บทท่ี 1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การสมั มนา
ความสาคัญของการสัมมนา ความเจริญก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งผลต่อพัฒนาการทาง สงั คม การศกึ ษา การเมอื ง และเศรษฐกจิ ของประเทศ สงั คมจงึ เป็นสงั คมท่เี ตม็ ไปด้วยข้อมูล ข่าวสาร และเป็นยุคท่เี รียกว่า โลกาภิวตั น์ ซ่ึงหมายความว่า เป็นโลกของการติดต่อส่อื สารท่ไี ร้พรมแดน เพราะเทคโนโลยีการส่อื สารจะมีความทนั สมยั ก้าวหน้า สามารถตดิ ต่อกนั ได้ อย่างรวดเรว็ มคี วามคล่องตวั สงู การจดั สมั มนา ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงในการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร หรือ แนวทางความรู้ ความคิด วธิ กี ารใหม่ ๆ เพ่ือเป็นการพัฒนาบคุ ลากร พัฒนา งาน และทรัพยากรอ่นื ๆ ให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ
ความสาคัญของการสัมมนา (ต่อ) การสมั มนา หรือบางทกี เ็ รียกว่า การประชมุ สมั มนา เป็นรปู แบบหน่ึงของการ ใช้เทคนิคทางการบริหาร เพ่ือเป็นหนทางท่ไี ด้มาซ่ึง แนวคดิ แนวทาง ความรู้ และสร้างสรรคป์ ระสบการณโ์ ดยอาศัยการประชุม พบปะ พดู คุย บรรยาย อภปิ ราย ระดมสมอง รวมท้งั ฝึกปฏบิ ตั ิ โดยมวี ิทยากร หรือผู้เช่ียวชาญ เป็น ผู้นาเสนอ รวมถึงผู้เข้าร่วมสมั มนา ต่างกม็ โี อกาสเสนอแนวคดิ แลกเปล่ียน ประสบการณ์ เพ่ือให้ได้ข้อสรปุ ข้อมูลสาคัญท่สี ามารถนาไปใช้ในการพัฒนา องคก์ รให้บรรลุวตั ถุประสงค์ สถาบันการศกึ ษา เหน็ คุณค่าของการสมั มนา จึงนาวธิ กี ารสมั มนามาใช้ใน การเรียน การสอน โดยมุ่งหวงั ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง การร้จู กั ศึกษาค้นคว้า การคิด-วิเคราะห์ กล้าแสดงออก อย่างมีหลักการและเหตผุ ล
ความหมายของคาว่า สัมมนา หมายถึง การท่ีบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงท่ีมีพ้ืนฐานความรู้ ประสบการณ์ สภาพปัญหาท่ีคล้ายคลึงกนั เข้าร่วมประชุม โดยการนาเสนอแนวทางความรู้ – ความคิด – ประสบการณ์ การปฏิบัติของผู้เช่ียวชาญหรือนักวิชาการ เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้ร่วมแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และประสบการณ์ใน เร่ืองท่กี าหนด คาว่าสมั มนามีรากศัพทม์ าจากภาษาบาลี ส̊ + มน หรือ ส̊ + มนา โดย นามาสนธิกนั หมายถึง การเข้าร่วมเพ่ือแสดงความคิดเหน็ ให้ข้อเสนอแนะ ในอนั ท่ีจะบรรลุข้อตกลงร่วมกนั หรือการหาข้อยุติร่วมกนั หรืออาจแปลส้ัน ๆ ว่า การร่วมใจกนั หรือคิดร่วมกนั
สัมมนา แบง่ ออกเป็ น 2 ลักษณะ 1.การสมั มนาทีใ่ ชใ้ นวงการธุรกิจ เป็นกจิ กรรมท่จี ัดข้ึน โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะเพ่อื แก้ไขปัญหา งาน ผู้เข้าร่วมสมั มนาจะเป็นกลุ่มผู้ทางานในลักษณะท่คี ล้ายคลึงกนั มีความรู้หรือประสบการณ์ใกล้เคียงกันมาร่วมเสนอปัญหา โดย อาศัยแนวความรู้ และประสบการณ์ของผู้เช่ียวชาญเพ่ือให้ได้ข้อมูล หรือหลักการสาคัญ สามารถนาไปพัฒนางานท่ที าอยู่
สัมมนา แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ (ต่อ) 2.การสมั มนาทีใ่ ชใ้ นการเรียน การสอน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งศึกษาปัญหาวิชาชีพเฉพาะ โดยการศึกษาค้นคว้า แสวงหาข้อมูล การเรียนรู้ โดยวิธกี ารต่าง ๆ รวมถึง การฝึกทกั ษะการคิด วิเคราะห์ปัญหา การเสนอแนวทางการแก้ไข การแสดงออกของความ คิดเห็น ท่ีแสดงออกโดยการพูด สนทนา อภิปราย แลกเปล่ียนความ คิดเหน็ ท่เี ก่ียวกับเน้ือหาวิชาน้ัน ๆ เพ่ือให้ได้ข้อสรุป โดยมีผู้เช่ียวชาญ หรือผู้ทรงคุณวุฒิเป็ นผู้นาเสนอหรือให้คาแนะนา ปรึกษาภายใต้ การ วางแผน การเสนอแนะและการมสี ่วนร่วมของผู้สอน
ประวัติของการสัมมนา กระบวนการหรือวิธีท่ใี ช้ในการจัดสัมมนา มีมาแต่ดึกดาบรรพ์โดยใน คร้ังพุทธกาลพระพุทธองค์ได้ใช้กระบวนการต่าง ๆ ของการจัดสัมมนา เช่น การเสด็จโปรดปัจจวัคคีย์ท้ังห้ า หรือการประชุมสังคายน า พระไตรปิ ฎกสมัยต่าง ๆ พระองค์ทรงใช้กระบวนการและวิธีการสัมมนา ท้งั ส้นิ ซ่ึงวธิ กี ารทางพระพุทธศสนาน้ัน เรียกว่า สมั มนั ตนา หมายถึง การ แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ร่วมกนั Seminar มาจาก Seminarium ซ่ึงมีความหมายว่า Seed-Bed (แปลงตกกล้า) ตามความหมาย Seminar โดยอรรถแล้ว หมายถึง ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี มุ่ ง ส อ น แ ล ะ ส ร้ า ง นั ก บ ว ช ( พ ร ะ ) จุดเร่ิมต้นของการสมั มนา เกดิ ข้ึนในเยอรมัน ท่ี University of Halle (ต้งั ข้นึ เม่ือ ค.ศ.1694)
ความมงุ่ หมายของการสัมมนา 1.อบรม ฝึกฝน ช้ีแจง แนะนา ส่งั สอน ปลูกฝงั ทศั นคติและให้คาปรึกษา ใน เร่ืองท่เี ก่ยี วข้อง 2.พิจารณา สารวจ ตรวจสอบปัญหา หรือประเดน็ ต่าง ๆ ท่หี ยิบยกข้นึ มา 3.เสนอสาระความรู้ น่าสนใจท่ที นั สมัย และเหมาะสมกบั สถานการณ์ 4.แสวงหาข้อตกลง ด้วยวธิ กี ารอภิปราย แลกเปล่ียนความคิดเหน็ อย่างเสรี 5.การตดั สนิ ใจหรือกาหนดนโยบาย หรือแนวทางสาหรับนาไปปฏบิ ัติ 6.ให้ได้ผลสรปุ ของการนาเสนอจากหัวข้อ หรือการวิจัย
ประโยชน์ของการสัมมนา 1.ผู้จัดสมั มนาหรือผู้เรียนสามารถจัดงานสมั มนาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2.ผู้เข้าร่วมสมั มนาได้รับความรู้ แนวคิดจากการสมั มนา สามารถนาไปปรับ ใช้กบั การทางาน และชีวิตส่วนตนได้ 3.ผลจากการท่ผี ู้เข้าร่วมสมั มนาได้รับความรู้ ความสามารถเพ่ิมข้นึ จากการ สมั มนา จะช่วยทาให้วธิ กี ารทางานมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ 4.เป็นการพัฒนาผู้ปฏบิ ตั ิงานให้มีความพร้อมอยู่เสมอ 5.เกดิ ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ 6.สามารถสร้างความเข้าใจอนั ดีต่อเพ่ือนร่วมงาน มีมนุษย์สมั พันธ์ 7.การนาผลจากการสมั มนามาพัฒนาองค์กร และพัฒนาตนเอง
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: