง เป็นเครอื่ งปรบั อากาศชนดิ ทพ่ี บเหน็ ได้ยากในปัจจบุ นั มีลกั ษณะเป็นต้สู เ่ี หลี่ยม ไม่จำเป็นต้อง ใช้คอมเพรสเซอร์ ใชต้ ิดตัง้ ในพนื้ ทจ่ี ำกดั ไดด้ ี แต่จะปรบั อณุ หภูมแิ ละกระจายความเย็นไดไ้ มด่ ี และมี เสยี งดงั ในระหว่างการทำงาน ขอ้ ดี • ประหยัดพน้ื ท่ีเนื่องจากไมต่ ้องใชพ้ น้ื ที่ตดิ ตั้งคอนเดน • ตดิ ตง้ั งา่ ยเพราะไมต่ ้องเดนิ ท่อน้ำยา • ประสทิ ธิภาพในการทำความเยน็ สูง ข้อเสีย • มเี สยี งดังและเครือ่ งส่นั ระหวา่ งทำงาน • ปรบั อุณหภูมแิ ละการสวิงกระจา่ ยความเยน็ ไมค่ อ่ ยได้
- 30 - ขนาดของเคร่ืองปรบั อากาศ เคร่ืองปรับอากาศเปน็ ขนาดเป็น BTU ยอ่ มาจาก British thermal unit เป็นหนว่ ยวัดทบ่ี อกถึง ประสทิ ธภิ าพในการทำความเยน็ ซึง่ การเลอื กขนาดของเคร่ืองปรบั อากาศจะตอ้ งเลือกให้เหมาะสมกบั ขนาดหอ้ งทใ่ี ชง้ าน • ถา้ หากใช้แอรท์ ่ีมี BTU ต่ำไป จะทำให้คอมเพรสเซอรท์ ำงานตลอดเวลา ทำให้ส้นิ เปลอื ง พลังงาน และเครอ่ื งทำงานหนักเกินไป ทำให้เครือ่ งปรับอากาศเสยี ได้เร็วข้ึน • ถา้ หากใช้แอร์ทีม่ ี BTU สูงเกนิ ไป ทำให้คอมเพรสเซอร์ตัดการทำงานบอ่ ย ทำให้ประสิทธิภาพ ในการทำงานลดลง ทำให้มคี วามชนื้ ในห้องสูง อยแู่ ล้วไม่สบายตัว ระบบอนิ เวอรเ์ ตอร์ ระบบอินเวอรเ์ ตอร์ (Inverter) คอื ระบบทน่ี ำเอาความรูท้ างดา้ นอเิ ลคทรอนกิ สท์ ่คี วบคมุ การทำงานดว้ ยคำสง่ั จาก ไมโครคอมพวิ เตอร์ทส่ี ่งั งานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรลและนำคำสงั่ ดังกล่าว มาใช้ ควบคุมการทำงานของระบบเครอ่ื งปรบั อากาศ ให้ทำงาน ปรับอุณหภมู ิ ควบคมุ ความชื้น ควบคมุ ความเยน็ ให้ทำงานไดโ้ ดยอัตโนมัติ โดยใชค้ ำสงั่ จากไมโครคอมพวิ เตอร์[4] ในสว่ นของเครอื่ งปรับอากาศรุน่ ใหม่ นิยามคำว่าอนิ เวอร์เตอรค์ ือการพัฒนากระบวนการทำงาน ของเครื่องปรบั อากาศให้ดียง่ิ ขึ้นหลักๆคือแรงลมเย็นทไี่ ม่ปล่อยของเสียทำลายส่ิงแวดลอ้ มเรยี กว่าสาร ทำความเยน็ R32 รวมถงึ การปรับการทำงานของคอมเพรสเซอร์ให้ประหยัดไฟและทนทานกว่าเดมิ คำวา่ INVERTER จงึ มใี นเคร่อื งใช้ไฟฟ้าชนิดอน่ื ด้วยไม่วา่ จะเปน็ เครื่องซกั ผ้าหรือตเู้ ย็นจึงมัน่ ใจได้ว่า เทคโนโลยีน้จี ะช่วยยกระดบั การใช้ชวี ติ ในบา้ นไดอ้ ยา่ งแนน่ อน
- 31 - ตารางขนาดของหอ้ งเทยี บกับ BTU ขนาด BTU ขนาดของหอ้ ง (ตารางเมตร) ขนาดของห้องท่ีโดนแสงแดด (ตารางเมตร) 9,000 12-15 11-14 12,000 16-20 14-18 18,000 24-30 21-27 21,000 28-35 25-32 24,000 32-40 28-36 26,000 35-44 30-39 30,000 40-50 35-45 36,000 48-60 42-54 48,000 64-80 56-72 60,000 80-100 70-90 อา้ งองิ : shorturl.asia/Pt3uY shorturl.asia/Qmn6k shorturl.asia/XGqAT
- 32 - ภาคผนวก ข คอมเพรสเซอรเ์ ครอ่ื งปรบั อากาศ
- 33 - คอมเพรสเซอร์ (Compressor) ในระบบของแอร์หรอื เคร่อื งปรบั อากาศ หมายถงึ เครอ่ื งอัด น้ำยา หรือตวั ปัม๊ น้ำยาแอรน์ น่ั เอง เป็นอุปกรณ์หลกั ทีส่ ำคัญอันนงึ ของระบบเคร่อื งทำความเย็นซึีง่ ทำ หนา้ ทีท่ ั้ง ดูด และ อัด นำ้ ยาแอร์ ในสถานะแก๊ส ทางวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยไดใ้ หค้ วามหมายของคำศพั ทท์ างวิชาการของคอมเพรสเซอรไ์ วว้ ่า \"เครอ่ื งอัดทีเ่ ปน็ อุปกรณเ์ พ่ิมความดันของสารความเย็นท่อี ยใู่ นสภาวะทีเ่ ป็นไอ\" โดยหลกั การคือคอมเพรสเซอรจ์ ะดดู น้ำยาแอรใ์ นสถานะที่เป็นฮีตแกส๊ ความดันต่ำและอณุ หภมู ติ ำ่ จาก อวี าพอเรเตอร์ (หรือแผงคอยลเ์ ยน็ ) ผ่านเขา้ มาทางทอ่ ซคั ชนั่ (Suction) เขา้ ไปยงั ทางดูดของ คอมเพรสเซอร์ แล้วอัดแกส๊ นี้ให้มคี วามดนั สูงขึ้นและอณุ หภูมิสูงข้นึ ดว้ ย สง่ เข้าไปยงั คอนเดนเซอร์ (แผงคอยล์รอ้ น) โดยผา่ นทางท่อดิสชารจ์ เพ่อื ไปกลั่นตัวเปน็ ของเหลวในคอนเดนเซอร์ดว้ ยการระบาย ความรอ้ นออกจากน้ำยาอีกทีนึง
- 34 - จะเห็นไดว้ า่ ในวงจรเครื่องทำความเยน็ คอมเพรสเซอรเ์ ป็นอปุ กรณท์ ี่แบ่งความดนั ในระบบระหวา่ ง ดา้ นความดันสูงและความดนั ต่ำ นำ้ ยาแอรท์ ี่ถูกดดู เข้ามาในคอมเพรสเซอรจ์ ะมีสถานะเปน็ แก๊สความ ดันตำ่ และน้ำยาที่อัดสง่ จากคอมเพรสเซอรจ์ ะมีสถานะเปน็ แกส๊ ซึง่ มีความดันสงู หลังการล้างแอร์ ช่าง ล้างแอร์หรอื ช่างซ่อมแอร์ตอ้ งตรวจดูน้ำยาแอร์ของลกู คา้ วา่ น้ำยาแอร์พรอ่ งหรอื ไม่ บางคนคิดว่าน้ำยา แอร์มีสภาพเป็นนำ้ หรือของเหลว แต่จริงๆ มนั เปน็ สารเคมที ก่ี ลายสภาพไดต้ ามกำลงั อดั และสามารถ ร่ัวซมึ ได้ทงั้ ตามวาวล์ศร (จุกทเี่ ตมิ นำ้ ยา) หรือขอ้ ตอ่ บานแฟรไ์ ดค้ รบั ระบบแอร์ไมใ่ ช่ระบบปดิ ท่ีน้ำยา จะรว่ั ออกไม่ไดน้ ะครบั อยา่ เข้าใจกันผดิ บางทเี คยได้ยินคำวา่ มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ บ้างม้ัยครับ เน่อื งจากคอมเพรสเซอร์ของตูเ้ ย็นและ เครอ่ื งปรับอากาศตามบา้ นเรอื น จะใชม้ อเตอรไ์ ฟฟ้าเป็นตัวขับเคลื่อน (ก็อยภู่ ายในลูกคอมน่ันแหล่ะ) บางครง้ั ช่างสมยั ก่อนจงึ เรียกรวมกันว่า มอเตอรค์ อมเพรสเซอร์ ซึง่ จรงิ ๆ แลว้ ก็เป็นความหมาย เดยี วกันกับคอมเพรสเซอร์แอร์น่นั แหล่ะครบั ส่วนคอมเพรสเซอร์ของเครื่องปรับอากาศรถยนต์ จะยดึ ตดิ อยู่กับเคร่ืองยนต์และถกู ขับเคลอ่ื นโดย สายพาน ซึ่งจะมแี มกเนตกิ คลัตชช์ ่วยควบคุมและหยดุ คอมเพรสเซอร์ในขณะท่ีกำลงั เดนิ เครอื่ งยนต์อยู่ ก็เปน็ อกี ระบบนึงทม่ี ีหลกั การทำงานคล้ายกบั คอมของแอรบ์ ้าน แตเ่ ราจะไม่พูดถึง เนอื่ งจากเอน็ ทีแอร์ เราเปน็ ร้านแอร์รบั ซอ่ มแอรบ์ า้ น และรบั ซอ่ มคอมเพรสเซอรแ์ อร์บ้านนะครับ
- 35 - ชนดิ ของคอมเพรสเซอร์ เราสามารถแยกชนดิ ของคอมเพรสเซอรไ์ ดห้ ลายแบบ แยกตามวธิ ีการอดั เช่น • แบบโรตาร่ี (Rotary Compressor) • แบบลูกสบู (Reciprocating Compressor) • แบบสโครล (Scroll Compressor) แยกตามลักษณะภายนอก เช่น • แบบปดิ สนิท (Hermetic Compressor) • แบบก่งึ ปดิ สนทิ (Semi Hermetic Compressor) • แบบเปิด (Open Type) หลงั จากรจู้ กั หนา้ ที่ของคอมเพรสเซอร์แลว้ ทีนเี้ ราจะมาพูดถึงชนิดของคอมเพรสเซอร์ โดยแบง่ ตาม วธิ ีการอัดแกส๊ หรอื นำ้ ยา โดยทัว่ ไปเครอื่ งปรับอากาศภายในบ้านหรอื ที่พกั อาศยั มกั นิยมใช้ คอมเพรสเซอร์ 3 รูปแบบน้ี ได้แก่ แบบโรตาร่ี แบบลูกสูบ และแบบสโกรล เนื่องจากเป็นทน่ี ยิ ม ราคา ไม่แพง ระบบไม่ซับซอ้ นมาก ช่างแอร์ทั่วไปสามารถเข้าใจวงจระบบไฟฟา้ และการตอ่ สายไฟไดไ้ ม่ยาก
- 36 - คอมเพรสเซอร์แบบโรตาร่ี (Rotary Compressor) คอมเพรสเซอรแ์ บบโรตาร่ีจะดดู และอดั น้ำยาในสถานะแก๊ส โดยอาศัยการกวาดตวั ตามแกนโร เตอร์ (rotor) เนื่องจากคอมเพรสเซอรแ์ บบโรตารนี่ ้ีมีขีดจำกดั ในการทำงาน คือจะทำงานไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธภิ าพสูง และกินไฟน้อย จะต้องใช้กบั เครอื่ งปรับอากาศขนาดความเย็นไมเ่ กิน 1-3 ตนั แตถ่ า้ ขนาดความเยน็ ใหญ่กว่าน้ีแลว้ ก็จะทำงานไม่สดู้ ีนัก คอมเพรสเซอรแ์ บบนค้ี นไทยเราร้จู ักกันดยี ่หี อ้ นงึ คือ คอมมิตซบู ิชิ หรอื เรยี กกันสน้ั ๆว่า คอมมิตซู ผลติ โดยบรษิ ทั สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จำกัด หรือ Siam Compressor Industry (SCI) นอกจากนย้ี ังมีคอมเพรสเซอรย์ ห่ี ้ออนื่ ๆ ด้วยอยา่ งเชน่ คอมแอลจี LG , คอมไดกนิ้ DAIKIN เปน็ ตน้ เน่อื งจากคอมเพรสเซอร์ชนดิ น้ี ผูผ้ ลติ นำมาใส่ในเคร่ืองปรบั อากาศยุคแรกๆ พอๆกับคอมแบบลกู สูบ จงึ ทำใหเ้ ป็นท่ีนิยมมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะที่ใชก้ บั นำ้ ยา R-22 กย็ งั เป็นสัดส่วนท่ีใช้กันอย่างมาก ทส่ี ดุ เน่อื งจากช่างแอร์เปล่ียนงา่ ย ราคาไมแ่ พง เปน็ คอมทป่ี ระหยดั ไฟท่สี ดุ เมอ่ื เทยี บกับรูปแบบอ่นื ๆ หากชา่ งแอร์ท่เี ริม่ จะฝกึ งานล้างแอร์ซอ่ มแอร์ใหม่ๆ ต้องผ่านการเชอื่ ม ทดสอบการเปล่ียน คอมเพรสเซอร์กบั คอมตวั น้มี าก่อนทัง้ นั้น ถา้ ทำไดส้ ำเร็จก็จะถือว่าออกภาคสนามได้
- 37 - คอมเพรสเซอรแ์ บบลูกสบู (Reciprocating Compressor) คอมเพรสเซอรแ์ บบลกู สบู นี้จะมีหลกั การทำงานคลา้ ยๆ กับระบบลูกสูบในรถยนต์ เป็นระบบ อัดแบบชักข้ึนชักลง โดยแต่ละกระบอกสบู จะประกอบด้วยชดุ ของล้นิ ทางดูดและทางอัด ซ่งึ อยู่ตดิ กบั วาวลว์ เพลต (valve plate) ขณะท่ีลูกสูบนึงเคลอ่ื นทลี่ งในจังหวัดดูด อีกลูกสบู นงึ จะเคลอ่ื นทใ่ี น จังหวะอดั ด้วยเช่นกัน ขณะท่ลี กู สบู เคล่อื นทลี่ ง (หรอื จงั หวะดูด) แรงดนั ของน้ำยาในกระบอกสูบจะ ลดลงอย่างมาก ลิ้นทางด้านอดั จะถกู ปิดโดยแรงอดั ของนำ้ ยาทอ่ี ยูท่ างดา้ นความดนั สงู และล้ิน ทางดา้ นดดู จะถูกเปิด ดดู เอาน้ำยาจากทางดา้ นความดันตำ่ ผ่านเขา้ มาในกระบอกสูบ ขณะท่ีลูกสบู เคล่ือนทีข่ ้นึ (หรือจังหวะอดั ) แรงดนั ของนำ้ ยาในกระบอกสูบจะถูกอดั ตัวสงู ขึ้น ล้นิ ทางดา้ นดดู จะถูก ปดิ ตัวดว้ ยแรงอัดท่ีสูงข้ึนภายในกระบอกสูบนี้ และลนิ้ ทางอดั จะเปดิ อดั นำ้ ยาส่งออกไปทางดา้ นความ ดันสูงของระบบ
- 38 - ในยุคแรกๆ คอมเพรสเซอรช์ นิดน้เี ปน็ ที่นิยมอย่างมาก เนอื่ งจากมคี วามทนทานสงู ให้กำลังอดั และความเย็นท่ดี ี สามารถใช้ไดต้ ัง้ แต่บที ียนู ้อยๆ อยา่ งเชน่ ต้เู ยน็ ไปจนถึงแอร์ขนาดหลายสบิ ตนั ซ่ึง คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ไม่สามารถทำความเย็นขนาดน้นั ได้ อีกทง้ั ยงั สามาถซอ่ มแซมได้ โดยการผา่ ออกเพื่อเปล่ียนหรือพันขดลวดทองแดงใหม่ โดยชา่ งท่ีมีความร้ดู า้ นไฟฟ้าและมอเตอรส์ ามารถนำมา ซอ่ มกลบั มาใช้ใหมไ่ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี แตบ่ างครง้ั กม็ รี ้านซ่อมคอมมกั งา่ ยแคน่ ำคอมไปถา่ ยน้ำมนั คอมออก เปล่ยี นหวั หลักคอม แลว้ พ่นสีใหม่ไปหลอกขายลูกคา้ วา่ เป็นคอมใหม่ ทำให้เป็นที่มาของคำว่า \"คอม บิ้ว\" ซ่ึงเปน็ คอมมอื สองแต่หลอกว่าเปน็ มือหนง่ึ โดยอาศยั ความทนทานของระบบลูกสูบมาหลอกให้ ลูกค้าใชง้ านไดต้ ่อไป แตกตา่ งจากช่างแอร์ดๆี หรือร้านซ่อมคอมดีๆ ซ่ึงจะบอกลูกคา้ ไปเลยว่าเป็นคอม มอื สอง ผ่านการซอ่ มหรือไม่ซอ่ มอย่างไรไปบ้าง ซึง่ ร้านซ่อมคอมดๆี เกง่ ๆ จะผา่ คอมแลว้ เปลี่ยนขดลวด ทองแดงใหม่ เติมนำ้ มันคอมใหม่ (ใชข้ องเดิมเพยี งแค่ระบบสปรงิ และก้านสบู คนั ชกั ข้างใน) เสร็จแลว้ นำออกมาขายเป็นคอมมือสองคณุ ภาพมอื หนึ่ง ลกู คา้ สามารถซอื้ มาใชไ้ ดอ้ ย่างสบายใจเพราะแทบไม่
- 39 - ต่างจากคอมใหม่ ร้านในกรุงเทพฯหลายร้านมฝี ีมอื เก่งๆครบั ท่ีผมรจู้ ักก็เช่นแถวบรรทดั ทอง (หลังมา บุญครอง) แถวเกษตร-นวมินทร์ เลียบด่วน เป็นต้น คอมลูกสูบมีดตี รงทีโ่ ครงสรา้ งแข็งแรงทนทาน อุปกรณ์ภายในแทบไม่สกึ หรอ ยกเว้นพวกขดลวด ทองแดงท่ีชอ็ ตไหมต้ ามอายุการใชง้ าน สามารถซ่อมแซมได้ แตกต่างจากคอมโรตารท่ี ีแ่ ทบไมม่ ีใครรบั ซอ่ ม (ซื้อใหม่คมุ้ กว่า) แต่กอ็ าจมขี อ้ เสยี บ้างคือเสียงดัง และกนิ ไฟมากกวา่ ระบบอืน่ ๆ ครบั คอมลกู สูบ ท่ดี งั ๆ ก็อยา่ งเช่นยีห่ ้อ Bristol (บรสิ ตอล) , Tecumseh (เทคัมเช่) เป็นตน้ คอมเพรสเซอรแ์ บบสโกรล (Scroll Compressor) เปน็ คอมเพรสเซอร์ทไี่ ดร้ ับการคดิ คน้ ขึน้ มาใหมโ่ ดยการนำเอาข้อดขี องคอมเพรสเซอร์แบบ ลูกสูบและโรตาร่ีมารวมกัน ทำใหม้ ีประสทิ ธภิ าพในการทำงานสูงกว่า 2 แบบแรก การใช้งาน คอมเพรสเซอรแ์ บบสโกรล จะอาศัยความเร็วในการหมุนใบพดั เพื่อทำให้เกิดแรงดนั ภายในเรือน คอมเพรสเซอร์ ความเร็วที่ปลายใบพดั อาจสงู ถงึ 850 ฟุต/วนิ าทีและความเร็วรอบต่ำสุดท่ีจะสามารถ ทำงานไดป้ ระมาณ 3450 รอบ/นาที โดยหลักการทำงานจะโดยใช้ใบพัด 2 ชดุ (เคลื่อนที่และอยกู่ บั ท)่ี ขับเคล่ือนโดยการใหเ้ พลาลูกเบย้ี วรปู หนา้ ตดั เปน็ วงกลม บนลูกเบ้ียวจะเจาะเป็นชอ่ งๆเพอื่ ให้ใบพัด สวมอยไู่ ด้ ลูกเบ้ียวและใบพดั ตดิ ตั้งอยใู่ นเรือนคอมเพรสเซอร์ ซง่ึ ผิวดา้ นในเป็นวงกลม แตต่ ำแหน่งจุด ศูนยก์ ลางของลกู เบ้ียวและเรอื นคอมเพรสเซอร์อยู่เยือ้ งศูนย์กัน โดยระยะที่แคบท่สี ดุ จะเปน็ ระยะผิว นอกของลกู เบย้ี วสัมผัสผิวภายในเรือนคอมเพรสเซอรพ์ อดี ทำใหป้ ระสิทธภิ าพในการดูดอัดและสง่ สารทำความเยน็ ทำได้ดี และทำงานเงยี บกว่าชนดิ ลกู สูบ
- 40 - คอมเพรสเซอรแ์ บบสโกรลขนาด 1 ถงึ 60 แรงมา้ เหมาะสำหรบั การใชง้ านทุกรูปแบบ เช่น ระบบปรับอากาศสำหรับอาคารธุรกจิ และทพ่ี กั อาศัย ระบบทำความเยน็ สำหรับธรุ กิจและ อุตสาหกรรม และการขนสง่ ดว้ ยห้องเย็น ด้วยประสิทธภิ าพในการทำความเย็นเหมือนคอมลกู สูบ แต่ ประหยดั ไฟกวา่ ทำให้คอมรูปแบบนี้กำลงั เป็นท่นี ยิ มและมักนำมาใช้กบั แอร์ขนาด 3 ตันขึน้ ไป ท้ังไฟ 220V. และ 380V. โดยขณะสตาร์ทจะมีการกระชากไฟปานกลางและเสยี งดังพอสมควร แต่พอทำงาน ซักพักเสยี งจะเงยี บลงเกอื บจะเทา่ แบบโรตาร่ี คอมสโกรล หรือที่บางคนเรียกคอมสกรอล ยห่ี ้อทนี่ ิยม ในบา้ นเราไดแ้ ก่ Copeland และนอกจากนบี้ รษิ ัท SCI ยงั ไดผ้ ลติ คอมชนดิ น้ีขน้ึ มาเพ่ือแข่งขนั กนั ใน ตลาดอกี ดว้ ย อา้ งอิง: shorturl.asia/HECm9 shorturl.asia/yRs3f
- 41 - บรรณานกุ รม เครอ่ื งปรบั อากาศ [สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 25 กันยายน 2564] จาก. shorturl.asia/XGqAT shorturl.asia/Pt3uY shorturl.asia/Qmn6k
- 42 - คอมเพรสเซอรเ์ คร่อื งปรับอากาศ [สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี 25 กนั ยายน 2564] จาก. shorturl.asia/HECm9 shorturl.asia/yRs3f
- 43 - ประวตั ผิ ู้จดั ทำ ชื่อผู้จัดทำ : นายพฒุ พิ งศ์ ใจอินทร์ หลักสูตร : เทคโนโลยบี ณั ฑิต สาขาวชิ า : สาขาวชิ าเทคโนโลยไี ฟฟา้ ประวัติการทำงาน ปี :พ.ศ.2560 ถึง ปี พ.ศ. 2561 ตำแหน่ง ผ้ชู ่วยช่าง หนา้ ท่ี 1. ตดิ ต้งั เครือ่ งปรบั อากาศ 2. ทำความสะอาดลา้ งเครอื่ งปรบั อากาศ 3. ซอ่ มบำรงุ เครอ่ื งปรับอากาศ ช่ือสถานประกอบการ : ศรีสมทรพั ย์วศิ วกรรม สถานทตี่ ดิ ตอ่ : ถนน ชนเกษม ตำบลมะขามเตย้ี อำเภอเมอื งสุราษฎร์ธานี สรุ าษฎรธ์ านี 84000 โทร 0864732497
Search
Read the Text Version
- 1 - 45
Pages: