Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบสุริยะ

ระบบสุริยะ

Published by janjira11513880, 2018-01-18 01:21:03

Description: ระบบสุริยะ

Search

Read the Text Version

ระบบสุริยะSolar system

คานาหนงั สอื เลม่ นเี ้ป็นหนงั สอื ที่มจี ดุ ประสงค์ทจี่ ดั ทาขนึ ้ เพ่อื สง่ เสริมการศกึ ษาเร่ืองระบบสรุ ิยะ ของชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2ทงั้ นใี ้ นหนงั สอื เลม่ นจี ้ ะประกอบด้วยความรู้และเนอื ้ หาที่เกี่ยวข้องกบั ระบบสรุ ิยะและดาวเคราะห์ และหวงั วา่ หนงั สอื เลม่ นี ้จะเป็นประโยชน์แกผ่ ้อู า่ นๆทา่ น ผ้จู ดั ทา

สารบญัเร่ือง หนา้เอกภพ 1ดวงอาทิตย์ 2ดวงจนั ทร์ 3โลก 4ดาวพธุ 5ดาวศุกร์ 6ดาวองั คาร 7ดาวพฤหสั บดี 8ดาวเสาร์ 9-10ดาวยเู รนสั 11ดาวเนปจูน 12

เอกภพ เอกภพ (Universe) เป็ นท่ีวา่ งที่มีอาณาเขตกวา้ งใหญ่ไพศาลจนไม่สามารถกาหนดขอบเขตได้ ในเอกภพประกอบไปดว้ ยหลายๆ กลมุ่ ดาว หรือเรียกวา่ กาแลคซ่ี (Galaxy) ภายในกาแลคซ่ีประกอบไปดว้ ยดวงดาวมากมายหลายร้อยลา้ นดวงท้งั ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ฝ่ นุ และกล่มุ เนบิวลา เช่นเดียวกบั กลมุ่ ดาวท่ีโลกเราเป็ นสมาชิกอยู่ ไดแ้ ก่ กาแลคซ่ีทางชา้ งเผอื ก(Milky Way) สาเหตทุ ่ีเราเรียกวา่ กาแลคซี่ทางชา้ งเผอื ก เนื่องจากเม่ือเรามองจากโลกไปยงั กาแลคซี่ดงั กลา่ วเราจะมองเห็นทอ้ งฟ้าเป็นทางขาวคลา้ ยเมฆพาดยาวบนทอ้ งฟ้าในเวลากลางคืน ซ่ึงนกั วทิ ยาศาสตร์คาดวา่ ทางชา้ งเผอื กน้ีมีดวงดาวอยู่ประมาณแสนลา้ นดวง สาหรับระบบสุริยะจกั รวาลของเราซ่ึงเป็ นส่วนหน่ึงของทางชา้ งเผือก มีดวงอาทิตยเ์ ป็นศูนยก์ ลางและมีดวงดาวต่าง ๆ หรือที่เรียกอีกอยา่ งวา่ เท่ห์ฟากฟ้า ดวงดาวทุกดวงจะมีความเกี่ยวพนั กนั อยกู่ บั ดวงดาวดวงหน่ึงโดยเฉพาะ เช่น ดวงจนั ทร์กบั โลก โลกกบั ดวงอาทิตย์ เป็ นตน้ เทห่ ์ฟากฟ้าท่ีประกอบกนั อยใู่ นระบบสุริยะจกั รวาล ไดแ้ ก่ดาวเคราะห์ ดาวบริวาร ดาวเคราะห์นอ้ ย ดาวหาง ดาวตก อกุ กาบาต เป็ นตน้

ดวงอาทติ ย(์ Sun) ดวงอาทิตย์ (The Sun) คือดาวฤกษท์ ี่อยตู่ รงศูนยก์ ลางของระบบสุริยะ มี ขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 1.4 ลา้ นกิโลเมตร หรือ 109 เท่าของเสน้ ผา่ น ศูนยก์ ลางโลก อยหู่ ่างจากโลก 149,600,000 กิโลเมตร หรือ 1 หน่วยดารา ศาสตร์ (AU) ดวงอาทิตยม์ ีมวลมากกวา่ โลก 333,000 เท่า แตม่ ีความ หนาแน่นเพยี ง 0.25 เท่าของโลก เนื่องจากมีองคป์ ระกอบเป็ นไฮโดรเจน 74% ฮีเลียม 25% และธาตุชนิดอื่น 1% ดวงอาทิตยอ์ ยหู่ ่างจากศูนยก์ ลางดาราจกั รทางชา้ งเผอื กเป็ นระยะทางโดยประมาณ 26,000 ปี แสง ใชเ้ วลาโคจรครบรอบดาราจกั รประมาณ 225-250 ลา้ นปี มีอตั ราเร็วในวงโคจร 215 กิโลเมตรต่อวนิ าที หรือ 1 ปี แสง ทุก ๆ 1,400 ปีดวงอาทิตยจ์ ดั เป็ นดาวฤกษร์ ุ่นที่ 3 ซ่ึงสนั นิษฐานกนั วา่ ก่อตวั ข้ึนโดยอิทธิพลของมหานวดาราที่อยใู่ กล้ ๆ เพราะมีการคน้ พบธาตุหนกั เช่น ทองคาและยเู รเนียมในปริมาณมาก ซ่ึงธาตเุ หลา่ น้ีอาจเกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดดูดความร้อนขณะท่ีเกิดมหานวดารา หรือการดูดซบั นิวตรอนในดาวฤกษร์ ุ่นท่ีสองซ่ึงมีมวลมากวฏั จกั รดาวฤกษ์ นกั ดาราศาสตร์สนั นิษฐานวา่ ดวงอาทิตยม์ ีอายปุ ระมาณ 5,000 ลา้ นปี ในขณะน้ีดวงอาทิตยก์ าลงั อยใู่ นลาดบัหลกั ทาการหลอมไฮโดรเจนใหเ้ ป็ นฮีเลียม โดยทุก ๆ วนิ าที มวลสารของดวงอาทิตยม์ ากกวา่ 4 ลา้ นตนั ถกู เปล่ียนเป็ นพลงั งาน ดวงอาทิตยใ์ ชเ้ วลาโดยประมาณ 1 หม่ืนลา้ นปี ในการดารงอยใู่ นลาดบั หลกั โครงสร้างของของดวงอาทิตย์

ดวงจนั ทร(์ Moon) ดวงจนั ทร์ (The Moon) เป็นบริวารดวงเดียวของโลกและมีขนาดเลก็ กวา่ โลกมาก หลงั จากการก่อตวั ของระบบสุริยะ ดวงจนั ทร์เยน็ ตวั อยา่ งรวดเร็วจนโครงสร้าง ภายในกลายเป็นของแขง็ ท้งั หมดจึงไม่มีสนามแมเ่ หลก็ ดวงจนั ทร์มีมวลนอ้ ยจึงมี แรงโนม้ ถ่วงนอ้ ยจนไม่สามารถดึงดูดบรรยากาศไวไ้ ด้ การที่ไม่มีช้นั บรรยากาศ ห่อหุม้ อยเู่ ลย ทาใหอ้ กุ กาบาตพงุ่ ชนพ้ืนผิวโดยอิสระไร้แรงเสียดทาน พ้นื ผิวของดวง จนั ทร์จึงปกคลุมไปดว้ ยฝ่นุ ผงและกรวดอุกกาบาต เมื่อมองดูจากโลกเรามองเห็น พ้ืนท่ีสีคล้าบนดวงจนั ทร์เป็ นรูปกระตา่ ย คนสมยั ก่อนเขา้ ใจว่า บริเวณน้นั เป็นทะเล บนดวงจนั ทร์ แต่ปัจจบุ นั เป็นที่ทราบดีกนั แลว้ วา่ บนดวงจนั ทร์ไม่มีน้า พ้นื ท่ีแอง่ สี คล้าบนดวงจนั ทร์เกิดข้ึนจากการพงุ่ ชนของอุกกาบาตขนาดใหญใ่ นยคุ แรกของ ระบบสุริยะ ทาใหพ้ ้นื ผิวของดวงจนั ทร์ทะลุจนแมกมาซ่ึงอยขู่ า้ งใตไ้ หลข้ึนมาแขง็ ตวั เป็นหินบะซอลต์ ในยคุ หลงั ๆ อกุ กาบาตไดพ้ ุ่งชนและหลอมรวมกบั ดาวเคราะห์และดวงจนั ทร์ต่างๆ ของระบบสุริยะจนหมดแลว้ เหลือแต่อกุ กาบาตขนาดจิ๋วซ่ึงยงั คงกระหน่าชนพ้นื ผวิ ดวงจนั ทร์อยตู่ ลอดเวลา ดวงจนั ทร์หนั ดา้ นเดียวเขา้ หาโลก เน่ืองจากปฏิสมั พนั ธข์ องแรงไทดลั ของโลกและดวงจนั ทร์ ทาให้ดวงจนั ทร์หมนุ รอบตวั เองใชเ้ วลาเทา่ กบัท่ีดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ดา้ นตรงขา้ มที่หนั ออกจากโลก (Far side of the Moon) จึงเตม็ ไปดว้ ยหลุมอกุ กาบาตขนาดใหญ่เพราะดวงจนั ทร์ทาหนา้ ที่ปกป้องโลกไปในตวั และแมว้ า่ ดวงจนั ทร์จะมีขนาดเลก็ กวา่ โลกมากแต่ดวงจนั ทร์กม็ ีอิทธิพลกบั โลกมาก ทาให้เกิดปรากฏการณ์ตา่ งๆ เช่นขา้ งข้ึนขา้ งแรม น้าข้ึนน้าลง สุริยปุ ราคา จนั ทรุปราคา นกั วิทยาศาสตร์พบว่า ดวงจนั ทร์กาลงั เคล่ือนท่ีชา้ ลงและห่างจากโลกมากข้ึน ปี พ.ศ.2502 สหภาพโซเวียต (รัสเซีย) ไดส้ ่ง ลูนา 2 ยานอวกาศลาแรกลงไปสารวจพ้ืนผิวดวงจนั ทร์ สิบปี ตอ่ มาในวนั ท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ.2512 สหรัฐอเมริกาไดส้ ่ง อะพอลโล 11 ยานอวกาศลาแรกท่ีพามนุษยค์ ือ นีล อาร์มสตรอง และ เอด็ วนิ อลั ดริน ไปเหยยี บพ้ืนผิวดวงจนั ทร์และนาหินบนดวงจนั ทร์กลบั มาตรวจสอบพบวา่ มีอายถุ ึง 3,000 – 4,600 ลา้ นปี ซ่ึงเก่าแก่กวา่ หินบนพ้นื โลก นบั เป็นหลกั ฐานที่สาคญั เกี่ยวกบั การเกิดของระบบสุริยะในยคุ เริ่มแรก ยานอวกาศรุ่นใหมท่ ่ีส่งไปสารวจดวงจนั ทร์ ไดแ้ ก่ คลีเมนไทน์ และ ลูนาร์โพรสเปคเตอร์ ใหข้ อ้ มลู ท่ีบ่งบอกวา่อาจมีน้าแขง็ อยทู่ ี่กน้ หลุมอุกกาบาตท่ีบริเวณข้วั ของดวงจนั ทร์ เน่ืองจากเป็ นพ้ืนที่ที่แสงอาทิตยส์ ่องลงไปไมถ่ ึง อยา่ งไรก็ตาม จากการบงั คบัยานลูนาร์โพรสเปคเตอร์ให้พงุ่ ชนดวงจนั ทร์ไมต่ รวจพบวา่ มีเศษน้าแขง็ กระเด็นออกมา โครงสร้างของของดวงจนั ทร์

โลก(Earth) โลก (The Earth) เป็นดาวเคราะหด์ วงเดียวในระบบสุริยะท่ีมีสภาวะแวดลอ้ ม เอ้ืออานวยต่อการดารงชีวติ ของส่ิงมีชีวติ โลกอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็ น ลาดบั ที่ 3 และมีขนาดใหญเ่ ป็ นอนั ดบั ที่ 5 โลกมีสณั ฐานเป็ นทรงกลมแป้นมี รัศมีเฉล่ีย 6,371 กิโลเมตร โครงสร้างภายในของโลกประกอบไปดว้ ยแก่น ช้นั ในท่ีเป็ นเหลก็ มีรัศมีประมาณ 1,200 กิโลเมตร ห่อหุม้ ดว้ ยแก่นช้นั นอกที่ เป็ นของเหลว (Liquid) ประกอบดว้ ยเหลก็ และนิเกิล มีความหนาประมาณ 2,200 กิโลเมตร ถดั ข้ึนมาเป็ นช้นั แมนเทิลซ่ึงเป็ นของแขง็ เน้ืออ่อนท่ียดื หยนุ่ ได้ (Plastic) ประกอบไปดว้ ย เหลก็ แมกนีเซียม ซิลิกอน และธาตุอื่นๆ มี ความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร เปลือกโลกเป็นของแขง็ (Solid) มีองคป์ ระกอบส่วนใหญ่เป็ นเฟลดส์ ปาร์ และควอตช์ (ซิลิกอนไดออกไซด)์ บรรยากาศของโลกประกอบดว้ ยไนโตรเจน 77 % ออกซิเจน 21% ท่ีเหลือเป็ นอาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ และน้า คาร์บอนไดออกไซดช์ ่วยในการกกั เกบ็ ความร้อนไวภ้ ายใตช้ ้นั บรรยากาศโดยอาศยั ภาวะเรือนกระจก ทาใหโ้ ลกมีความอบอนุ่ ไมห่ นาวเยน็ จนเกินไปสาหรับส่ิงมีชีวติ อยา่ งไรกต็ ามถา้ ปริมาณคาร์บอนไดออกไซดเ์ พม่ิ ข้นึ มากข้ึนกจ็ ะทาใหเ้ กิดสภาวะโลกร้อน ซ่ึงอาจส่งผลใหส้ ิ่งมีชีวติ ไมส่ ามารถดารงอยไู่ ด้ นอกจากน้ีโลกยงั มีสนามแม่เหลก็ ซ่ึงเกิดจากการเคลื่อนท่ีของแก่นช้นั นอกซ่ึงเป็นเหลก็ เหลว ถึงแมว้ า่ สนามแม่เหลก็โลกจะมีความเขม้ ไมม่ าก แตก่ ็ช่วยปกป้องไม่ใหอ้ นุภาคที่มีพลงั งานสูงจากดวงอาทิตย์ (Solar wind) เดินทางผา่ นมาท่ีผิวโลกได้ โดยสนามแมเ่ หลก็ จะกกั ใหอ้ นุภาคเดินทางไปตามเสน้ แรงแมเ่ หลก็ และเขา้ สู่ช้นั บรรยากาศไดเ้ พียงที่ข้วั โลกเหนือและข้วั โลกใตเ้ ท่าน้นั เมื่ออนุภาคพลงั งานสูงปะทะกบั โมเลกลุ ของแกส๊ ในช้นั บรรยากาศ ทาใหเ้ กิดแสงสีสวยงามสงั เกตเห็นบนทอ้ งฟ้ายามค่าคืน เรียกวา่ \"แสงเหนือแสงใต\"้ (Aurora) โครงสร้างของของโลก

ดาวพธุ (Mercury) ดาวพธุ (Mercury) เป็นดาวเคราะห์ซ่ึงอยใู่ กลก้ บั ดวงอาทิตยม์ ากท่ีสุด เป็ น ดาวเคราะหข์ นาดเลก็ และไม่มีดวงจนั ทร์เป็นบริวาร โครงสร้างภายในของ ดาวพธุ ประกอบไปดว้ ยแกนเหลก็ ขนาดใหญม่ ีรัศมีประมาณ 1,800 ถึง 1,900 กิโลเมตร ลอ้ มรอบดว้ ยช้นั ที่เป็นซิลิเกต (ในทานองเดียวกบั ที่แกน ของโลกถกู ห่อหุม้ ดว้ ยแมนเทิลและเปลือก) ซ่ึงหนาเพยี ง 500 ถึง 600 กิโลเมตร บางส่วนของแกนอาจจะยงั หลอมละลายอยู่ ในปี พ.ศ.2517 สหรัฐอเมริกาไดส้ ่งยานมารีเนอร์ 10 ไปสารวจและทา แผนที่พ้นื ผวิ ดาวพธุ เป็ นคร้ังแรก แตเ่ นื่องจากดาวพธุ อยใู่ กลด้ วงอาทิตยม์ าก จึงสามารถทาแผนท่ีไดเ้ พียงร้อยละ 45 ของพ้ืนท่ีท้งั หมด พ้นื ผิวดาวพธุ เตม็ไปดว้ ยหลุมบ่อมากมายคลา้ ยกบั พ้ืนผวิ ดวงจนั ทร์ มีเทือกเขาสูงใหญแ่ ละแอ่งที่ราบขนาดใหญอ่ ยทู่ ว่ั ไป แอ่งท่ีราบแคลอริสมีขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 1,300 กิโลเมตร นกั ดาราศาสตร์สนั นิษฐานวา่ แอง่ ที่ราบขนาดใหญเ่ ช่นน้ีเกิดจากการพงุ่ชนของอกุ กาบาตในยคุ เริ่มแรกของระบบสุริยะ ดาวพธุ ไม่มีช้นั บรรยากาศห่อหุม้ ดาวพธุ อยใู่ กลด้ วงอาทิตยม์ าก กลางวนั จึงมีอุณหภูมิสูงถึง 430 °C แตก่ ลางคืนอุณหภมู ิลดเหลือเพียง -180°C อุณหภูมิกลางวนั กลางคืนแตกตา่ งกนั ถึง 610°C โครงสร้างของของดาวพธุ

ดาวศกุ ร์(Mercury) ดาวศุกร์ (Venus) อยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นลาดบั ท่ี 2 เป็ นดาวเคราะห์ท่ีมี ขนาดใหญ่เป็ นอนั ดบั ท่ี 6 ไม่มีดวงจนั ทร์บริวาร ดาวศุกร์มีลกั ษณะท่ี คลา้ ยคลึงกบั โลก จนไดช้ ื่อวา่ เป็ นดาวเคราะหฝ์ าแฝดกบั โลกของเรา โครงสร้างภายในของดาวศุกร์ ประกอบดว้ ย แกนกลางท่ีเป็ นเหลก็ มีรัศมี ประมาณ 3,000 กิโลเมตร ห่อหุม้ ดว้ ยช้นั แมนเทิลที่มีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร และเปลือกแขง็ ที่ประกอบดว้ ยหินซิลิเกต ยานอวกาศลาแรกท่ีเดินทางไปดาวศุกร์คือ มาริเนอร์ 2 ในปี พ.ศ. 2505 หลงั จากน้นั ก็มีอีกหลายลา จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. 2532 ยานอวกาศ แมกเจลแลนไดใ้ ชเ้ รดาร์ในการสารวจผา่ นช้นั บรรยากาศท่ีหนาแน่นของดาวศุกร์เพอื่ ทาแผนที่พ้ืนผวิ ของดาว การสารวจโดยใชส้ ญั ญาณเรดาร์ทาใหท้ ราบระดบั สูงของพ้ืนผิวดาวศุกร์ และพบวา่พ้ืนผวิ ดาวศุกร์ปกคลุมไปดว้ ยภเู ขาไฟใหญ่และท่ีราบท่ีเกิดจากการระเบิดของภเู ขาไฟหลายแห่ง นอกจากน้ียงั พบวา่ พ้นื ผิวดาวศุกร์ไมม่ ีหลมุ อุกกาบาตขนาดเลก็ เนื่องจากวา่ อุกกาบาตจะถกู เผาไหมไ้ ปจนหมดในระหวา่ งท่ีตกเขา้ สู่ช้นั บรรยากาศที่หนาแน่นของดาวศุกร์ ช้นั บรรยากาศของดาวศุกร์น้นั มีความหนาแน่นมาก ความกดอากาศบนพ้ืนผิวดาวศุกร์สูงกวา่ ความกดอากาศบนพ้ืนผวิ โลก 90 เท่า หรือมีคา่ เท่ากบั ความดนั ท่ีใตท้ ะเลลึก 1 กิโลเมตร บรรยากาศของดาวศุกร์ประกอบไปดว้ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็ นส่วนใหญ่ และมีช้นั เมฆอยหู่ ลายช้นั ท่ีประกอบไปดว้ ยแก๊สซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (กรดกามะถนั ) ซ่ึงมีความหนาหลายกิโลเมตร ทาใหเ้ ราไมส่ ามารถมองเห็นพ้นื ผิวดาวศุกร์ ช้นั บรรยากาศที่หนาทึบทาใหเ้ กิดสภาวะเรือนกระจกกกั เก็บความร้อนไว้ ทาใหอ้ ณุ หภมู ิพ้ืนผวิ สูงถึง 470°C จะเห็นไดว้ า่ พ้ืนผวิ ดาวศุกร์ร้อนกวา่ พ้นื ผิวดาวพธุ มาก ท้งั ๆ ที่อยไู่ กลจากดวงอาทิตยก์ วา่ ดาวพธุ ถึงสองเท่ากต็ าม โครงสร้างของของดาวศุกร์

ดาวองั คาร(Mars) ดาวองั คาร (Mars) เป็ นดาวเคราะห์ท่ีอยหู่ ่างจากดวงอาทิตยเ์ ป็นอนั ดบั ที่ 4 ใน บรรดาดาวเคราะห์ท้งั หมด ดาวองั คารมีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางประมาณ 0.5 เท่า ของโลก ดาวองั คารมีโครงสร้างภายในประกอบดว้ ยแก่นของแขง็ มีรัศมีประมาณ 1,700 กิโลเมตร ห่อหุม้ ดว้ ยช้นั แมนเทิลที่เป็ นหินหนืดหนาประมาณ 1,600 กิโลเมตร และมีเปลือกแขง็ เช่นเดียวกบั โลก ดาวองั คารมีสีแดงเน่ืองจากพ้นื ผวิ ประกอบดว้ ยออกไซดข์ องเหลก็ (สนิมเหลก็ ) พ้ืนผิวของดาวองั คารเตม็ ไปดว้ ย หุบเหวต่างๆ มากมาย หุบเหวขนาดใหญช่ ื่อ หุบเหวมาริเนอริส (Valles Marineris)มีความยาว 4,000 กิโลเมตร กวา้ ง 600 กิโลเมตร ลึก 8 กิโลเมตร นอกจากน้ีดาวองั คารยงั มีภเู ขาไฟท่ีสูงที่สุดในระบบสุริยะช่ือ ภูเขาไฟโอลิมปัส (Mount Olympus) สูง 25 กิโลเมตร ฐานที่แผอ่ อกไปมีรัศมี 300 กิโลเมตร ดาวองั คารมีบรรยากาศเบาบางมากประกอบดว้ ยคาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็ นส่วนใหญซ่ ่ึงเกิดจากการระเหิดของน้าแขง็ แหง้ (คาร์บอนไดออกไซดแ์ ขง็ )ปกคลมุ อยทู่ ว่ั ไปบนพ้ืนผวิ ดาวองั คาร ท่ีบริเวณข้วั เหนือและข้วั ใตข้ องดาวมีน้าแขง็ (Ice water) ปกคลมุ อยตู่ ลอดเวลา ดาวองั คารเป็ นดาวเคราะหท์ ่ีเป็ นที่ช่ืนชอบของผแู้ ตง่ นิยายวทิ ยาศาสตร์ในหลายสิบปี ที่ผา่ นมา ต้งั แตม่ ีการสงั เกตดาวองั คารผา่ นกลอ้ งโทรทรรศน์ และพบรูปร่างพ้ืนผวิ ที่คลา้ ยกบั คลองส่งน้าของมนุษยด์ าวองั คาร (ถา้ มีส่ิงมีชีวติ อยจู่ ริงบนดาวองั คาร) แต่หลงั จากที่องคก์ ารนาซาไดส้ ่งยานไปสารวจดาวองั คารอยา่ งต่อเนื่อง ทาใหเ้ ราทราบวา่ ลกั ษณะดงั กลา่ วเป็ นเพียงร่องรอยที่เกิดข้ึนในธรรมชาติ อยา่ งไรกต็ ามจากการสารวจพ้นื ผวิ ดาวองั คารโดยยานไวกิงออร์บิเตอร์ 1 และยานมาร์สโกลบอลเซอร์เวเยอร์พบร่องรอยทอ้ งแมน่ ้าที่เหือดแหง้ นกั วทิ ยาศาสตร์ต้งั สมมติฐานวา่ ถา้ เคยมีสิ่งมีชิวติ อยบู่ นดาวองั คารมาก่อน ก็น่าจะมีซากหรือฟอสซิลของสิ่งมีชีวติ เหล่าน้นั ใตท้ อ้ งน้าหรือใตน้ ้าแขง็ ท่ีข้วั ท้งั สองของดาวองั คาร ดาวองั คารมีดวงจนั ทร์บริวารขนาดเลก็ 2 ดวง คือ โฟบสั และดีมอส ดวงจนั ทร์ท้งั สองดวงมีรูปร่างไมส่ มมาตร และมีขนาดเลก็ กวา่ 25 กิโลเมตร สนั นิษฐานวา่ เป็ นดาวเคราะห์นอ้ ยท่ีถกู แรงโนม้ ถ่วงของดาวองั คารดูดจบั มาเป็นบริวาร ภายหลงัการก่อตวั ของระบบสุริยะ โครงสร้างของของดาวองั คาร

ดาวพฤหัสบดี(Jupiter) ดาวพฤหสั บดี (Jupiter) เป็ นวตั ถุทอ้ งฟ้าท่ีมีความสวา่ งมากเป็ นอนั ดบั ที่ 4 รอง จากดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาวศุกร์ และเป็ นที่รูจ้ กั กนั มาต้งั แตย่ คุ ก่อน ประวตั ิศาสตร์ ดาวพฤหสั บดีถูกสารวจเป็ นคร้ังแรกโดยยานไพโอเนียร์ 10 ในปี พ.ศ.2516 ติดตามดว้ ย ไพโอเนียร์ 11, วอยเอเจอร์ 1, วอยเอเจอร์ 2, ยลู ิซิส และ กาลิเลโอ ดาวพฤหสั บดีเป็นดาวเคราะห์แก๊สซ่ึงบรรยากาศหนาแน่น มี องคป์ ระกอบหลกั เป็ นไฮโดรเจน 90% และฮีเลียม 10% ปะปนดว้ ยมีเทน น้า และแอมโมเนียจานวนเลก็ นอ้ ย ลึกลงไปดา้ นลา่ งเป็นแมนเทิลช้นั นอกซ่ึงประกอบไปดว้ ยไฮโดรเจนและฮีเลียมเหลว และแมนเทิลช้นั ในท่ีประกอบไปดว้ ยไฮโดรเจนซ่ึงมีสมบตั ิเป็ นโลหะ และแก่นกลางที่เป็ นหินแขง็ มขี นาดเป็ น 2 เท่าของโลก ดาวพฤหสั บดีมีขนาดใหญก่ วา่ โลกมาก แต่หมุนรอบตวั เองหน่ึงรอบใชเ้ วลาไม่ถึง 10 ชว่ั โมง แรงหนีศูนยก์ ลางเหวย่ี งใหด้ าวมีสณั ฐานเป็ นทรงแป้น และทาใหก้ ารหมนุ เวยี นของช้นั บรรยากาศแบ่งเป็ นแถบสีสลบั กนั แถบเหล่าน้ีเป็นเซลลก์ ารพาความร้อน (Convection cell) แถบสีออ่ นคืออากาศร้อนยกตวั แถบสีเขม้ คืออากาศเยน็ จมตวั ลง นอกจากน้นั ยงั มีจดุ แดงใหญ่ (Great Red Spot) เป็ นรูปวงรีขนาดใหญซ่ ่ึงมีอาณาบริเวณกวา้ ง 25,000 กิโลเมตร สามารถบรรจุโลกไดส้ องดวง จุดแดงใหญเ่ ป็นพายหุ มนุ ซ่ึงมีอายมุ ากกวา่ 300 ปี ปี พ.ศ.2552 ยานวอยเอเจอร์พบวา่ ดาวพฤหสั บดีมีวงแหวนเช่นเดียวกบั ดาวเสาร์ แต่มีขนาดเลก็ และบางกวา่ มาก วงแหวนเหลา่ น้ีประกอบไปดว้ ยเศษหินและฝ่ นุ ที่มีขนาดเลก็ แตไ่ ม่มีน้าแขง็ เป็ นองคป์ ระกอบ จึงทาใหว้ งแหวนไม่สวา่ งมาก(หินและฝ่ นุ สะทอ้ นแสงอาทิตยไ์ ดไ้ มด่ ีเท่ากบั น้าแขง็ ) ปัจจุบนั พบวา่ ดาวพฤหสั มีดวงจนั ทร์อยา่ งนอ้ ย 62 ดวง แตม่ ีเพียง 4ดวงที่เป็ นดวงจนั ทร์ขนาดใหญ่และมีรูปร่างเป็ นทรงกลม ไดแ้ ก่ ไอโอ ยโุ รปา แกนีมีด และคลั ลิสโต เรียกโดยรวมวา่ ดวงจนั ทร์กาลิเลียน (Galilean moons) เนื่องจากเป็ นดวงจนั ทร์ท่ีคน้ พบโดยกาลิเลโอ โครงสร้างของของดาวพฤหสั บดี

ดาวเสาร(์ Saturn) ดาวเสาร์ (Saturn) เป็ นดาวเคราะห์ท่ีรู้จกั กนั มาต้งั แต่ก่อนยคุ ประวตั ิศาสตร์ กาลิเลโอสงั เกตดาวเสาร์ดว้ ยกลอ้ งโทรทรรศน์เป็ น คร้ังแรกเม่ือปี พ.ศ. 2153 เขามองเห็นดาวเสาร์มีลกั ษณะเป็ นวงรี จนกระทง่ั ปี พ.ศ.2202 คริสเตียน ฮอยเกนส์ พบวา่ วงรีที่กาลิเลโอ เห็นน้นั คือวงแหวนของดาวเสาร์ เป็ นที่เชื่อกนั วา่ ดาวเสาร์เป็ นดาว เคราะห์เพียงดวงเดียวของระบบสุริยะที่มีวงแหวน จนกระทงั่ ตอ่ มา ไดม้ ีการส่งยานอวกาศไปคน้ พบวงแหวนบางๆ รอบดาวพฤหสั บดี ดาวยเู รนสั และดาวเนปจูน ดาวเสาร์ถูกสารวจโดยยานไพโอเนียร์11 ในปี พ.ศ.2522 ตามดว้ ยยานวอยเอเจอร์ 1 ยานวอยเอเจอร์ 2 และยานแคสสินีในปี พ.ศ.2547 บรรยากาศของดาวเสาร์เป็น ไฮโดรเจน 75% ฮีเลียม 25% ปะปนไปดว้ ยน้า มีเทน แอมโมเนีย จานวนเลก็ นอ้ ย แถบสีบนดาวเสาร์เกิดข้นึ จากการหมุนรอบตวั เองเร็วมาก จนทาใหเ้ กิดการหมุนวนของช้นั บรรยากาศที่มีอณุ หภมู ิแตกต่างกนั จึงปรากฏเป็ นแถบเขม้ และจาง สลบั กนั ไป โครงสร้างภายในของดาวเสาร์มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั ของดาวพฤหสั บดี มีแกนกลางที่เป็ นหินแขง็ ห่อหุม้ ดว้ ย แมนเทิลช้นั ในท่ีเป็นโลหะไฮโดรเจน และแมนเทิลช้นั นอกท่ีเป็ นไฮโดรเจนและฮีเลียมเหลว ดาวเสาร์มีมวลมากจึงมีแรงโนม้ ถ่วงมาก สามารถดูดจบั ดาวเคราะห์นอ้ ยและดาวหางมาเป็นบริวาร ไดเ้ ป็นจานวนมาก ปัจจุบนั มีดวงจนั ทร์ที่ถกู คน้ พบแลว้ 62 ดวง ดวงจนั ทร์ที่มีขนาดใหญท่ ี่สุดคือ ไททนั (Titan) มีขนาดใหญ่หวา่ ดาวพธุไททนั มีช้นั บรรยากาศหนาแน่นกวา่ โลก มีองคป์ ระกอบเป็ นมเี ทนท้งั สามสถานะ บนไททนั มีฝนมีเทน เมฆมีเทน และมีเทนแขง็ แกส๊ ไนโตรเจนเป็ นส่วนใหญ่ คลา้ ยคลึงกบั ช้นั บรรยากาศของโลก ดงั น้นั นกั วทิ ยาศาสตร์สนใจไททนั มากเป็นพิเศษเพราะอาจจะมีส่ิงมีชีวติ อาศยั อยู่ ดวงจนั ทร์ท่ีมีขนาดรองลงมาไดแ้ ก่ รีอา ไดโอนี ไอเอพที ุส เทธิส เอนเซลาดุส และ มิมาสส่วนใหญม่ ีพ้นื ผวิ เป็ นน้าแขง็ และมีหินผสมอยเู่ ลก็ นอ้ ย ดรู ายละเอียดเพ่มิ เติมไดท้ ่ี ดวงจนั ทร์ของดาวเสาร์วงแหวนดาวเสาร์ ดาวเสาร์อยหู่ ่างจากดวงอาทิตย์ 10 AU จึงไมถ่ กู รบกวนจากลมสุริยะจากดวงอาทิตย์ จึงไม่สูญเสียบรรยากาศช้นั นอกและมีมวลมาก มวลมากยอ่ มมีแรงโนม้ ถว่ งมาก สามารถดูดจบั ดาวหางท่ีโคจรผา่ นเขา้ มา ดาวหางมีองคป์ ระกอบเป็ นน้าแขง็จึงเปราะมาก เมื่อดาวหางเขา้ ใกลด้ าวเสาร์ แรงโนม้ ถว่ งมหาศาลจะทาใหเ้ กิดแรงไทดลั ภายในดาวหางดา้ นที่หนั เขา้ หาดาวเสาร์จะถูกแรงกระทามากกวา่ ดา้ นอยตู่ รงขา้ ม ในที่สุดดาวหางไมส่ ามารถทนทานตอ่ แรงเครียดภายในจึงแตกเป็ นเศษเลก็ เศษนอ้ ยสะสมอยใู่ นวงโคจรรอบดาวเสาร์และกลายเป็ นวงแหวนในที่สุด ดว้ ยเหตุน้ีวงแหวนของดาวเสาร์จึงประกอบดว้ ยอนุภาคจานวนมหาศาลซ่ึงมีวงโคจรอิสระ มีขนาดต้งั แตเ่ ซนตเิ มตรไปจนหลายร้อยเมตร ส่วนใหญ่ประกอบดว้ ยน้าแขง็ ปะปนอยกู่ บั เศษหินเคลือบน้าแขง็ วงแหวนของดาวเสาร์บางมาก แมจ้ ะมีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางยาว

ถึง 250,000 กิโลเมตร แตม่ ีความหนาไมถ่ ึง 1.5 กิโลเมตร วงแหวนแต่ละช้นั มีช่ือเรียกตามอกั ษรภาษาองั กฤษ เช่น วงแหวนสวา่ ง (A และ B) และวงสลวั (C) ช่องระหวา่ งวงแหวน A และ B เรียกวา่ ช่องแคสสินี (Cassini division ) โครงสร้างของของดาวเสาร์

ดาวยเู รนสั (Uranus) ยเู รนสั (Uranus) ถูกคน้ พบคร้ังแรกโดย วลิ เล่ียม เฮอส์เชล ในปี พ.ศ.2534 สองร้อยปี ตอ่ มา ยานวอยเอเจอร์ 2 ทาการสารวจดาวยเู รนสั ในปี พ.ศ. 2529 พบวา่ บรรยากาศของดาวยเู รนสั ประกอบดว้ ยไฮโดรเจน 83%, ฮีเลียม 15% และมีเทน 2% ดาวยเู รนสั มีสีฟ้าเนื่องจากแก๊สมีเทนดูดกลืนสีแดงและสะทอ้ น สีน้าเงิน บรรยากาศมีลมพดั แรงมาก ลึกลงไปท่ีแก่นของดาวห่อหุม้ ดว้ ย โลหะไฮโดรเจนเหลว ขณะที่ดาวเคราะห์ส่วนใหญม่ แี กนหมนุ รอบตวั เอง เกือบต้งั ฉากกบั ระนาบสุริยวถิ ี แต่แกนของดาวยเู รนสั วางตวั เกือบขนานกบั สุ ริยวถิ ี ดงั น้นั อณุ หภมู ิบริเวณข้วั ดาวจึงสูงกวา่ บริเวณเสน้ ศูนยส์ ูตร ดาวยเู รนสั มีวงแหวนเช่นเดียวกบั ดาวเคราะห์ช้นั นอกดวงอื่นๆ วงแหวนของดาวยเู รนสั มีความสวา่ งไม่มาก เน่ืองจากประกอบดว้ ยอนุภาคขนาดเลก็ มีขนาดต้งั แตฝ่ ่ นุ ผงจนถึง 10 เมตร ดาวยเู รนสั มีดวงจนั ทร์บริวารอยา่ งนอ้ ย 27 ดวง ดวงจนั ทร์ขนาดใหญท่ ี่มีรูปร่างเป็ นทรงกลม ไดแ้ ก่ มิรันดา แอเรียล อมั เบรียล ไททาเนีย และ โอเบรอน โครงสร้างของดาวยเู รนสั

ดาวเนปจนู (Neptune) ดาวเนปจูน (Neptune) ถกู คน้ พบเนื่องจากนกั ดาราศาสตร์พบวา่ ตาแหน่งของ ดาวยเู รนสั ในวงโคจรรอบดวงอาทิตยไ์ มไ่ ดเ้ ป็ นไปตามกฏของนิวตนั จึง ต้งั สมมติฐานวา่ จะตอ้ งมีดาวเคราะห์อีกดวงหน่ึงท่ีอยไู่ กลถดั ออกไปมา รบกวนวงโคจรของดาวยเู รนสั ในท่ีสุดดาวเนปจนู ก็ถูกคน้ พบโดย โจฮานน์ กลั เล ในปี พ.ศ.2389 ตอ่ มาในปี พ.ศ.2532 ยานวอยเอเจอร์ 2 พบวา่ ดาว เนปจูนมีองคป์ ระกอบคลา้ ยคลึงกบั ดาวยเู รนสั คือ มีบรรยากาศเป็นไฮโดรเจนและฮีเลียม และมีมีเทนเจือปนอยจู่ ึงมีสีน้าเงิน ดาวเนปจูนมีขนาดเลก็ กวา่ ดาวยเู รนสั เลก็ นอ้ ย แต่มีความหนาแน่นมากกวา่โดยที่แก่นของดาวเนปจูนเป็ นของแขง็ มขี นาดใกลเ้ คียงกบั โลกของเรา ในช่วงเวลาที่ยานวอยเอเจอร์ 2 เขา้ ใกลด้ าวเนปจูนไดถ้ า่ ยภาพ จุดมืดใหญ่ (Great dark spot) ทางซีกใตข้ องดาวมีขนาดใหญเ่ กือบคร่ึงหน่ึงของจดุ แดงใหญบ่ นดาวพฤหสั บดี(ประมาณเท่ากบั เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของโลก) จดุ มืดใหญน่ ้ีเป็นพายหุ มนุ เช่นเดียวกบั จุดแดงใหญบ่ นดาวพฤหสั บดี มีกระแสลมพดั แรงท่ีสุดในระบบสุริยะ ความเร็วลม 300 เมตร/วนิ าที หรือ 1,080 กิโลเมตรตอ่ ชว่ั โมง ดาวเนปจูนมีวงแหวน 4 วง แต่ละวงมีความสวา่ งไมม่ ากนกั เพราะประกอบดว้ ยอนุภาคท่ีเป็ นผงฝ่ นุ ขนาดเลก็ จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เช่นเดียวกบั วงแหวนของดาวพฤหสั บดีและดาวยเู รนสั ดาวเนปจูนมีดวงจนั ทร์บริวารท่ีคน้ พบแลว้13 ดวง ดวงจนั ทร์ดวงใหญท่ ่ีสุดช่ือ \"ทายตนั \" (Triton) ทายตนั เคลื่อนท่ีในวงโคจรโดยมีทิศทางสวนกบั การหมุนรอบตวั เองของดาวเนปจนู ซ่ึงอาจเป็ นเพราะถกู แรงโนม้ ถว่ งของดาวเนปจูนจบั เป็นบริวารภายหลงั จากการก่อตวั ของระบบสุริยะ นกัดาราศาสตร์พยากรณ์วา่ ทายตนั จะโคจรเขา้ ใกลด้ าวเนปจูนเร่ือยๆ และจะพงุ่ เขา้ ชนดาวเนปจูนในท่ีสุด (อาจใชเ้ วลาเกือบ100 ลา้ นปี ) โครงสร้างของดาวเนปจนู

บรรณานกุ รมนายกรกมล ศรีบุญเรือง.ระบบสุริยะ.สถาบนั วิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ.ระบบสุริยะ.สถาบนั วจิ ยัดาราศาสตร์แห่งชาติ,2558http://www.lesa.biz/



\"ปรัชญาท่ีเขียนอยใู่ นหนงั สือเล่มยงิ่ ใหญ่ซ่ึงวางอยเู่ บ้ืองหนา้ เราตลอดเวลา---ขา้ พเจา้ หมายถึงจกั รวาล--- ทวา่ เราจะไม่สามารถเขา้ ใจถา้ เราไม่เรียนภาษาเสียก่อนและจบัความหมายสัญลกั ษณ์ท่ีใชเ้ ขียน\" กาลิเลโอ กาลิเลอี นกั ฟิ สิกส์และนกั ดาราศาสตร์ชาวอิตาลี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook