Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาเซียนภูมิภาคนิยม PDF

อาเซียนภูมิภาคนิยม PDF

Published by chakorn202541, 2019-04-28 04:02:00

Description: อาเซียนภูมิภาคนิยม PDF

Search

Read the Text Version

อาเซียนกบั ความเป็นภูมิภาคนิยมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จัดทาํ โดย ASEAN in Southeast Asia นางสาวบญั ชร ลิมป์ ไพจิตร แนวความคิดเร่ืองความเป็นภูมิภาคนิยมในความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ ใน 60131108012 เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตน้ ้นั ใหค้ วามสาํ คญั กบั การสร้างเป็นรูปแบบของการ รวม กนั เป็นองคก์ รสมาคมอยา่ งเป็นทางการ โดยมีรัฐชาติสามรัฐชาติ หรือ นายชาคร สุขประเสริฐสิน มากกวา่ น้นั รวมตวั กนั ตามเขตภูมิรัฐศาสตร์ ทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ หรือ 60131108048 ก่อรูปในลกั ษณะพหุภาคี นางสาวดาราณี กลุ กิจ 60131108050 เสนอ อาจารย์ ธีรารัตน์ ทิพยจ์ รัสเมธา วิชา อาเซียนศึกษา SSP2405

สารบญั อาเซียนกบั ความเป็นภูมิภาคนิยมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้.....................1 เม่ืออาเซียนกา้ วเขา้ สู่ปี ท่ีหา้ สิบ ...................................................................2 จากหา้ เป็นสิบ ยง่ิ มากยง่ิ ดี...........................................................................5 ลาํ ดบั ช้นั ของอาเซียน ...............................................................................10 ววิ ฒั นาการในลกั ษณะองคก์ ารของอาเซียน .............................................11 บรรณานุกรม............................................................................................15

1 อาเซียนกบั ความเป็ นภูมภิ าคนิยมในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แนวความคิดเรื่องความเป็นภูมิภาคนิยมในความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตน้ ้นั ให้ ความสาํ คญั กบั การสร้างเป็นรูปแบบของการรวม กนั เป็นองคก์ รสมาคมอยา่ งเป็นทางการ (Formal Association) โดยมี รัฐชาติสามรัฐ ชาติหรือมากกวา่ น้นั รวมตวั กนั ตามเขตภูมิรัฐศาสตร์ทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ หรือก่อรูปในลกั ษณะ พหุภาคี ทาํ งานร่วมกนั ตามโครงการต่างๆ ท่ีเก่ียวพนั ต่อกนั เพอ่ื ส่งเสริมความร่วมมือระหวา่ งประเทศต่อกนั เป้าหมาย สาํ คญั ของการรวมตวั กนั ในลกั ษณะน้ีกเ็ พื่อขยายผลประโยชนข์ องชาติผา่ นกระบวนการความเป็นภูมิภาค ในการ จดั การทรัพยากรต่างๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพตามอาณาบริเวณที่รัฐต่างๆ ดาํ เนินกิจกรรมของตนอยู่ ซ่ึงดว้ ยลกั ษณะของ การขยายความร่วมมือในปฏิสมั พนั ธ์ ระหวา่ งประเทศเช่นวา่ น้ี จะเป็นการเพิ่มพนู ผลประโยชนแ์ ห่งชาติใหผ้ สม กลมกลืน กนั ไปได้ โดยใชม้ าตรการของการตดั สินใจร่วมกนั (Collective Decision Making) เพอื่ ใหเ้ กิดประโยชนม์ าก ข้ึนผา่ นทางความร่วมมือในระดบั ภูมิภาค การรวมตวั ลกั ษณะดงั กล่าวน้ีเป็นมาตรการขยายตวั ในลกั ษณะท่ีรวมเอา กระบวนการต่างๆ เขา้ มาดาํ เนินการ ร่วมกนั (Pooling Process) เพื่อเอาสมรรถนะ ของแต่ละรัฐรวมกนั อยา่ งเขม้ แขง็ ต่อการสร้างความสมั พนั ธก์ บั อาํ นาจ อ่ืนๆ ท่ีอยู่ นอกเขตภูมิภาค ในอาเซียนเองเรียกลกั ษณะเช่นน้ีวา่ “การพลิกฟ้ื นของภูมิภาค” (Regional Resilience) เป็น ลกั ษณะท่ีจะมองเห็นไดว้ า่ เป็นการรวมความ ร่วมมือขององคก์ รสมาคมท่ีมีผลประโยชนแ์ ห่งชาติในภูมิภาค หรือใน โครงสร้างภูมิภาคระดบั ยอ่ ยดา้ นการเมืองและเศรษฐกิจ เพอ่ื ใหท้ าํ การแทนเป็นตวั เชื่อม ระหวา่ งรัฐกบั ระดบั ภูมิภาค ที่ สาํ คญั กค็ ือวา่ ตวั เชื่อมดงั กล่าวน้ีไม่มีนโยบายดา้ นการปฏิบตั ิในภูมิภาคจนกวา่ หรือจนเมื่อไดม้ ีการลงมติตดั สินใจร่วม การเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงในระดบั ภูมิภาค ซ่ึงเม่ือมีการตดั สินใจร่วมกนั แลว้ จึง เป็นนโยบายของรัฐสมาชิกแต่ละรัฐไป ดาํ เนินการต่อไป อาเซียนเองกเ็ ป็นองคก์ รระดบั ภูมิภาคในลกั ษณะดงั กล่าวขา้ งตน้ จดั เป็นองคก์ รภูมิภาคที่ประสบความสาํ เร็จ ในระดบั หน่ึงหลงั การจดั ต้งั สหภาพยโุ รป European Union : EU โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศที่กาํ ลงั พฒั นาตวั เองใน ระดบั ภูมิภาคแถบน้ีของโลก อดีตเลขาธิการขององคก์ ารสหประชาชาติ นายโคฟี อนั นนั ต้งั ขอ้ สงั เกตเอาไวว้ า่ “อาเซียน ไม่เพียงแต่ทาํ งานอยา่ งดีกบั ความเป็น จริงท่ีไม่อาจปฏิเสธวา่ มีอยใู่ นภูมิภาคได้ แต่เป็นพลงั อนั แทจ้ ริงที่จะตอ้ ง ยอมรับวา่ มีพลงั ไกลออกไปจากภูมิภาคเสียอีก” อยา่ งไรกต็ าม หากเมื่อ เปรียบเทียบ EU กบั ASEAN แลว้ กจ็ ะเห็นวา่ ASEAN ยงั ไม่มีความกา้ วหนา้ อยา่ ง ที่คาดหวงั อยากเห็นเหมือน EU ประสบการณ์ของ EU น้ีจดั วา่ เป็นลกั ษณะ บูรณาการในระดบั เหนือความเป็นชาติ (Supranational Integration) ซ่ึงละลาย ความเป็นอธิปไตย และเป็นการแบ่งจ่ายอาํ นาจกนั ออกไป (Delegation of Authority) จะเห็นลกั ษณะเช่นน้ีวา่ ประเทศสมาชิกของอาเซียนยงั ไม่มีความ พร้อมท่ีจะดาํ เนินการได้ เหมือนสหภาพยโุ รป หรือ EU 4 รูปภาพจาก :http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=3285&filename=index

2 เพราะฉะน้นั การมองดูความสาํ เร็จหรือความลม้ เหลวของอาเซียนอยา่ ง ใดน้นั ข้ึนอยกู่ บั วา่ พลงั ในภูมิภาคจะ ช่วยขบั เคลื่อนใหเ้ กิดข้ึนไดแ้ ค่ไหน ความเป็น ภูมิภาคนิยมของอาเซียนในฐานะท่ีเป็นกระบวนการระหวา่ งชาติในเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงไดเ้ กิดข้ึนไดก้ แ็ ต่ในกรอบอนั กวา้ งขวางของภูมิภาคนิยมดา้ นเศรษฐกิจของ เอเชียตะวนั ออกและแปซิฟิ ก อนาคตของอาเซียนส่วนหน่ึงยงั จะข้ึนอยกู่ บั คุณ ที่มีอยอู่ ยา่ งต่อเนื่องท่ีจะรวมเขา้ มาไวใ้ นองคก์ รที่เป็นศูนยก์ ลางในเอเชีย ตะวนั ออก เฉียงได้ เพราะบูรณาการของอาเซียนน้นั เป็นการรวมตวั กนั มากยงิ่ ข้ึน ขยา ใหญ่ใหก้ วา้ งขวางข้ึน และ บางคร้ังเป็นการแข่งขนั กนั เองดว้ ยซา้ํ ไปจากรูปแบ ปฏิสมั พนั ธข์ องรัฐสมาชิกท่ีเป็นอยู่ โดยท่ีรัฐต่างๆ ในอาเซียนน้นั พา กนั ยอม\" วา่ ผลประโยชนข์ องชาติตวั เองน้นั จาํ ตอ้ งเป็นไปในความผกู พนั เชิงสถาบนั (ดนยั ไชยโยธา. อาเซียนศึกษา. – กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2557) เม่ืออาเซียนก้าวสู่ปี ทหี่ ้าสิบ จนถึงปี ค.ศ. 2011 น้ีแลว้ เท่ากบั อาเซียนมีอายขุ ยั ได้ 44 ปี แลว้ อาเซียน เพ่ิงฉลองอายคุ รบ 40 ปี ในปี ค.ศ. 2007 มาน้ีเอง แน่ละปัจจยั ขอ้ หน่ึงในการ มองววิ ฒั นาการของอาเซียนในช่วงเวลาเหล่าน้ี ที่จดั ต้งั เป็นสถาบนั ในระดบั ภูมิภาค ข้ึนมาไดน้ ้นั ก็คือความแน่นเหนียวที่เกาะกลุ่มกนั มาไดน้ านขนาดน้ี ท้งั ท่ี มีเร่ืองการเผชิญหนา้ ระหวา่ งกนั ของ อินโดนีเซียกบั มาเลเซีย สงครามเยน็ และ สงครามอินโดจีนถึงสามคร้ัง ลว้ นเป็นขอ้ พสิ ูจนป์ ัจจยั ขอ้ น้ีไดด้ ีวา่ อาเซียนเกาะ ผนึก ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศในภูมิภาคแห่งน้ีมาไดโ้ ดยตลอด ผา่ นพน้ ความ ขดั แยง้ ในผลประโยชนต์ ่างๆ และ การใชย้ ทุ ธศาสตร์ที่ต่างคนต่างใชก้ นั อยา่ ง สบั สนวนุ่ วายในความพยายามแกข้ อ้ ขดั แยง้ แกก้ ารเขา้ มาแทรกแซงสร้าง อิทธิพล ในภูมิภาคของชาติมหาอาํ นาจ เพอื่ ปกป้องประโยชนแ์ ห่งชาติของสมาชิกดว้ ย การสร้างกระบวนการการ ตดั สินใจร่วมกนั ท่ีเรียกวา่ “วิถีของอาเซียน” (ASEAN WAY เป็นการตดั สินใจดว้ ยความเป็นเอกฉนั ท์ ซ่ึงไม่กระทบต่อ ความเป็น อธิปไตย หรือเขา้ ไปแทรกแซงกิจการภายในของชาติสมาชิก เป็นการรวมตวั อยา่ งหลวมๆ ในภูมิภาคโดยท่ี ไม่มีอาํ นาจเหนือนโยบายหรือปฏิบตั ิการใดๆ ของ รัฐสมาชิกแต่อยา่ งใด วิวฒั นาการอนั ยาวนานของอาเซียนมีปัจจยั หลายตวั กาํ หนด ท่ีสาํ คญั ท่ีสุด น้นั คือความเป็นผนู้ าํ ของแต่ละ ประเทศสมาชิก โดยเฉพาะในช่วงสามสิบปี แรก ของการก่อต้งั อินโดนีเซียโดดเด่น ในการนาํ ใหอ้ าเซียนพฒั นาตวั เอง มา ไดโ้ ดยตลอด อาเซียนน้ีเองที่ทาง อินโดนีเซียถือเป็นเคร่ืองมือในการดาํ เนิน นโยบายต่างประเทศของตน มีการ วเิ คราะห์ไวอ้ ยา่ งลึกซ้ึงวา่ นโยบายของ อินโดนีเซียต่ออาเซียนน้นั คือ ถือวา่ อินโดนีเซีย มีสิทธิท่ีจะไม่เห็นดว้ ยหรือ Veto ในอาเซียนไดเ้ สมอ มีผเู้ ช่ียวชาญเกี่ยวกบั นโยบายต่างประเทศของ อินโดนีเซียคนหน่ึงกล่าวไวอ้ ยา่ งน่าเกลียดวา่ อาเซียนน้นั ตอ้ งการอินโดนีเซีย มากกวา่ ท่ีอินโดนีเซียจะตอ้ งการอาเซียนเสียอีก รูปภาพจาก : https://www.posttoday.com/politic/news/446617

3 ในทางยทุ ธศาสตร์ของอินโดนีเซียเองแลว้ อินโดนีเซียวางเป้าหมาย สองประการ ประการแรก โดยผา่ นทาง อาเซียน อินโดนีเซียตอ้ งการไม่เปลี่ยนแปลงสถานภาพเดิมของอินโดนีเซีย จะไดไ้ ม่ก่ออุปสรรคแก่ความ และแรง บนั ดาลใจในศกั ยภาพของอินโดนีเซียเอง ประการต่อมากค็ ือในการวางความสมั พนั ธใ์ นกรอบพหุภาคีของอินโดนีเซีย กบั อาเซียนน้นั จะช่วย อินโดนีเซียเพม่ิ ความสามารถในทางท่ีไม่ก่อใหเ้ กิดการคุกคามข้ึน ในขณะเดียว กนั กป็ ล่อยให้ เป็นไปตามวิถีของอาเซียน โดยไม่ไปจาํ กดั หรือไม่ไปกาํ หนดทาง เลือกอ่ืนของอาเซียน นโยบายของอินโดนีเซียต่ออาเซียนเช่นน้ี ประธานาธิบดีซูฮาร์โต เป็นผู้ กาํ หนดข้ึน เขากลายเป็นรัฐบุรุษอาวโุ ส สูงสุดและมีอิทธิพลมากที่สุดในอาเซียน กล่าวไดอ้ ีกนยั หน่ึงวา่ จาการ์ตาหาใช่แต่จะเป็นที่ต้งั สาํ นกั งานใหญ่ของอาเซียน เท่าน้นั ไม่ แต่ยงั เป็นแหล่งหลกั ซ่ึงทาํ ใหน้ โยบายของอินโดนีเซียสามารถดาํ เนินไป ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องอีกดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม มีสิ่งหน่ึงท่ีทาํ ใหค้ วามต่อเนื่องของนโยบายของอินโดนีเซีย หลงั ยคุ ของซูฮาร์โตตอ้ งสะดุดลง คือในช่วงท่ีอินโดนีเซียเปล่ียนถ่ายอาํ นาจจาก ซูฮาร์โตไปยงั ผสู้ ืบอาํ นาจต่อจากเขาอีกสามคน ตอนน้นั อินโดนีเซียยงุ่ เหยงิ อยแู่ ต่ กบั การเอาตวั ใหร้ อดอยไู่ ดเ้ ท่าน้นั ไม่ใช่เร่ืองท่ีจะตอ้ งมวั มาคาํ นึงถึงในเรื่องความ ร่วมมือของภูมิภาค หรือใช่ วา่ ผนู้ าํ ของอินโดนีเซียช่วงน้นั จะมีส่วนไดส้ ่วนเสียอะไร มากนกั กบั อาเซียน เหมือนอยา่ งที่ซูฮาร์โตเคยมีสิ่งเหล่าน้ี มีผล เกิดข้ึนอยา่ ง สาํ คญั ต่ออนาคตของอาเซียนไม่นอ้ ยท่ีเดียว ในหลายลกั ษณะแลว้ ส่ิงท่ีเรียกวา่ วถิ ีของอาเซียน กค็ ือวถิ ีของ อินโดนีเซียน้ีเอง ผสู้ งั เกตการณ์คนหน่ึงท่ีเชี่ยวชาญ เร่ืองการเมืองระหวา่ งประเทศของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ถึงกบั กล่าวเชื่อมเอา อาเซียนเขา้ กบั อินโดนีเซียวา่ การดาํ รงอยอู่ ยา่ งต่อเนื่องของอาเซียนน้นั ข้ึนอยู่ กบั อนาคตในความเป็น เอกภาพ และความมน่ั คงของอินโดนีเซียนนั่ เอง ความสาํ เร็จท่ีเกิดตามมาในสมยั ของประธานาธิบดี (Susilo Bambang Yudhayono) ซ่ึงไดร้ ับเลือกต้งั เมื่อปี ค.ศ. 2004 น้นั ไดป้ ระมวล เอาความมนั่ คงและความเป็นประชาธิปไตยในอินโดนีเซียใหผ้ นึกแน่นต่อกนั สร้างอินโดนีเซียให้ เป็นปึ กแผน่ และกลบั มาใหค้ วามสาํ คญั กบั เรื่องภูมิภาคอีกคร้ัง จุดน้ีนบั วา่ มีความสาํ คญั อยา่ งมาก ดงั บรรณาธิการท่าน หน่ึงของนิตยสาร Far Eastern Economic Review ซ่ึงเป็นผทู้ ่ีไดร้ ับความนบั ถืออยา่ งสูง ไดเ้ ขียนเอา ไวว้ า่ “หากปราศจาก การดาํ รงอยขู่ องอินโดนีเซียและความเป็นผนู้ าํ ของ อินโดนีเซียแลว้ การหลอมรวมของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ กค็ งถูก โยนทิ้ง ไป และภูมิภาคน้ีกค็ งจะเลือนหายไปจากสายตาของชาวโลกในที่สุด” อีกเหตุผลหน่ึงของความแน่นเหนียวของอาเซียน คือความปรองดองที่ลง เอยกนั ไดห้ ลงั การใชน้ โยบาย เผชิญหนา้ ของอินโดนีเซียบรรลุความตอ้ งการในปี ค.ศ. 1976 แรงกระตุน้ เร้าในลทั ธิภูมิภาคนิยมที่เกิดข้ึน เป็นสิ่งที่มา จากภายใน หาใช่มาจากภายนอกไม่ หากแมน้ วา่ อาํ นาจของความเป็นอาเซียนจะตอ้ งข้ึนอยู่ กบั ความกา้ วหนา้ อนั แขง็ แกร่งของเศรษฐกิจในภูมิภาค และความร่วมมือดา้ น สงั คมแลว้ บางที่อาเซียนอาจจะไม่มีชีวติ อยรู่ อดมาไดจ้ นถึง ช่วงแห่งสหสั วรรษ ใหม่น้ีกไ็ ด้ ถึงวนั น้ีเหตุผลที่ผลกั ดนั การดาํ รงอยขู่ องอาเซียน คือ เรื่องของการ ประชุมหารือทางการ ทูตของซาติซ่ึงมีอาํ นาจอ่อนแอในระบบนานาชาติในภูมิภาค ท่ีถูกมหาอาํ นาจครอบงาํ การผนึกแน่นของอาเซียนน้นั หา

4 ใช่เกิดจากความร่วมมือ แต่อยา่ งเดียวไม่ ไม่แต่ลกั ษณะแห่งบูรณาการ แต่ยงั กระบวนการดา้ นเศรษฐกิจ และสงั คมน้นั อีกดว้ ย อาเชี่ยน ผนึกแน่นจากความเป็นเอกภาพทางการเมืองใน การเผชิญกบั การข่มขคู่ ุกคามที่มาจากภายนอกน้นั ต่างหาก การเปล่ียนแปลง เหล่าโนน้ ที่เปล่ียนแปลงไป และก็เช่นเดียวกนั กบั อาเซียนที่เป็นมา อาเซียนผา่ นเหตุการณ์อนั น่าตื่นเตน้ ของการเมืองในภูมิภาคมาแลว้ สงครามเยน็ หลงั สงครามโลกคร้ังท่ีสอง สงครามอินโดจีนอีกสามคร้ัง กบั การเขา้ มาของมหาอาํ นาจ เช่นการที่รัสเซียสนบั สนุนเวยี ดนามใหใ้ ชก้ าํ ลงั เขา้ ไปยดึ ครอง กมั พชู า หรือการท่ีสหรัฐเขา้ มาทาํ สงครามเวยี ดนาม สภาพแวดลอ้ มทางการเมือง ที่เกิดในภูมิภาคดงั กล่าว เห็นได้ วา่ การก่อต้งั อาเซียนเองน้นั กม็ าจากความริเร่ิม ดา้ นความมน่ั คงสองเรื่องดว้ ยกนั นน่ั คือ การสร้าง Zone of Peace, Freedom and Neutrality (ZOPFAN) และ Southeast Asia Nuclear Weapon-Free Zone (SEANWFZ) ซ่ึงนาํ มาใชเ้ ป็น กลไกการควบคุมยทุ ธศาสตร์ที่เป็นอยใู่ นภูมิภาค นอกเหนือจากกลุ่มอิสลามหวั รุนแรงในภูมิภาคที่มีโยงใยติดต่อกบั กลุ่ม ก่อการร้าย อลั ไคดา ท่ีเป็นกลุ่มก่อการร้ายระหวา่ งประเทศแลว้ ภูมิภาคน้ีกแ็ ทบไม่ไดเ้ ผชิญ หนา้ กบั การทา้ ทายจาก ภายนอกอ่ืนไดท้ ี่จะมองเห็นได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ บทบาทของจีนที่มีอยใู่ นนภูมิภาคอยา่ งยาวนาน และกระบวนการ ต่างๆ อนั เกิดจาก โลกาภิวตั นท์ ่ีครอบงาํ กิจการโลกขณะนี เป็นผลธรรมดาท่ีกระทบทว่ั ภูมิภาคแถบน้ี หากมองกนั ใหล้ ึกซ้ึงจริงจงั กจ็ ะเห็นวา่ อาเซียนยงั ไม่บรรลุเป้าหมายต่างๆ ท่ีกาํ หนดไวแ้ ต่เดิม สาํ หรับผทู้ ี่มอง ตามความเป็นจริงกจ็ ะเห็นวา่ อาเซียนกลาย เป็นส่วนหน่ึงของตุลแห่งอาํ นาจน้นั เอง ในส่วนของผนู้ าํ ในเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ แลว้ กจ็ ะเห็นวา่ อาเซียนน่ีเองคือเครื่องมือทางการทูตของตน อาเซียนคือผลิตผล ที่ไดอ้ อกมาอยา่ งหน่ึงของ นโยบายเศรษฐกิจ และนโยบายต่างประเทศที่บรรดา ประเทศสมาชิกนนั่ เอง กลน่ั กรองมาเป็นผลประโยชนแ์ ห่งชาติ ท้งั ผกู้ าํ หนด นโยบาย และนกั วิเคราะห์ท้งั หลายซ่ึงแมจ้ ะมีทศั นะต่ออาเซียนอยา่ งแตกต่างต่อ กนั หรือประเมินผล ความสาํ เร็จของอาเซียนแลว้ กค็ งจะเห็นพอ้ งตอ้ งกนั วา่ ใน ช่วงเวลาอนั ยาวนานและความพยายามใหอ้ าเซียนดาํ รงอยไู่ ด้ น้ี หากปราศจาก อาเชียนเสียแลว้ ภูมิภาคแห่งน้ีกจ็ ะขาดเสถียรภาพไป แมอ้ าเซียนจะสะดุดหลายคร้ังเน่ืองจากความขดั แยง้ ต่างๆ ที่มีอยกู่ นั เอง ยงั แกไ้ ขใหล้ ุล่วงไปอยา่ งสมบูรณ์ไม่ได้ อาเซียนกย็ งั คงกา้ วเดินเผชิญหนา้ กบั การ ทา้ ทายใหม่ๆ ที่เกิดข้ึน อาเซียนจะปรับตวั เขา้ กบั สถานการณ์ใหม่ๆ ของ นานาชาติ ในภูมิภาคไดไ้ หม ดว้ ยเครื่องมือของอาเซียนท่ีมีอยู่ เช่น วิถีของอาเซียน ขอ้ ตกลงเอกฉนั ท์ ความเป็นอธิปไตย และการไม่แทรกแซงต่อกนั เพียงพอไหม กบั การจดั การกบั สภาพแวดลอ้ มของนานาชาติที่ตอ้ งเก่ียวพนั ตอ่ กนั อยา่ ง ซบั ซอ้ น ยงิ่ ข้ึน ส่วนหน่ึงที่เป็นปัญหาปัจจุบนั ของอาเซียน มาจากการผนั แปรที่เกิดจาก การขยายตวั ของอาเซียนรับ สมาชิกใหม่เขา้ มา แต่กเ็ ป็นปัจจยั อนั ผนึกแน่นใหผ้ ู้ ก่อต้งั อาเซียนหา้ ประเทศยงั ยดึ ติดกนั อยไู่ ดอ้ ยา่ งเหนียวแน่นนน่ั เอง (พิษณุ สุวรรณะชฎ. สามทศวรรษอาเซียน. –กรุงเทพฯ: สาํ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั , 2540)

5 จากห้าเป็ นสิบ : ยงิ่ มากยง่ิ ดี ตวั อยา่ งแห่งความสาํ เร็จของอาเซียนที่ผสู้ งั เกตการณ์บางคนมองเห็น คือ การรวมเอาประเทศในเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตเ้ ขา้ มาไวใ้ นอาเซียนท้งั สิบประเทศ ยกเวน้ ติมอลเลสเต ซ่ึงท้งั หมดน้ีกเ็ ป็นไปตาม “แถลงการณ์ กรุงเทพ” ค.ศ. 1967 ซ่ึงเปิ ดทางใหร้ ัฐท้งั หมดในภูมิภาคน้ีที่เห็นดว้ ยกบั หลกั การของอาเซียนท่ีแถลงไวเ้ ป็นเป้าหมายเขา้ มาเป็นสมาชิกได้ บรูไนเขา้ เป็น สมาชิกของอาเซียน ใน ค.ศ. 1984 เวียดนามถูกรับเขา้ อาเซียนในปี ค.ศ. 1995 เท่ากบั ปิ ด ช่องวา่ งระหวา่ งรัฐคอมมิวนิสตก์ บั รัฐท่ีไม่ใช่คอมมิวนิสตใ์ นเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ การเปิ ดรับเวียดนามเขา้ มาเป็นสมาชิกในอาเซียนน้นั เป็นเสมือนสินน้าํ าใจ แก่เวยี ดนามในการเจรจาเพอ่ื หาขอ้ ยตุ ิสงครามอินโดจีนคร้ังท่ีสามในอินโดจีน ลาว น้นั ไดร้ ับสถานะเป็นผสู้ งั เกตการณ์ในปี ค.ศ. 1992 กมั พชู ากไ็ ดส้ ถานะ เดียว กนั ในปี ค.ศ. 1994 และพม่าในปี ค.ศ. 1996 ในการประชุมสุดยอดของอาเซียน ในปี ค.ศ. 1995 กไ็ ดต้ กลงใจที่จะ ใหบ้ รรลุเป้าหมายในการรวมเป็นอาเซียนหน่ึง เดียวภายในปี ค.ศ. 2000 การประชุมสุดยอดของอาเซียนปี ต่อมามีการ กาํ หนดเวลา เร็วข้ึนมาอีก โดยใหร้ ับประเทศท้งั สามเป็นสมาชิกตามลาํ ดบั เม่ือจะมีการ ประชุมระดบั รัฐมนตรีของ อาเซียนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1997 ณ กรุง กวั ลาลมั เปอร์ ซ่ึงจะทาํ ใหผ้ นู้ าํ ของประเทศท่ีจะสมคั รเขา้ เป็นสมาชิกของ อาเซียน ท้งั สามไดเ้ ขา้ ร่วมประชุมอยา่ งไม่เป็นทางการอีกต่อไป ลาวน้นั มีการเตรียมการในทางเทคนิคท่ีจะเขา้ เป็นสมาชิกอาเซียน ส่วนพม่า น้นั ยงั กาํ หนดไม่ไดแ้ น่นอน เพราะ เร่ืองของพม่ายงั ตอ้ งดูกรณีที่จะมีประเทศสมาชิก อาเซียนคดั คา้ นการที่พม่าจะเป็นสมาชิกอีกดว้ ย การคดั คา้ นน้นั มิไดม้ า จาก ประเทศสมาชิกอาเซียนท่ีเป็นประชาธิปไตย และจากประเทศตะวนั ตก อนั เน่ือง จากการที่พม่าถูกมองวา่ กลุ่ม อาํ นาจที่ปกครองพม่ามีการกระทาํ อนั ไร้ความสามารถ และละเมิดสิทธิมนุษยชนอยา่ งกวา้ งขวาง เพราะฉะน้นั การที่ รวมเอาพม่าเขา้ เป็น สมาชิกกบั ลาวและกมั พชู า กจ็ ะทาํ ใหส้ องประเทศหลงั น้ีพลอยถูกชะลอไปก่อน อาเซียนจึงประกาศ ชดั เจนวา่ การเมืองภายในประเทศของพม่าน้นั ไม่เกี่ยวกบั การ เป็นสมาชิกของอาเซียน แต่กรณีการรัฐประหารของฮุน เซนในปี ค.ศ. 1997 ในกมั พชู านน่ั ต่างหากท่ีกลบั ทาํ ใหอ้ าเซียนปั่นป่ วนปวดหวั แทนข้ึนมา(ทชั ชมยั (ฤกษะสุต) ทองอุไร. มุมมองต่อประชาคมอาเซียน. –กรุงเทพฯ: โรงพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2557) รูปภาพจาก : https://sites.google.com/a/pp.ac.th/hello- asean/home/prawati-xaseiyn

6 พม่า (เมยี นมาร์) อาเซียนรับพม่าเป็นสมาชิกอยา่ งเป็นทางการในปี ค.ศ. 1997 ท้งั ที่ยอม วา่ กรณีน้ีจะทาํ ใหภ้ าพลกั ษณ์ของ อาเซียนตอ้ งมวั หมองลงในสายตาพนั ธมิตร มหาอาํ นาจนานาชาติ จากการท่ีอาเซียนลงมาประทบั รับรองกลุ่มอาํ นาจของ พม่า ใหม้ ีความชอบธรรมข้ึนมา คนที่เร่งเร้าสนบั สนุนใหพ้ ม่าเขา้ เป็นสมาชิกอาเซียน กค็ ือ นายกรัฐมนตรีมหาธีร์ โมฮมั มดั ซ่ึงถือวา่ เป็นเพื่อนที่ดีท่ีสุดของพม่าใน อาเซียนน้ีเอง ในคาํ กล่าวเชิญชวนของเขาต่อท่ีประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ อาเซียน ซ่ึงประชุมที่กรุงกวั ลาลมั เปอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1997 ในการรับพม่าเขา้ เป็น สมาชิกน้นั เขากล่าววา่ การคดั คา้ นของ ฝ่ ายตะวนั ตกต่อการเป็นสมาชิกของพม่า ในอาเซียนน้นั “อาเซียนจะตอ้ งขดั ข้ึน และไม่ยอมรับความพยายามใด ๆ ดงั กล่าวอยา่ งแขง็ ขนั ร่วมกนั ” ขอ้ โตแ้ ยง้ ที่เป็นเหตุผลในการรับพม่าเขา้ เป็นสมาชิกอาเซียนน้นั มีสองขอ้ ที่อาเซียนนาํ มาอธิบายเร่ืองน้ี คือ 1. อาเซียนตอบโตว้ า่ อาเซียนมีหลกั การที่จะไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศหน่ึงประเทศใด และเร่ืองการเมือง ภายในของพม่ากไ็ ม่ใช่เรื่องที่ขดั ต่อการที่พม่าจะเขา้ มาเป็นสมาชิกของอาเซียน 2. คือขอ้ โตแ้ ยง้ ที่วา่ โดยหลกั การ “ความสมั พนั ธ์อยา่ งสร้างสรรค”์ กบั เพ่ือผลประโยชนอ์ นั ยนื ยาวในกรอบบริบทของ อาเซียนแลว้ จะดึง พาพม่าเขา้ มาสู่ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และการ เคารพในสิทธิมนุษยชนอยา่ ง กวา้ งขวางยง่ิ ข้ึน ขอ้ น้ีเสมือนยอ้ นแยง้ ลกั ษณะเดียวกนั กบั ท่ีสหรัฐเองกใ็ หเ้ หตุผลในการคบหากบั จีนดว้ ยหลกั การ “ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งสร้างสรรค”์ นน่ั เอง เพราะฉะน้นั หากเมื่อมองในทางการเมืองที่เป็นจริงจะเห็นไดว้ า่ ผนู้ าํ ทาง การเมืองของเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เองกม็ ีความเชื่อวา่ ถา้ หากพวกเขายอมรับ เวยี ดนาม ลาว และกมั พชู า เขา้ มาเป็นสมาชิกของอาเซียนแลว้ และหากแยก พม่า กลุ่มอาํ นาจพม่ากจ็ ะตกเป็นเหยอื่ ในอุง้ มือของจีนได้ ยงิ่ กวา่ น้นั กค็ ือการที่รัฐบาลอเมริกนั ในสมยั ของนายคลินตนั รณรงคใ์ นเรื่องสิทธิมนุษยชนอยา่ งเขม้ ขน้ มากในขณะน้นั ฝ่ ายอาเซียนกป็ ฏิเสธไม่คลานตามแรงกดดนั ของสหรัฐ ซ่ึงก็ ใหเ้ ห็นวา่ อิทธิพลท่ีเหนือกวา่ ของฝ่ ายอเมริกนั น้นั เริ่มถดถอยลงไปมากแลว้ หลงั จากท่ีเขา้ มายงุ่ เกี่ยวจดั การดา้ นความ มนั่ คงในยคุ สงครามเยน็ ซ่ึงกส็ ิ้นสุดลงแลว้ ความสมั พนั ธ์เชิงสถาบนั ของอาเซียนกบั สหรัฐและสหภาพยโุ รปเป็นไป อยา่ งขมข้ึนไม่นอ้ ยจากกรณีของพม่า น่ีเอง จะเห็นวา่ วาระต่างๆ ท่ีอาเซียนจดั การ ประชุมข้ึนน้นั ไม่วา่ จะเป็นการประชุมรัฐมนตรีประจาํ ปี หลงั การประชุมสุด ยอด การประชุม ARF ซ่ึงผแู้ ทนของชาติตอ้ งนง่ั ประชุมร่วมกบั รัฐมนตรีต่างประเทศ กบั เจา้ หนา้ ท่ีอาวโุ สของพม่า หรือไม่กจ็ ะไม่เขา้ ร่วมประชุมดว้ ยเลย ซ่ึงกจ็ ะเท่า กบั รวมหวั กนั บพั พาชนียกรรมคว่าํ บาตร (Boycot) อาเซียนน้นั เอง อยา่ งไรกต็ าม ตอ้ งถือวา่ ชาติต่างๆ เหล่าน้ีหาโอกาสหยบิ ยน่ื เรื่องสิทธิมนุษยชนของกลุ่มอาํ นาจ พม่าข้ึนมาเป็นประเดน็ หากเม่ือพม่าเขา้ มาเป็นสมาชิกอาเซียนแลว้ เพราะหาก เม่ือพม่าจะตอ้ งรับหนา้ ที่ประธานของอาเซียนในปี ค.ศ. 2006 ซ่ึง

7 เป็นไปตามลาํ ดบั อกั ษร กจ็ ะทาํ ใหอ้ าเซียนช้ีชวนใหพ้ ม่าชะลอการเป็นประธานไปก่อน และผา่ นไป ใหฟ้ ิ ลิปปิ นส์เป็น ประธานแทน การประชุมต่อจากการประชุมระดบั รัฐมนตรีของอาเซียน และการประชุม ARE ในปี ค.ศ. 2505 น้นั ปรากฏวา่ รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐ นางคอน โดลิชา ไรซ์ ไม่ยอมเขา้ ร่วมประชุมดว้ ย ซ่ึงกเ็ ป็นสญั ญาณแสดงใหเ้ ห็นถึง ความ ไม่พอใจของสหรัฐต่อการท่ีจะยอมใหพ้ ม่ามาเป็นประธานของอาเซียน ในการ เซ็นสญั ญาทางการคา้ และการ ลงทุนระหวา่ งอาเซียนกบั สหรัฐ เม่ือปี ค.ศ. 2006 ทางฝ่ ายสหรัฐกร็ ะบุเอาไวใ้ นสญั ญาวา่ สหรัฐยงั คงไม่เปลี่ยนนโยบาย ควา่ํ บาตร (Sanction) พม่า และหลงั จากที่กลุ่มพม่าปราบปรามการเดินขบวนของพระสงฆ์ พม่าเมื่อปี ค.ศ. 2008 ประธานาธิบดีจอร์จ ดบั เบิลยู บุช กย็ กเลิกขอ้ เสนอของ วฒุ ิสมาชิกคลอฟอร์ดจากมลรัฐเทก็ ซสั เมื่อปี ค.ศ. 2008 ที่จะให้ มีการประชุม สุดยอดระหวา่ งสหรัฐกบั อาเซียน เพราะเหตุท่ีการประชุมน้ีจะตอ้ งมีพม่าเขา้ ร่วม ประชุมดว้ ย การประชุม น้ีจะเป็นการเจรจาทาํ ความตกลงดา้ นการคา้ ระหวา่ งอาเซียน สหภาพยโุ รปในอนั ที่จะตกลงใหท้ า้ ความตกลงทาํ การคา้ เสรีต่อกนั เร่ืองเล่าน้ีตอ้ งหยดุ ชะงกั ลง เพราะเหตุที่ทางฝ่ ายสหภาพยโุ รปคดั คา้ นการท่ีจะเอาพม่า มาร่วมเป็นคูเ่ จรจาและ ทาํ ความตกลงร่วมดว้ ย จากการท่ีพม่าไดเ้ ขา้ มาเป็นสมาชิกของอาเซียนเช่นน้ี หาใช่เป็นมลด (Asset) ของอาเซียนเพิม่ ข้ึนมาแต่อยา่ งใด ไม่ หากแต่พม่ากลบั กลายเป็นดงั่ มะ ท่ีกดั กร่อนความน่าเช่ือถือของอาเซียนลงไปเรื่อยๆ โดยเฉพาะในชุมชนของ ประชาชาติที่เป็นประชาธิปไตยท้งั หลาย พนั ธะทางวาทกรรมของอาเซียนท่ีอวดโด คุณคา่ ความเป็นประชาธิปไตย สิทธิ มนุษยชน กลายเป็นเรื่องน่าหวั เราะเยาะจาก การถูกมองวิถีทางของอาเซียนกบั ความเป็นเอกภาพของกลุ่มอาเซียนท่ีใช้ กรอบ ทวิภาคีในการเจรจากบั กลุ่มอาํ นาจพมา่ เพ่อื ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทางการ เมืองน้นั กลุ่มอาํ นาจพม่ากร็ ับฟัง อยา่ งเยน็ ชา ท้งั กบั ยงั ยอ้ นแยง้ อยไู่ ม่ไดห้ ยดุ นโยบายความสมั พนั ธ์อยา่ งสร้างสรรคข์ องอาเซียนน้นั กาํ หนดข้ึนกเ็ พ่ือ เป็นกนั ชนไม่ใหก้ ลุ่มอาํ นาจพม่า แยกตวั ออกไปจากฝ่ ายประเทศตะวนั ตก ใน อาเซียนเองกอ็ อกจะผดิ หวงั หวั เสียกบั พม่าที่ไม่ยอมเลยกบั การทาํ ให้ นโยบาย อนั กร้าวกระดา้ งของพม่าอ่อนตวั ลงมาบา้ ง อยา่ งนอ้ ยกเ็ รื่องการปล่อยตวั อองซาน ซูจี ท่ีทุกฝ่ ายร้องขอตลอดมา รัฐมนตรีต่างประเทศของมาเลเซียถึงกบั เตือนวา่ มนั ถึงจุดที่อาเซียนไม่สามารถที่จะปกป้องพม่าไดอ้ ีกต่อไปแลว้ หาก พม่ายงั ดึงดนั ไม่ยอมร่วมมือ และไม่ช่วยตวั เองบา้ งเลย การที่ฝ่ ายพม่าด้ือดึงไม่ยนิ ยอม อะไรดว้ ยเลยน้นั ทาํ ใหเ้ ห็นวา่ อาเซียนเองกอ็ ยาก ทาํ อะไรกบั การที่จะเปลี่ยน พม่าใหด้ ีข้ึน พม่าเองน้นั กม็ องเห็นส่วนไดเ้ สียของตนท้งั ในทางการเมือง และในทาง เศรษฐกิจท่ีอิงเอาจากจีนกบั อินเดียมากกวา่ ทางอาเซียนดว้ ยซ้าํ ไป(นิคม ชาวเรือ. ครอบครัวอาเซียน. – กรุงเทพฯ: บริษทั นกฮูก พบั ลิชช่ิง จาํ กดั , 2555) รูปภาพจาก : http://ngaolaimedia.blogspot.com/2017/05/blog- post_25.html

8 กมั พูชา สองสปั ดาห์ก่อนหนา้ หมายกาํ หนดการนาํ กมั พชู าเขา้ มาเป็นสมาชิกของอาเซียนในปี ค.ศ. 1997 น้นั กองกาํ ลงั ความมน่ั คงของนายกรัฐมนตรีฮุนเซน พากนั ไล่ล่าพลพตของพรรค FUNCINPEC ซ่ึงสนบั สนุนนายกรัฐมนตรีเจา้ รณ ฤทธ์ ิ การประชุมเชิงสถาบนั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั ระหวา่ งอาเซียนกบั สหภาพยโุ รปกถ็ ูก ชะลอเอาไวก้ ่อนถึงข้นั ท่ีถูกแขวน ทิ้งไว้ เพราะเหตุท่ีพม่าจะเขา้ มาร่วมดว้ ยนน่ั เองซ่ึงขณะน้นั กมั พชู ามีนายกรัฐมนตรีร่วมกนั สองคน ความรุนแรงท่ีเกิดข้ึน น้ี ในที่สุด กย็ ติลงดว้ ยการตกลงใหม้ ีการดาํ รงอาํ นาจร่วมกนั โดย UNTAC (United Nations Transitional Authority in Cambodia) เป็นผจู้ ดั การจนนาํ ไปสู่การจดั ใหม้ ีการเลือก ต้งั ข้ึนในปี ค.ศ. 1993 ภายใตโ้ ฉมหนา้ ของรัฐบาลผสมดงั กล่าว การต่อสู้ชิงอาํ นาจของท้งั สองฝ่ าย แทบจะนาํ ไปสู่การทาํ สงคราม กลางเมืองคร้ังใหม่ข้ึนมาอีกคร้ัง โดยที่ท้งั ฮุนเซน และเจา้ รณฤทธ์ิต่างกช็ ิงการนาํ พรรคของตนเขา้ สู่การเลือกต้งั ที่จะมีข้ึน อีกในปี ค.ศ. 1998 ฮุนเซนน้นั ถือบงั เหียนพรรค CPP (Cambodian People's Party) ส่วน เจา้ รณฤทธ์ิกค็ ุมบงั เหียนพรรค FUNCINPEC ของเขา (United National Front for an Independent, Neutral, Peace and Cooperative Campadia) เขา้ รณรงคก์ ารเลือก ต้งั ที่กาํ หนดข้ึน ท้งั สองพรรคน้นั มีกลุ่มพลพรรคเขมรแดงหนีเขา้ มาเป็นสมาชิก ร่วมอยดู่ ว้ ย ขา่ วลือ เร่ืองที่จะมีการปฏิวตั ิน้นั กระหึมไปทว่ั ฮุนเซนเล่นเกมแรงมาก จนถึงข้นั แตกหกั ใหเ้ จา้ รณฤทธ์ิตอ้ งล้ีภยั ไปอยู่ ต่างประเทศ และทาํ ใหก้ ลุ่มผู้ สนบั สนุน FUNCINPEC ของเจา้ รณฤทธ์ิตอ้ งจบั อาวธุ ข้ึนต่อสู้อยทู่ างดา้ นเหนือ และ ตะวนั ออกเฉียงเหนือของกมั พชู า เพ่ือต่อตา้ นการหลอกปฏิวตั ิของฮุนเซน รัฐมนตรีต่างประเทศของอาเซียนต่างพากนั ตกตะลึงกบั เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ในกมั พชู าขณะน้นั ขณะที่ออ้ ยอ่ิง เปิ ดการประชุมกนั อยู่ จึงตกลงยนื ยนั ที่จะไม่เขา้ ไปแทรกแซงในกิจการภายในของรัฐอ่ืน แต่กต็ ดั สินกนั วา่ “กบั สถานการณ์อนั น่าเสียดายซ่ึงมีผลมาจากการใชก้ าํ ลงั ต่อกนั เช่นน้ี ปฏิบตั ิการฉลาดที่สุด กค็ ือใหช้ ะลอการรับกมั พชู าเขา้ มาเป็ นสมาชิกของอาเซียนไปก่อน” อาเซียนมองความมนั่ คงบนภาคพ้นื เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตว้ า่ ยงั มีความ เสียงอยมู่ าก รัฐมนตรีของอาเซียนจึง ตกลงใจแต่งต้งั ใหอ้ ินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และประเทศไทย ใหเ้ ป็นตวั แทนของอาเซียนทาํ หนา้ ท่ีเป็นผไู้ กล่เกล่ียการ เจรจาที่ เรียกวา่ การเจรจาสามฝ่ายของอาเซียน ASEAN's Troika น้ีมีเป้าหมายท่ีจะให้ หลกั ประกนั ในการจดั การเลือกต้งั ในกมั พชู าใหเ้ ป็นไปอยา่ งเสรี และบริสุทธ์ิ ยตุ ิธรรม โดยใหเ้ จา้ รณฤทธ์ิและพรรคการเมืองของเขาไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมใน การ แข่งขนั เลือกต้งั คร้ังน้ีดว้ ย บทบาทของอาเซียนเร่ืองน้ีเขม้ แขง็ มากจากการท่ี ประเทศซ่ึงใหค้ วามช่วยเหลือกมั พชู า กาํ หนดเง่ือนไขงดความช่วยเหลือที่ไม่ใช่เรื่อง ของมนุษยธรรม ที่นงั่ ของกมั พชู าในสหประชาชาติใหเ้ วน้ วา่ งไว้ โดยที่

9 คณะ กรรมการรับรองเร่ืองที่นงั่ ของสมชั ชาใหญ่แห่งสหประชาชาติกไ็ ม่ไดต้ ดั สินเรื่อง ตวั แทนของเจา้ รณฤทธ์ิและฮุน เซนแต่อยา่ งใด ตวั ของฮุนเซนเองน้นั ถูกบีบใหต้ อ้ งยอมรับการติดตามตรวจสอบการเลือก ต้งั ท่ีทางอาเซียนเขา้ ไปสงั เกตการณ์ ในปี ค.ศ. 1998 พรรคประชาชนกมั พชู า (Cpp) ไดร้ ับชยั ชนะจากการเลือกต้งั อยา่ งเฉียดฉิวที่เดียว เป็นชยั ชนะท่ามกลาง ความ วนุ่ วายจากการโกงการลงคะแนนเสียงเลือกต้งั คณะกรรมการสามฝ่ ายของอาเซียน (ASEAN Troika) ซ่ึงไม่ค่อย เห็นศรัทธาประชาธิปไตยของกมั พชู านกั แต่กค็ ิดวา่ ดีกวา่ ท่ีจะไม่มีเลย พากนั บีบค้นั รัฐบาลผสมชุดใหม่ใหฮ้ ุนเซนเป็น นายกรัฐมนตรี และใหเ้ จา้ รณฤทธ์ิเป็นประธานสภาผแู้ ทน ซ่ึงเมื่อจดั การอยา่ งน้ีไดเ้ รียบร้อยแลว้ อาเซียนจึงยอมรับเอา กมั พชู าเขา้ เป็นสมาชิกในปี ค.ศ. 1999 การฟ้ื นฟูนายก รัฐมนตรีฮุนเซนถือวา่ บรรลุผลในปี ค.ศ. 2000 และสมบูรณ์กเ็ มื่อ เขาเป็นประธาน การประชุมสุดยอดของอาเซียน ซ่ึงจดั ข้ึนท่ีกรุงพนมเปญในปี ค.ศ. 2002 ในที่สุด แลว้ ฮุนเซนกข็ บั เจา้ รณฤทธ์ิใหพ้ น้ ไปจากวงการเมืองในปี ค.ศ. 2006 ทาํ ไมอาเซียนจึงทาํ แปลกๆ ในกรณีของกมั พชู า เช่นการชะลอการเขา้ เป็น สมาชิก และจะตอ้ งมีการติดตาม ตรวจสอบการเลือกต้งั อีกดว้ ย ซ่ึงแปลกไปจาก กรณีของพม่า ขอ้ เทจ็ จริงจะเห็นไดว้ า่ การเมืองภายในของกมั พชู าน้นั มี ส่วน เกี่ยวขอ้ งและมีผลต่อการเป็นสมาชิกของอาเซียนในกรณีของกมั พชู า ซ่ึงต่างไปจาก กรณีของพม่าท่ีจะตอ้ งดู ยทุ ธศาสตร์ที่เป็นจริงมากกวา่ เรื่องของหลกั การ สงคราม กลางเมืองคร้ังใหม่ในกมั พชู ายอ่ มจะมีผลท้งั ทางการเมือง และ ในทางยทุ ธศาสตร์ สาํ หรับเขตแดนของรัฐในอาเซียน สามเขตแดนที่ฝ่ ายพม่าในกรณีเหตุการณ์อยา่ ง เดียวกนั กลบั ไม่มี ผลเหมือนกบั กรณีของกมั พชู า การวางสถานะของอาเซียนใน กรณีของกมั พชู าน้นั หาไดข้ ้ึนอยแู่ ต่เพยี งกบั อุดมการณ์ ประชาธิปไตยแต่อยา่ งใดไม่ อาเซียนไม่มีเจตจาํ นงใดต่อการใชก้ าํ ลงั เขา้ ไปแทรกแซงใหเ้ กิดความไม่มน่ั คงตรงใจ กลาง ของภูมิภาค ทา้ ยท่ีสุดหลงั จากจดั การเร่ืองร้อนๆ ของพม่าแลว้ อาเซียน กไ็ ม่ตอ้ งการใหภ้ าพลกั ษณ์ระหวา่ งประเทศของ ตวั เองตอ้ งตกเป็นเชลยเพราะดว้ ย เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในกมั พชู านน่ั เอง(ศานติ ภกั ดีคาํ . 100เร่ืองน่ารู้ในกมั พชู า. – กรุงเทพฯ: อมรินทร์คอมมิกส์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ริชชิ่ง, 2556) สมเด็จอคั รมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน รูปภาพจาก : https://www.prachachat.net/aseanaec/news-216682

10 ลาํ ดบั ช้ันของอาเซียน การขยายตวั เพ่ิมสมาชิกของอาเซียนทาํ ใหเ้ กิดค่าใชจ้ ่ายสาํ หรับความร่วม มือกนั ในแง่ของการร่วมโครงการท่ี เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั และเพอื่ การรวมตวั เป็น ชุมชนทางการเมืองต่อกนั สมาชิกอาเซียนที่มารวมกนั แต่แรกน้นั กเ็ ป็น เร่ืองของ การต่อตา้ นลทั ธิคอมมิวนิสต์ การก่อการร้ายแยกแผน่ ดิน เป็นเรื่องของความ มน่ั คงร่วมกนั ท่ีมีฝ่ ายตะวนั ตกเขา้ มาผกู พนั กนั ดว้ ย ไม่ไดม้ ีเรื่องของอุดมการณ์ ใหม่ๆ แต่อยา่ งใดในการขยายตวั รับสมาชิกใหม่เขา้ มาอยใู่ นอาเซียน แต่จะ เห็นวา่ สมาชิกใหม่ของอาเซียนน้นั ลว้ นเป็นประเทศที่มีระดบั การพฒั นาทางเศรษฐกิจท่ี ต่าํ กวา่ ประเทศผกู้ ่อต้งั แต่เดิม กลุ่มประเทศเหล่าน้ีเรียกวา่ กลุ่ม CLMV (Cambodia, Lao, Myanmar, Vietnam) จุดน้ีเองท่ีทาํ ใหอ้ าเซียนตอ้ งจดั ระดบั ของสมาชิกในกลุ่ม น้ี เป็นสมาชิกระดบั สองในทางเศรษฐกิจ ซ่ึงอาจจะตอ้ งใชร้ ะยะเวลาที่ยาวข้ึนต่อ การท่ีจะบรรลุ เป้าหมายของการสร้างเศรษฐกิจของอาเซียนร่วมกนั ลกั ษณะท่ีเกิดข้ึนน้ีเป็นท่ีเขา้ ใจวา่ ความแตกต่างทางเศรษฐกิจท่ีทาํ ใหต้ อ้ ง แบ่งสมาชิกในอาเซียนออกเป็นสอง ระดบั ซ่ึงจะทาํ ใหก้ ารพฒั นาเศรษฐกิจของ สมาชิกที่ตอ้ ยกวา่ น้นั จะตอ้ งลากกนั ไปอีกนาน และยากต่อการที่จะทาํ ให้ อาเซียน เป็นเอกภาพจริงๆ ในการมองปัญหาของอาเซียนท่ีจะลดช่องวา่ งของการพฒั นา ระหวา่ งสมาชิกหลกั กบั กลุ่ม ประเทศ CLMV น้ีเอง อาเชียนเริ่มรณรงคส์ ิ่งที่เรียกวา่ “ความริเริ่มบูรณาการของอาเซียน” (Initiative for ASEAN Integration : IAI) ความริเร่ิมบูรณาการของอาเซียน หรือ IAI ท่ีวา่ น้ีไดจ้ ดั ทาํ เป็นแผนงาน 6 ปี ข้ึนโดยเนน้ ใหค้ วามสาํ คญั เร่งด่วน ในส่ี ภาคส่วนดว้ ยกนั คือ 1) ดา้ นโครงสร้าง พ้นื ฐาน 2) ดา้ นการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ 3) ดา้ นขอ้ มลู และเทคโนโลยี สื่อสารและ 4) การบูรณาการทางเศรษฐกิจของภูมิภาค รูปภาพจาก : https://asean.org/?static_post=initiative-asean- integration-iai-work-plan-iii ในปี ค.ศ. 2006 ไดม้ ีการปรับปรุงเรื่องเหล่าน้ีเสียใหม่โดยกาํ หนดแผนงาน ใหม่รวมเอาโครงการ 131 โครงการ เขา้ ใส่บญั ชีไว้ สมาชิกอาเซียน 6 ประเทศเดิม ออกเงินรวมกนั ไดถ้ ึง 28.2 ลา้ นเหรียญสหรัฐ (โดยสิงคโปร์ออกสูงถึงร้อย ละ 76 ของยอดเงินจาํ นวนน้ี) ใหเ้ ป็นกองทุน IAL และยงั มีเงินสมทบจากภายนอกเขา้ มา อีก 16.9 ลา้ นเหรียญสหรัฐ แผนงานของ IAI น้ีไม่ไดม้ ีเรื่องความแตกต่างดา้ นโครงสร้างระหวา่ งเศรษฐกิจการเมืองของประเทศกลุ่มหลกั เดิมของ อาเซียนกบั กประเทศ CLMV ท้งั ไม่ไดจ้ ดั สรรอะไรในดา้ นความร่วมมือเชิงสถาบนั ในทางท่ี บูรณาการต่อกนั

11 ขอ้ ท่ีน่าห่วงใยไปมากกวา่ น้ีกค็ ือ ความเป็นเอกภาพของอาเซียนท่ีน่าจะรุ่งโรจนใ์ นการเป็นอาเซียน น้นั เนื่องจากมีความแตกต่างทางดา้ นการเมือง ซ่ึงแบ่งแยกสมาชิกอาเซียนใหแ้ ตกต่างกนั ท้งั ในแง่ระบบการเมืองภายในของ แต่ละ ประเทศและแนวคิดเชิงยทุ ธศาสตร์ท่ีต่างกนั ในส่วนของสมาชิกก่อต้งั ด้งั เดิมน้นั เร่ืองเศรษฐกิจ การเมือง กบั เรื่อง ความมนั่ คงร่วมกนั น้ีเอง เป็นตวั เช่ือมช่วยใหร้ วย กนั ติดมาแต่แรก คาํ ถามกค็ ือวา่ ยงิ่ เมื่อขยายการรวมตวั ของอาเซียน กวา้ งขวาง ออกไปอยา่ งน้ีแลว้ ความแตกต่างต่อกนั เหล่าน้ีเองหรือไม่ ที่จะทาํ ใหแ้ ตกแยกกนั ยง่ิ กวา่ ท่ีจะเกิดฉนั ทานุมตั ิ ร่วมกนั และจะยง่ิ ก่ออุปสรรคหนกั หนาข้ึนไปอีกหรือไม่ กบั การร่วมมือตอ่ กนั ท่ีทาํ กนั มาดีแลว้ แต่เดิม ซ่ึงแมว้ า่ อาเซียน จะโออ้ วดอา้ งไดว้ า่ อาเซียนทุกประเทศไดร้ วมกนั เขา้ มาอยรู่ ่วมอาเซียนแลว้ กห็ าตวั บ่งช้ีของนโยบาย ท่ีแทจ้ ริงท่ีแต่ละ รัฐสมาชิกเลือกใชไ้ ดเ้ องไม่ ยงั จะตอ้ งใชก้ ารตดั สินใจร่วมกนั อยู่ นน่ั เอง ยง่ิ ไปกวา่ น้นั ในอาเซียน น้ีจะเห็นไดว้ า่ ระดบั การตดั สินใจร่วมกนั ยงั ดูวา่ ต่าํ กวา่ ระดบั การตดั สินใจร่วมกนั ดา้ นนโยบายท่ีจะตอ้ งนาํ ไปปฏิบตั ิร่วมกนั อีกดว้ ย ประวตั ิการก่อต้งั อาเซียนเกิดจากการรวมกลุ่มต่อตา้ นสภาพแวดลอ้ มทาง การเมืองท่ีคุกคามอยใู่ นภูมิภาค อนั เกิดจากการเขา้ มาครอบงาํ ของตวั การ (Actors) ท่ีมีสมรรถนะสูงกวา่ ท่ีอาเซียนจะรวมกนั ตา้ นไหว อยา่ วา่ แต่รัฐสมาชิก เฉพาะแต่ละ รัฐเลย การแสวงหาความมน่ั คงที่ทาํ กนั มาต้งั แต่เดิมน้นั กลุ่มรัฐสมาชิกหลกั 5 ซาติที่ก่อต้งั อาเซียนต่างก็ ลว้ นเนน้ ใหค้ วามสาํ คญั อยา่ งสงแก่เร่ืองของความมนั่ คง สภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นภยั ใหม่กระทบความมน่ั คงยง่ิ มีความ ซบั ซอ้ นยง่ิ ข้ึน และพนั รูปแบบเดิมเพราะดว้ ยเศรษฐกิจการเมืองท่ีมากดว้ ยหลายมิติและทา้ ทายมาก ดา้ นสงั คม และ วฒั นธรรม ยงั เป็นเรื่องท่ีตอ้ งคอยเฝ้าตามดูวา่ อาเซียน จะรักษาความเป็นเอกภาพ ดนั จาํ เป็นยงิ่ ต่อการเปลี่ยนถ่ายอาเซียน จากการเป็นกลไกของดลแห่งอาํ นาจ ใน การเป็นชุมชนในทางเศรษฐกิจและการเมือง ดงั กาํ หนดไวแ้ ต่ปี ค.ศ. 2008 และ ท่ีจะพลิกฟ้ื นสร้างกฎบตั รอาเซียน (ASEAN Charter) ข้ึนมา เอกภาพในความเป็นเอกฉนั ทข์ องอาเซียนน้นั อาจหดหาย เจือจางลงกไ็ ดจ้ ากการขยายตวั เพิ่มข้ึน (เช่นการรวมเอาติมอร์เลสเตเขา้ มาอีก) หรือไม่กอ็ าจถูกดูดกลืนเขา้ ไปอยใู่ นกรอบ ใหญ่ของลทั ธิภูมิภาคนิยมกไ็ ด(้ ทชั ชมยั (ฤกษะสุต) ทองอุไร. มุมมองต่อประชาคมอาเซียน. –กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2557) ววิ ฒั นาการในลกั ษณะองค์การของอาเซียน ประวตั ิความเป็นมาของอาเซียนในรูปแบบของภูมิภาคนิยมจะตดั สินใจกนั วา่ เป็นอยา่ งไรน้นั ข้ึนอยกู่ บั การ วิเคราะห์อยา่ งลึกซ่ึงของผเู้ ฝ้าติดตามดูพฒั นาการ ของอาเซียนเอง อาเซียนไดแ้ สดงใหเ้ ห็นอยา่ งดียง่ิ ในการยนื หยดั ถึง อาํ นาจทาง การเมืองที่สร้างข้ึน และช่วยใหเ้ กิดความมน่ั คงแก่ภูมิภาคข้ึน อยา่ งไรกต็ าม ถา้ ดูมาตรการต่างๆ ท่ีถือวา่ บรรลุ ความสาํ เร็จของอาเซียนแลว้ งานดา้ นความ ร่วมมือในโครงการต่างๆ ดงั แถลงไวใ้ น “แถลงการณ์กรุงเทพ” (Bangkok Declaration) ในช่วงสิบปี แรกท่ีอาเซียนถือกาํ เนิดข้ึนมา ยงั ตอ้ งถือวา่ อาเซียนยงั ไม่ บรรลุเป้าหมายดงั แรงบนั ดาลใจอยาก

12 ใหเ้ กิดข้ึน ความพยายามที่จะสมานผล ประโยชนข์ องแต่ละชาติกบั ความร่วมมือในระดบั ภูมิภาค ยงั ถือวา่ น่าผดิ หวงั และความสาํ เร็จอยา่ งจริงจงั น้นั กย็ งั ตอ้ งถือวา่ มีอยบู่ า้ งนิดๆ หน่อยๆ เท่าน้นั รูปแบบพฤติกรรมองคก์ รเท่าที่เป็นมา หรือ รูปแบบท่ีเป็นโครงสร้างของอาเซียน ซ่ึงจะนาํ ไปสู่เป้าหมายของอาเซียนดงั ไดแ้ ถลงไวด้ ว้ ยถอ้ ยคาํ สวยหรูในถอ้ ยแถลง ของอาเซียนกย็ งั ไม่เป็นไปตามน้นั แต่อยา่ งใด ออกจะเป็นการยากที่จะระบุการทาํ งานของอาเซียนทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วิชาการ หรือทางดา้ นวฒั นธรรม วา่ บรรลุความสาํ เร็จอยา่ งยอมรับไดว้ า่ ไดช้ ่วยใหเ้ กิดความเติบโตทางเศรษฐกิจ และเกิดการพฒั นาแก่รัฐสมาชิกอาเซียน ความสาํ เร็จอยา่ งแทจ้ ริงของอาเซียนน้นั กค็ ืออาํ นวยใหเ้ กิดระเบียบทางการเมือง ของนานาชาติในภูมิภาค ส่งเสริมและ สนบั สนุนใหเ้ กิดบรรยากาศของการใหค้ วาม ช่วยเหลือดา้ นเศรษฐกิจ การคา้ และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment ที่ไปสนบั สนุนใหเ้ กิดโครงการต่างๆไปพฒั นาประเทศ มีคาํ อธิบายอยา่ งหน่ึงในเร่ืองอาเซียนไม่มีความกา้ วหนา้ ในการดาํ เนินการ ดา้ นเศรษฐกิจ และสงั คม ในระหวา่ ง ช่วงสามทศวรรษแรกของอาเซียน กค็ ือวา่ สภาพแวดลอ้ มดา้ นความมน่ั คงในภูมิภาคน้นั เรียกร้องการแกไ้ ขปัญหา ทางการเมืองมาก ทาํ ใหต้ อ้ งใชท้ รัพยากรไปในทางการเมืองมากกวา่ ในทางอื่นที่ไม่ใช่ทางการเมืองของอาเซียน ซ่ึง ลกั ษณะเช่นน้ีเอง อาจอนุมานเอาไดว้ า่ ถา้ หากไม่มีการคุกคามความมน่ั คงมาจากนอกอาเซียนแลว้ ชนช้นั ผนู้ าํ ชาติใน อาเซียนกค็ งมุ่งหนา้ แสวงหาความร่วมมือในโครงการพฒั นาร่วมกนั มากข้ึน สิ่งเหล่าน้ีหาใช่ หลกั ฐานยนื ยนั สภาพที่ เป็นอยไู่ ม่ หากแต่ยงั เห็นไดจ้ ากการละเลยขอ้ เทจ็ จริงใน เรื่องการตดั สินใจเกี่ยวกบั รูปแบบและสาระของความร่วมมือ โครงการพฒั นา ระดบั ภูมิภาค ซ่ึงในตวั ของมนั เองแลว้ กเ็ ป็นรูปแบบและสาระท่ีเป็นไปในทางการ เมืองนนั่ เอง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เม่ือเร่ืองดงั กล่าวเก่ียวพนั กบั ผลประโยชนแ์ ห่งชาติข้ึนมา ซ่ึงทาํ ใหเ้ ห็นวา่ แทนการมุ่งเนน้ ดา้ น เศรษฐกิจ และสงั คม อาเซียน เนน้ ความร่วมมือทางการเมืองเผชิญหนา้ กบั การทา้ ทายดา้ นความมนั่ คงท่ีมาจาก นอก ภูมิภาค ซ่ึงถือวา่ เป็นสิ่งจาํ เป็นแรกสุดก่อนสาํ หรับนโยบายอ่ืนๆ ท่ีจะร่วมมือ พฒั นาต่อกนั มีขอ้ ซ่ึงอาจโตแ้ ยง้ ไดว้ า่ จุดเช่ือมที่เล่ือนไหลไปมาอยา่ งน้ี ทาํ ใหม้ ิติต่างๆ ท่ีแตกต่างกนั ในกิจกรรมของแต่ละรัฐ ในความร่วมมือของอาเซียนในลกั ษณะ ภูมิภาคนิยมน้นั จะเป็นเร่ืองทางการเมืองไปสู่เร่ืองท่ีไม่ใช่ทางการเมือง น้ีกเ็ ป็น เรื่องที่เขา้ ใจกลบั กนั ทางทฤษฎีบูรณาการโครงการความร่วมมือ ซ่ึงมองวา่ ความ ร่วมมือทางการเมืองน้นั เป็นผลอนั เนื่องมาจากความร่วมมือโครงการดา้ นพลเรือน ต่างๆ ปัญหาความเป็นภูมิภาคของอาเซียนน้นั มีสองอยา่ งดว้ ยกนั คือ ปัญหา การเชื่อมกระบวนการทางการเมืองของนานาชาติเขา้ กบั กระบวนการความร่วมมือ ระดบั ภูมิภาค กบั การเช่ือม กระบวนการระดบั ภูมิภาคเขา้ กบั ยทุ ธศาสตร์การ พฒั นาของชาติ ปัญหาดงั กล่าวไม่ใช่เรื่องความตอ้ งการเพียงเพือ่ การศึกษาวา่ ความ ร่วมมือท่ีไม่ใช่ทางการเมืองน้นั ลม้ เหลว ประวตั ิการณ์ดา้ นเอกสารของอาเซียน จดั ไดว้ า่ เป็นเร่ืองของ การศึกษาทางวิชาการโดยแท้ มีเอกสารดา้ นนโยบาย รายงานการประชุม และการประชุมปฏิบตั ิงาน เพ่ือใหบ้ รรลุถึง

13 เป้าหมายของ “แถลงการณ์กรุงเทพ” (Bangkok Declaration) สิ่งท่ีปรากฎจริงเหล่าน้ีเป็น ประเดน็ เน้ือหาสาระของเรื่อง ต่างๆ ในอาเซียน เช่น ความร่วมมือทางดา้ น เศรษฐกิจในสภาพแวดลอ้ มของภูมิภาคที่เตม็ ไปดว้ ยการแขง่ ขนั กนั อดีตเลขาธิการขององคก์ ารอาเซียนท่านหน่ึงกล่าววา่ ท่ีจะทาํ ใหอ้ าเซียน เกิดความกา้ วหนา้ จริงๆ น้นั จะตอ้ งทาํ ใหม้ ีวิสยั ทศั นใ์ หม่ๆ เกือบท้งั หมดและมี สาํ นึกใหม่ที่หวั หนา้ รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนจะตอ้ งทุ่มเทใหเ้ กิด ความ กา้ วหนา้ ข้ึน จะตอ้ งเสียสละ และเหนืออื่นใดท้งั หมดจะตอ้ งมีเจตนารมณ์ทางการ เมืองแนวแน่ยดึ มนั่ ไวา้ ง ขณะที่ ยงั ไม่มีการทุ่มเท เสียสละ วิสยั ทศั นข์ าดไป หรือ ไร้ซ่ึงเจตนารมณ์ทางการเมือง แต่ยงั มีโครงการต่างๆ วางเป็นแนว ทางการพฒั นา ของอาเซียนอยู่ ลว้ นใหค้ วามสาํ คญั แก่ผลประโยชนข์ องภูมิภาค และก่อผล ประโยชนแ์ ห่งชาติตาม เป้าหมายที่เนน้ ความเป็นภูมิภาคพร้อมกนั ไปดว้ ย จนกระทงั่ ถึงปี ค.ศ. 1992 เม่ือมีการประชุมสุดยอดของอาเซียนท่ีสิงคโปร์ ประเทศท่ีก่อต้งั อาเซียนไดจ้ ดั กลไก ของอาเซียนเพอ่ื ดาํ เนินพนั ธกิจของอาเซียนให้ เป็นไปอยา่ งง่ายๆ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความคาดหวงั ไม่สูงนกั ของรัฐมนตรี ต่าง ประเทศในการจดั การปรึกษาหารือในลกั ษณะเป็นกลุ่มร่วมกนั การดาํ เนินการ ในพนั ธกิจของรัฐมนตรีที่เป็นไปใน ลกั ษณะสถาบนั คือการจดั การประชุมประจาํ ปี ของรัฐมนตรี การบริหารงานของอาเซียนจึงเป็นการบริหารงานร่วมกนั ผเู้ ป็น ประธานของการประชุมระดบั รัฐมนตรีจะผดั เปล่ียนประชุมกนั ไปตามเมืองหลวง ของประเทศสมาชิกท้งั สิบ ประเทศ ประเด็นเหล่าน้ีเองที่เป็นเหตุใหเ้ กิดวิกฤต ทางการทูตข้ึนในปี ค.ศ. 2006 เมื่อพม่าจะตอ้ งเป็นประธานตามวาระ ซ่ึงทาํ ให้ อาเซียนตอ้ งชกั ชวนใหก้ ลุ่มอาํ นาจพม่าเลือนผา่ นการเป็นประธานไปก่อน การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของอาเซียน (ASEAN Ministerial Meetings AMM) น้นั ไม่ไดจ้ าํ กดั เฉพาะแต่ การประชุมของรัฐมนตรีเท่าน้นั การประชุมเป็น กรณีพเิ ศษกส็ ามารถจดั ข้ึนไดต้ ามแต่โอกาสที่จะตอ้ งทาํ ตวั อยา่ งเช่น การประชุม ในปี ค.ศ. 1979 เพือ่ จดั ทาํ ร่างสถานะอยา่ งเป็นทางการของอาเซียน ในกรณีเร่ือง ท่ีเวยี ดนามรุกรานกมั พชู า หรือสถานะของอาเซียนต่อการรัฐประหารของฮุนเซน ในปี ค.ศ. 1997 ในระหวา่ งที่จะมีประธานการเปิ ดประชุม รัฐมนตรีของอาเซียน ซ่ึงจะตอ้ งเป็นประธานของที่ประชุมคณะกรรมการถาวร (ASEAN Standing Commitlee : ASC) และจะตอ้ งเป็นโฆษกอยา่ งเป็นทางการของอาเซียน คณะกรรมการ ถาวรน้ีจะมีองคป์ ระกอบท่ีประกอบดว้ ยรัฐมนตรี ต่างประเทศ ซ่ึงจะเป็นประธาน คณะกรรมการ และยงั มีเอกอคั รราชทูตของอาเซียนท่ีไดร้ ับสารตราต้งั จากประเทศ เจา้ ภาพแลว้ รวมเป็นองคป์ ระกอบคณะกรรมการถาวรของอาเซียนอยดู่ ว้ ย : จริงแลว้ การติดต่องานโดยปกติกย็ งั คงทาํ ผา่ นรัฐมนตรีต่างประเทศ และเจา้ หนา้ อาวโุ ส ซ่ึงกจ็ ะทาํ ใหบ้ ทบาทของคณะกรรมการถาวรของอาเซียนมีบทบาทนอ้ ย ลงไป ในช่วงทศวรรษแรกของอาเซียนน้นั การปฏิบตั ิภารกิจต่างๆในกิจกรรมท่ี เป็นความร่วมมือกนั ในการ ปรึกษาหารือระดบั ท่ีต่าํ กวา่ ระดบั การเมือง จะเป็นเร่ืองของคณะกรรมการถาวร หรือคณะกรรมการชวั่ คราว ในระดบั เจา้ หนา้ ท่ีหรือ ผเู้ ชี่ยวชาญ จนกระทงั่ ปี ค.ศ. 1969 แลว้ นน่ั เอง จึงมีการจดั ต้งั คณะกรรมการ ถาวรข้ึนมาดูแลเร่ือง

14 เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม คณะกรรมการถาวรน้ีจะตอ้ ง อยใู่ นประเทศต่างๆ ของอาเซียนแตกต่างกนั ไป การทาํ งาน ของคณะกรรมการ จะแยกออกจากการทาํ งานอยา่ งทางราชการของแต่ละประเทศ ท้งั ที่จะเห็นวา่ เป็น งานท่ีซอ้ นๆ กนั อยใู่ นระบบบริหารราชการนน่ั เอง แต่กไ็ ม่มีกลไกการบริหารงาน บูรณาการที่ขยายกวา้ งขนานออกไป และแมว้ า่ คณะกรรมการจะไดส้ ร้างโครงการ ต่างๆ ข้ึนมาเป็นจาํ นวนมาก โครงการต่างๆ และแผนโครงการความร่วมมือท้งั หลายน้นั แต่กม็ ีขอ้ เสนอไม่กี่เร่ืองเท่าน้นั ท่ีผา่ นการอนุมตั ิ และโครงการกม็ ีที่ได้ รับอนุมตั ิใหด้ าํ เนินการมีแค่สองสาม โครงการเท่าน้นั เอง สิ่งที่เห็นวา่ หายไปจากการ จดั การองคก์ รและกลไกในการบริหารงานของอาเซียน กค็ ือขาด หน่วยงานที่จะ เช่ือมต่อแผนพฒั นาทางเศรษฐกิจของอาเซียนใหเ้ ขา้ กบั ความสาํ คญั เร่งด่วนของ แผนและโครงการ พฒั นาของแต่ละประเทศสมาชิก จึงนบั เป็นจุดบอดในความริเร่ิม โครงการต่างๆ ในอนาคตของอาเซียน ลกั ษณะดงั กล่าว ทาํ ใหเ้ ห็นวา่ การทาํ งานอยา่ งระบบราชการน้นั เป็นตวั ฉุดร้ังงานของอาเซียน เพราะงานต่างๆ ไปกองรวมอยกู่ บั สาํ นกั เลขาธิการของ อาเซียนในแต่ละประเทศ ท่ีจะทาํ งานร่วมของอาเซียนในนามตวั แทนของ ประเทศ ของตวั เองที่เป็นสมาชิกของอาเซียนอยู่ ขณะเดียวกนั กท็ าํ งานสนองตอบต่อการ ประชุมระดบั รัฐมนตรีของ อาเซียนและกรรมการอ่ืนๆ ของอาเซียน สาํ นกั เลขา ธิการอาเซียนของแต่ละประเทศน้นั กไ็ ม่มีการเชื่อมต่อในระดบั กวา้ งขวางออกไป ระหวา่ งกนั หรือกบั หน่วยงานกลางที่จะคอยประสานงานกบั ระดบั เหนือข้ึนไป เดเนน้ ของสาํ นกั เลขาธิการอาเซียนในแต่ละประเทศน้นั ช้ีใหเ้ ห็นไดจ้ ากขอ้ เทจ็ จริงท่ีวา่ สาํ นกั เลขาธิการอาเซียนเหล่าน้ี ต้งั ข้ึนเป็นหน่วย หน่ึงฝากไวก้ บั กระทรวงการ ต่างประเทศในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนนนั่ เอง “แถลงการณ์กรุงเทพ” (Bangkok Declaration) น้นั มีเป็นลกั ษณะท่ีเป็น สนธิสญั ญาท่ีจะมีผลบงั คบั เป็น พนั ธกรณีที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม โครงสร้างของอาเซียน น้นั เป็นโครงสร้างของการรวมตวั กนั อยา่ งสมคั รใจ (Voluntary Association) ไม่มี ขอ้ ผกู พนั ท่ีเป็นพนั ธกิจของประเทศสมาชิก ไม่มีเจา้ หนา้ ท่ีตวั แทนในอาเซียน และการตดั สินใจใดๆ น้นั กต็ อ้ งเป็นไปโดยเอกฉนั ท์ อาเซียนนา้ํ เอากระบวนการ แบบของอินโดนีเซียท่ีใชก้ ารปรึกษาหารือเพ่อื ใหเ้ กิดขอ้ ตกลง ท่ีเป็นเอกฉนั ท์ ภาษา อินโดนีเซีย คือ Musyawarah-Mufaket (Consultation and Consensus) ซ่ึงหมาย ถึงการขบั เคลื่อน ของอาเซียนน้นั จะเป็นไปตามความเชื่องชา้ อยา่ งที่สุดของสมาชิก วตั ถุประสงคก์ ระบวนการดงั กล่าวกเ็ พื่อหลีกเลี่ยงให้ เกิดการประนีประนอมความ เปราะบางแตกแยกใหเ้ ป็นความเขม้ แขง็ ทางการเมือง ป้องกนั ความขดั แยง้ ไม่ให้ เกิดกบั โครงการความร่วมมือที่ดาํ เนินไปดว้ ยดี โดยท่ีหลีกเลี่ยงการแข่งขนั กนั ของ แต่ละชาติในการแยง่ ชิงผลประโยชนข์ อง ชาติของแต่ละชาติสมาชิกอาเซียน ขอ้ ท่ี น่าผดิ หวงั จากความลม้ เหลวในกลไกของอาเซียนในการปฏิบตั ิภารกิจ กค็ ือ อาเซียนยงั ไม่มีอะไรท่ีกา้ วหนา้ ไปกวา่ เดิมในการจดั โครงการและสร้างสถาบนั ระดบั ภูมิภาค เพราะดูจะยงั ขาดความ เป็นผนู้ าํ ที่มีเจตนารมณ์ทางการเมือง (The Leadership's lack of “Political Mill) ที่จริงแลว้ กา้ วข้นั ท่ีขาดไปในการดาํ เนิน งานอยา่ งเป็นผลในลกั ษณะภูมิภาคนิยมน้นั กค็ ือการท่ีการประชุมระดบั รัฐมนตรีของอาเซียนนน่ั เองขาดส่ิงที่เรียกวา่ เจตนารมณ์ทางการเมือง(ดนยั ไชยโยธา. อาเซียนศึกษา. –กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2557)

15 บรรณานุกรม ดนยั ไชยโยธา. อาเซียนศึกษา. –กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2557 ทชั ชมยั (ฤกษะสุต) ทองอุไร. มุมมองต่อประชาคมอาเซียน. –กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2557 นิคม ชาวเรือ. ครอบครัวอาเซียน. –กรุงเทพฯ: บริษทั นกฮูก พบั ลิชช่ิง จาํ กดั , 2555 พิษณุ สุวรรณะชฎ. สามทศวรรษอาเซียน. –กรุงเทพฯ: สาํ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั , 2540 ศานติ ภกั ดีคาํ . 100เรื่องน่ารู้ในกมั พชู า. –กรุงเทพฯ: อมรินทร์คอมมิกส์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ริช ช่ิง, 2556


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook