1 หน่วยที่ 7 การเลยี้ งสัตว์ หน่วยท่ี 7 การเลยี้ งสัตว์ การเล้ียงสตั วเ์ ป็นงานเกษตรที่เก่ียวขอ้ งกบั การเพาะพนั ธุ์ การเล้ียงดู และการจดั การผลผลิตท่ีไดจ้ าก สตั ว์ เพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือเพอื่ การจาหน่าย ความเป็นมาของการเล้ียงสตั ว์ มนุษยด์ ารงชีวติ อยไู่ ดด้ ว้ ยการพ่งึ พาอาศยั สตั วม์ าต้งั แต่อดีต ท้งั ในการใชเ้ ป็นอาหารและใชแ้ รงงานใน การทางาน โดยเฉพาะการนามาเป็นอาหารน้นั ตอ้ งมีการไล่ตอ้ นฝงู สตั วม์ ากกั ขงั ไวเ้ พอื่ เกบ็ ไวร้ ับประทานนาน ๆ มนุษยจ์ ึงเห็นความสาคญั ของการเล้ียงสตั ว์ จนกระทง่ั พฒั นาการเล้ียงสตั ว์ ใหม้ ีประสิทธิภาพและไดผ้ ลผลิตท่ีมีคุณภาพ ความสาคญั ของการเลยี้ งสัตว์ การเล้ียงสตั วม์ ีความสาคญั ต่อการดารงชีวิต เศรษฐกิจและสงั คมของมนุษย์ ดงั น้ี 1. การเล้ียงสตั วใ์ หเ้ ป็นแหล่งอาหาร ยารักษาโรค เส้ือผา้ และเครื่องแต่งกาย เช่น ววั ไก่ ปลา นิยมไวเ้ ล้ียงไว้ บริโภคเน้ือ เพราะเน้ือสตั วเ์ ป็นแหล่งอาหารที่มีโปรตีนสูง ช่วยใหร้ ่างกายเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ 2. การเล้ียงสตั วเ์ ป็นกิจกรรมท่ีสร้างความเพลิดเพลิน และปลูกฝังความมีเมตตากรุณาต่อสตั ว์ 3. การเล้ียงสตั วเ์ พอ่ื ส่งเสริมการท่องเท่ียว 4. การเล้ียงสตั วเ์ พอื่ นาผลผลิตไปจาหน่ายในประเทศและเป็นสินคา้ ส่งออกต่างประเทศสร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ ตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติ 5. การเล้ียงสตั วก์ ่อใหเ้ กิดอาชีพหลากหลาย จึงช่วยลดอตั ราการวา่ งงานได้
2 หน่วยท่ี 7 การเลยี้ งสัตว์ ประเภทของสัตว์ท่นี ิยมเลยี้ งในประเทศไทย สตั วท์ ่ีนิยมเล้ียงในประเทศไทยเพื่อจาหน่ายเน้ือ ไข่ และผลิตภณั ฑแ์ ปรรูป มีท้งั สตั วป์ ี ก สตั วบ์ ก สตั วค์ ร่ึงบกคร่ึงน้า และสตั วน์ ้า ดงั น้ี 1. สตั วป์ ี ก เช่น ไก่ เป็ด นกกระทา นกกระจอกเทศ ห่าน เป็นตน้ 2. สตั วบ์ ก เช่น โคนม โคเน้ือ กระบือ แพะ แกะ สุกร เป็นตน้ 3. สตั วค์ ร่ึงบกคร่ึงน้า เช่น กบ จระเข้ ตะพาบน้า เต่า เป็นตน้ 4. สตั วน์ ้า เช่น ปลานิล ปลาทบั ทิม ปลาช่อน ปลาดุก กงุ้ ปูมา้ ปูทะเล หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยนางรม เป็นตน้ ข้นั ตอนการเลยี้ งสัตว์เพื่อจาหน่าย การเล้ียงสตั วใ์ หเ้ จริญเติบโตไดด้ ี ไม่เป็นโรค และใหผ้ ลผลิตที่มีคุณภาพ คุม้ คา่ กบั การลงทุน มีข้นั ตอน ดงั น้ี 1. สารวจความตอ้ งการของผเู้ ล้ียง 2. ศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกบั สตั วท์ ี่จะเล้ียง 3. การวางแผนการเล้ียงสตั ว์ 4. เตรียมสถานท่ี อุปกรณ์ และเครื่องมือในการเล้ียงสตั ว์ 5. การเตรียมพนั ธุ์สตั ว์ 6. การเล้ียงและดูแลรักษาสตั ว์ 7. การจดั การผลิตผล
3 หน่วยที่ 7 การเลยี้ งสัตว์
4 หน่วยท่ี 7 การเลยี้ งสัตว์ หลกั การจัดการเลยี้ งสัตว์อนิ ทรีย์ เป็นการจดั การเล้ียงสตั วท์ ่ีปฏิบตั ิตามหลกั การเกษตรอินทรียส์ ากล ไม่แยกกิจกรรมการปลูกพืช อาหารสตั วแ์ ละการเล้ียงสตั วอ์ อกจากกนั สตั วเ์ ป็นส่วนหน่ึงของระบบนิเวศน์เกษตรในฟาร์ม เป็นระบบการ จดั การฟาร์มที่เก้ือกลู กนั เริ่มจากดินที่อุดมสมบูรณ์ ปราศจากการใชส้ ารเคมีใดๆ ที่ทาลายดินและสิ่งมีชีวิต ในดิน ปลูกพชื โดยไม่ใชส้ ารเคมีกาจดั ศตั รูพืช ดงั น้นั การผลิตปศุสตั วอ์ ินทรียม์ ีหลกั การจดั การและเทคนิคท่ี สาคญั ดงั น้ี 1. เป็ นระบบการผลติ ปศุสัตว์ทคี่ านึงถงึ ความสมดุลของ ดิน พืช สตั ว์ ใชห้ ลกั การของความหลากหลายทาง ชีวภาพ พืช สตั ว์ จุลินทรีย์ และระบบนิเวศน์ สิ่งแวดลอ้ มท่ีเก้ือกลู กนั เช่นการปลูกพชื เล้ียงสตั ว์ พืชและเศษ เหลือเป็นอาหารสตั ว์ มูลสตั วเ์ ป็นอาหารของพืช และจุลินทรีย์ เป็นตน้ มีการจดั การระบบของเสียจากฟาร์ม เช่น ปลูกพืชท่ีใชเ้ ป็นอาหารสัตวโ์ ดยใชม้ ูลสตั วใ์ นฟาร์มปรับปรุงดิน หรือจดั การหมุนเวียนบาบดั น้าเสียจาก ฟาร์มนามาใชก้ บั พืช 2. หลกี เลย่ี งการใช้สารเคมแี ละสารสังเคราะห์ใดๆและอาหารสัตว์ทมี่ าจากการตดั ต่อพนั ธุกรรมทมี่ ผี ลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม 3. การจดั การฟาร์มทส่ี มดุลระหว่างการปลกู พืชและการเลยี้ งสัตว์ ใหเ้ กิดความสมดุลระหวา่ งจานวนสตั ว์ และอาหารสตั วใ์ นฟาร์ม 4. เน้นการเลือกใช้พนั ธ์ุสัตว์ พนั ธ์ุพืชอาหารสัตว์ทเี่ หมาะสม กบั ทรัพยากร อากาศ สิ่งแวดล้อมใน ท้องถน่ิ เช่น ไก่ เป็ด โค กระบือ แพะพ้นื เมือง และพนั ธุส์ ตั วท์ ่ีพฒั นาคดั เลือกสายพนั ธุใ์ นประเทศ เน่ืองจาก ทนทานต่อโรค และกินอาหารสตั วใ์ นทอ้ งถิ่นไดด้ ี โค
5 หน่วยที่ 7 การเลยี้ งสัตว์ กระบือ (ควาย) 5. เน้นการจดั การเลยี้ งสัตว์ให้อยู่สุขสบายตามธรรมชาตแิ ละพฤตกิ รรมของสัตว์ เพอื่ ส่งเสริมสุขภาพ ให้ แขง็ แรงมีภูมิตา้ นทานโรคโดยธรรมชาติ โดยดาเนินการ คอื 5.1 การจดั ระบบสวสั ดิภาพสัตว์ จดั สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม ความหนาแน่น การระบายอากาศ เช่น เล้ียงสตั วแ์ บบปล่อย ใหส้ ตั วไ์ ดส้ ัมผสั ดิน แสงแดด มีคอก โรงเรือนใหค้ ุม้ แดด ฝน และความร้อนได้ และมี พ้นื ที่ใหส้ ตั วอ์ อกกาลงั ลกั ษณะการจดั การคอกโรงเรือนเป็นไปตามความเหมาะสม โดยการใชภ้ ูมิปัญญา ทอ้ งถิ่น สอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมการปฏิบตั ิท่ีดีต่อสตั ว์ ทาใหส้ ตั วไ์ ม่เครียด มีภูมิคุม้ กนั โรคตามธรรมชาติ 5.2 การจดั การอาหารสัตว์ โดยการจดั สดั ส่วนอาหารที่เหมาะสม พจิ ารณาปลูกพชื อาหารสัตวท์ างเลือกที่ ปลูกง่ายในทอ้ งถ่ิน มีคุณคา่ ทางอาหารสูง เช่น ธญั พชื พชื สกดั น้ามนั ท่ีไม่ใชส้ ารเคมี ถวั่ ต่างๆ ใบมนั สาปะหลงั ใบกระถิน สาหร่าย การเบียร์ ส่าเหลา้ การหมกั ชีวภาพดว้ ยจุลินทรีย์ การปลูกตน้ กลว้ ย มี ประโยชนท์ ุกส่วนเป็นท้งั อาหารและยา การเล้ียงสุกรและไก่ในแปลงหญา้ หาพืชทดแทนการใชอ้ าหาร สาเร็จรูปจากโรงงานเน่ืองจากขา้ วโพด กากถว่ั เหลืองนาเขา้ มาจากการตดั ต่อพนั ธุกรรม 6. มีการจัดการป้องกนั โรค เพือ่ ลดความเสี่ยงต่อการติดโรค ไดแ้ ก่ ความสะอาด สุขอนามยั ของอุปกรณ์และ บริเวณเล้ียงสตั ว์ การควบคุมยานพาหนะและคนเขา้ ออกฟาร์ม การกกั สตั วใ์ หม่เขา้ ฟาร์ม หรือเล้ียงสตั วใ์ นท่ี ห่างไกลจากชุมชน เป็นตน้
6 หน่วยที่ 7 การเลยี้ งสัตว์ เลยี้ งไก่ไข่อนิ ทรีย์ แบบปล่อยธรรมชาติ 7. การใช้สมุนไพร นาหมกั ชีวภาพท่ีมาจากสารธรรมชาติ เป็นการป้องกนั โรคและเสริมสุขภาพ เช่น การใช้ ส่วนผสมของสมุนไพรผง ฟ้าทะลายโจร ไพล ขมิ้นชนั ในอตั รา 0.1-0.2 % ในอาหารไก่ หรือ สุกร สามารถ ทดแทนการใชส้ ารปฏิชีวนะเร่งการเจริญเติบโต และป้องกนั โรคทางเดินหายใจและทางเดินอาหารในสตั ว์ ได้ นอกจากน้ีมีภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นการใชส้ มุนไพรป้องกนั และรักษาโรคสตั วม์ ากมายหลายตารับ เช่น การ ถ่ายพยาธิดว้ ยมะเกลือ หญา้ ยาง เป็นตน้ 8. เน้นการพงึ่ พาตนเองใช้ปัจจยั การผลติ ภายในให้มากทส่ี ุด เช่น พนั ธุ์สัตว์ อาหารสตั วท์ ่ีผลิตไดเ้ อง หรือ เครือข่ายที่อยใู่ กล้ การใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ินเพ่ือลดตน้ ทุนการผลิต เรียนรู้การทาน้าหมกั ชีวภาพ เพอ่ื ใชผ้ สม น้าใหส้ ตั วก์ ิน และทาความสะอาดคอก กาจดั กล่ินในมูลสตั ว์ ไก่ดา
7 หน่วยท่ี 7 การเลยี้ งสัตว์ 9. เน้นส่งเสริมเศรษฐกจิ ท้องถิน่ ของผลติ และกระตุ้นจิตสานึกของผ้บู ริโภค การผลิตเพ่อื การบริโภคตลาด ในชุมชนและเครือข่ายชุมชนใกลเ้ คียง เป็นการผลิตในขนาดเลก็ ท่ีพอเหมาะ สนบั สนุนโรงฆ่าขนาดเลก็ ใน ชุมชนท่ีถูกสุขอนามยั ทาให้ ลดการขนส่ง การตลาดและการกระจายสินคา้ ที่ตอ้ งใชพ้ ลงั งานสูง เม่ือผลิต ไดม้ ากกส็ ามารถผลิตขายเป็นรายได้ เป็นการลดปัญหาความยากจนในชนบท 10. มมี าตรฐานปศุสัตว์อนิ ทรีย์เป็ นกรอบนาในการปฏบิ ตั ิ โดยผลิตตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภคแต่ละ ตลาด ไดแ้ ก่ตลาดระดบั ชุมชน ระดบั ประเทศ และระดบั ประเทศคู่คา้ 11. มกี ารบนั ทกึ รายละเอยี ดการปฏิบัตงิ านในฟาร์มทล่ี ะเอยี ด รวมท้งั แผนผงั ฟาร์มโรงเรือน แหล่งน้า เพอื่ รอ การตรวจรับรอง 12. ป้องกนั การปนเปื้ อนสินค้า เน้ือ นม ไข่ อินทรียท์ ี่ออกสู่ตลาด ทุกข้นั ตอนตลอดสายการผลิตจนถึง ผบู้ ริโภค จะตอ้ งป้องกนั การปนเป้ื อนกบั สินคา้ ท่ีผลิตในระบบปกติ เช่น แยกการผลิตอาหารสตั ว์ การวาง วตั ถุดิบ การผลิต การแปรรูป การขนส่ง และการจดั วางจาหน่าย เป็นตน้ ไข่ไก่อนิ ทรีย์ เลยี้ งหมูแบบปล่อยทุ่ง
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: