Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SoftPLC User Manual 2013(ISEC)

SoftPLC User Manual 2013(ISEC)

Published by thanawit, 2019-07-08 23:56:18

Description: SoftPLC User Manual 2013(ISEC)

Search

Read the Text Version

ตอมาจะเขียน code ใน transition แรกโดย กดคลิกขวาท่ี Transition และเลือก Code (เลือกไดเฉพาะ ภาษาLadder ใน transition) จะเขยี น code การสงผานของ transition โดย transition จะทํางานเพ่อื สงผานสู Step โดยใช TRN coil . หนา 51 จาก 77 คมู ือการใชงานโปรแกรม SoftPLC

จากนน้ั เขยี น Code ท่ี step 1 และเขยี น Code ท่ี transition 2. คมู อื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 52 จาก 77

TRN coil เปนที่สาํ คัญของการเขยี น Grafcet Level เพื่อใชเ ปนเงือ่ นไขในการทํางานใน Step ถดั ไป เมือ่ สิน้ สดุ ในการเขยี น Grafcet level คูมือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 53 จาก 77

เมอื่ RUN mode จะพบไดวา Step ที่กําลังทํางานน้ันมีสีแดงเพ่ือบอกสถานะของ Step นั้นกําลังทํางาน และ สามารถกดคลิกขวาท่ี Transition หรอื Step เพ่ือดสู ถานะการทาํ งานทต่ี องการได คูม อื การใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 54 จาก 77

การเขียนโปรแกรมแบบ Script SoftPLC สามารถเขียนโดยใชภาษา VBScript ซึ่ง VBScript สามารถใชใน VBScript Phases ใชในขบวนการ และการกําหนดฟงกช ันใน Area Blocks และใน Configurable Blocks ดวยคําสั่ง BLK ผูใชสามารถกําหนดขบวนการและฟงกชันท่ีจะถูก Executed (กําหนดกอนใน Blocks Script area) ดว ยคาํ สัง่ FUN การเลอื กฟงกช นั จะถกู Executed (กาํ หนดกอนหนาใน Blocks Script area). คูม ือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 55 จาก 77

การเขียนโปรแกรมแบบ Logic Function Blocks ดวยภาษากราฟกของ Logic blocks functions ผูใชสามารถที่จะทําใหโปรแกรมทําตามจุดประสงคไดอยาง งายดาย โดยเลือกสวนที่ตองการและตอระหวาง Components ที่ตางกัน จากน้ันผูใชก็จะสามารถเห็น โครงสรา งของโปรแกรมได ผูใชจะมีบาง Component ใหใชเหมือนกับ Ladder (อาทิเชน inputs, outputs, memorys, counters, timers และ data stack elements) Logic Blocks สามารถถูกแบงแยกออกมาจากกลุม Block ท่ีแตกตาง กัน เชน Entrance Blocks, Action Blocks, Logical Operations และ Labels ทั้งน้ีจะไดอธิบาย Block แตละ อัน ดว ยลกั ษณะของ Components ตอ ไปดงั นี้ คมู ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 56 จาก 77

Inputs Blocks : เปนคาที่เปล่ียนแปลงได ที่จะให ผลบูลีน (True-1 หรือ False-0) โดยจะแยกตามเงื่อนไข เปนชนิดตา งๆ คือ Inputs. โดยจะใหผลของ Digital Input Outputs. โดยจะใหผลของ Digital Output Memorys. โดยจะใหผ ลของ Memory Counters. จะวเิ คราะหการเปรยี บเทยี บกบั State ของตวั นบั ดวยคาเขียนในโปรแกรม Timers. โดยจะใหผลของ Timer Data Stack. จะวิเคราะหเงื่อนไขการโปรแกรมดวยสวนของ data stack ท่ีเลือกใสเงื่อนไขจะเปน (=,>, <, >=, <=, <>) Keys. โดยจะใหผลของ ปุมทเี่ รากดไป (กดเปน 1, ไมก ดเปน 0) Action Blocks : จะเปนตวั แปรของการอาน/เขียน สามารถที่จะ activate/disable หรือแกไขสวนประกอบ อื่นของ PLC ได เชน เดียวกับใหผ ล Output ของเง่อื นไขทเ่ี รากําหนด โดยชนิดตาง คอื Output Set/Reset. ผใู ชสามารถกําหนดสถานะของ Block Output วา จะเปน Set หรือ Reset Memory Set/Reset. ผใู ชสามารถกําหนดสถานะของ Block Memory วา จะเปน Set หรอื Reset Counter Set/Reset. ผูใชสามารถกําหนดสถานะของ Block Memory วาจะเปน Set (add) หรือ Reset (subtract) Reset Counter. ต้ังคา เปน 0 กบั counter ท่ถี ูกเลือก Timer Set/Reset. ผใู ชสามารถกําหนดสถานะของ Block Timer วาจะเปน Set หรอื Reset Data Stack. สามารถทําสิ่งท่ีไดรับมอบหมายไดดวยการเลือก Element ของ Data Stack. สําหรับการเรียก บาง Element ของ Stack จะถูกเขียนอยูใน bracket ([D1], [D20], และอ่ืนๆ). แถวหน่ึงสามาถถูกเขียนดวย Syntax ทเ่ี หมือนกนั ที่ VbScript Script Command. โดยจะ Execute VbScript 1 แถว. และยอมสามารถถูกเรียก script library function ทง้ั หมดของ PLC ได Block Command. โดยจะ Execute VbScript 1 ขบวนการกําหนดท่ี Blocks area Logical Operations Blocks: สามารถทจ่ี ะใช logical operations AND, OR และ NOT The Labels: ผูใชส ามารถท่จี ะเขียนคอมเมนเพ่อื อธิบายตวั โปรแกรมใหด ีย่งิ ขนึ้ วธิ ีการเขียนเฟส Logic Blocks Function ผใู ชสามารถเลือกจากแถบเมนู สําหรบั คาํ สง่ั ของ Logic Blocks Function Phase New Logic Block Function Phase คูม ือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 57 จาก 77

เฟสชนิดใหม จะถูกเพิ่มดวยการเขียนโปรแกรมดวยภาษากราฟก เพื่อเลือก Element หนึ่ง ผูใชตองคลิกบน Program controls tree เพือ่ เลอื กการควบคมุ ทีต่ อ งการ: เม่อื Pointer คลิกซายที่ Block ทต่ี อ งการใชงานแลว เล่ือน Pointer มายงั พนื้ ท่ใี ชในการเขียนโปรแกรม จะมี Icon ในลักษณะท่ีผูใชคลิกเลือกตอนแรกไปดวย และเมื่อคุณคลิกซายอีกคร้ังจะเปนการวาง Element นั้นลง ในพืน้ ทีท่ ีต่ อ งการเขยี นโปรแกรม แลว สามารถเลอื ก Block เทาทต่ี อ งการมาใชใ นการเขียนโปรแกรม 3เพื่อให3การเช่ือมตอกับบลอ็ ก 1. กดเมาสขวาบน Block ท่ีตองการจะตอ จะมีเมนูปรากฏขึ้นมาใหเลือก มันจะโชวบล็อกที่สามารถจะ ตอ ไดหรือไมนน้ั เอง (ในกรณีของ inputs blocks มนั ไมมที างเปน ไปไดท่ีจะข้ึนวาตอได เพราะ inputs blocks ทาํ หนา ทเี่ ปนคา ตัวแปร input ท่ีเอาไวตอขาเขา น้ันเอง) และสามารถตอ ได (1 หรอื 2) 2. เลอื กตัวตวั ท่ีจะตอ mouse pointer จะเปล่ียนเปน ‘wire’ โหมด 3. ตอนน้ีตองเลือกบล็อกท่ีตองการตอ เมื่อคลิกเมาสไปที่บล็อกท่ีเลือก บล็อกก็จะเชื่อมตอกันโดยจะ ปรากฎขนึ้ เปน เสนสีนํ้าเงนิ คมู ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 58 จาก 77

1) 2) 3.a) 3.b) 1 Block สามารถตอเขาไดแคทางเดียวเทานั้น อยางไรก็ตาม สามารถที่จะตอไดหลายตัวใน ขา output ตามรปู ตวั อยา ง: คมู อื การใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 59 จาก 77

โดยการกระทําแบบ Logic ผูใชจะมี blocks ใหใชงานดวยกัน 3 Block คือ AND, OR และ NOT อันแรกและ อันท่ีสอง จะใชในการตอ สอง block เขาหากันและ output ท่ีไดเปนลําดับตามเง่ือนไขกระทําแบบ logic นั้นๆ คือ 'AND' และ ‘OR’ สําหรับ block ท่ีสามท่ีดานเขาจะใหเขาไดแคทางเดียวและ output ของมันจะ กลบั เครอ่ื งหมายกบั ดานเขา ผใู ชสามารถตออนุกรม Logic Block ไดมากเทา ท่ตี องการ คูมือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 60 จาก 77

การตอ Logical Block สามารถตอในลักษณะปอนกลับไดดวย ทั้งน้ี Input อันใดอันนึงสามารถตอปอนกลับ ดว ยสญั ญาณ Output กท็ ําได. คูมือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 61 จาก 77

TUTORIALS วิธกี ารสรา งและเริ่มตน โปรแกรม เมือ่ เปดโปรแกรมมาจะพบหนาตา งตามภาพขางลางใหกดปุม Create New Program จากน้นั ต้งั ชอ่ื โปรแกรมแลว กดปมุ ok หากตองการกําหนดคาชองทางการส่ือสารของ Hardware ใหเลือกกด Configuration ท่ีอยูตรงแถบ menu bar แลวกดท่ี Hardware I/O จะปรากฏหนาตางข้ึนใหกดท่ีหัวขอ ‘Simulated Interface’ กดทํา เครื่องหมายท่ี ‘Enable Simulated Driver’ และเลือกจํานวนอินพุตเอาทพุตตามตองการ ‘I/O Digital number’ คูมอื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 62 จาก 77

จากนั้นกดปุม ‘CHANGE’ จะทําใหโปรแกรมทาํ การปด และเรมิ่ ตน ใหมในการทํางานทถี่ กู ปรบั เปลย่ี น จากน้ันจะเริม่ ตน เขียนโปรแกรม LADDER โดยเลือกที่ Level 1, Phase 1 ทีอ่ ยทู างหนา ตางดา นซา ย กดปมุ ใส CONTACT จากแถบเมนูดานบน จากนั้นทําการระบุ CONTACT ที่ตองการควบคุมโดย เลือกจากรายการที่ปรากฏ หรือจาก mnemonic (โดยทั่วไปจะมี 3 ตัวอักษร) เพื่อเปนตัวอยางในการเขียนโปรแกรมจึงเลือกการระบุ CONTACT เปน--| Input |--และเลือกตวั ที่แรกคือ 1 Simul คูมอื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 63 จาก 77

จากน้ันเลือ่ นไปทีช่ องวาถัดไปเพ่ือใสหนา CONTACT ใหม หากระบุ mnemonic ของตวั CONTACT ท่ตี อ งการควบคมุ เองโดยท่ีโปรแกรม SoftPLCไมร จู กั จะสังเกตไดวา ตัวที่พิมพจะมีสีเทา และเมื่อกด Enter จะปรากฏหนาตาง error ขึ้น แตสําหรับ mnemonic ที่ทํางานไดจะ ปรากฏตวั อักษรสีดํา สําหรับตัวอยางน้ีจะเลือกการระบุ CONTACT เปน --| Input |--และเลือกตัวท่ีแรกคือ 2 Simul ตอมาจะใส coil โดยการกด SHIFT + B keys หรือกดเลือกจากแถบเคร่ืองมือดานบน COIL เลือก coil เปนแบบ OUT และเลือกรายช่อื output ตวั ท่ี 1 โดยเลือก 1 Simul. จะไดโปรแกรมตามตอ ไปน้ี คูม ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 64 จาก 77

ตอ มาใหเ พิม่ contact เพิม่ เขามาใต INP1 โดยให contact น้ันเปน input ตัวท่ี 3 จะปรากฎดงั น้ี ตอไปใหทําการลากสายท่ีเชื่อมตอใหยาวออกไปโดยการกด SHIFT + C หรือ กดปุม CABLE LEFT ที่แถบ เครอ่ื งมือจะเปน ไปตามรปู ดงั นี้ คูมอื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 65 จาก 77

สามารถลากสายที่เช่ือมตอขึ้นโดยการกด ALT + U หรือ กดปุม CABLE UP ที่แถบเครื่องมือจะเปนปรากฏ ตามรปู ดังนี้ ทั้งนี้สามารถอธิบายการทํางานของตัวอยางที่เขียนมาไดน่ันคือ INP1 และ INP2 ตอแบบอนุกรมกัน โดยท่ีมี INP3 ตอขนานแลวนํามาตอที่ OUT 1 น้ันหมายถึง INP1 และ INP2 ตองทํางานพรอมกันถึงจะทําให OUT 1 หรือ INP3 ทํางานจะทําให OUT 1 ทาํ งาน จากน้นั เพอ่ื พิสูจนก ารทาํ งานวาโปรแกรมทเี่ ขยี นถูกตองหรือไม ใหกดปมุ COMPILE ที่แถบเครอ่ื งมือ Compile ซึ่งหากโปรแกรมที่เขียนนั้นถูกตองจะปรากฏหนาตาง COMPILATION SUCCESS. PREPARED TO EXECUTE THE PROGRAM. ตอมากดปุม F12 เพ่อื start SoftPLC หรือกดปุม START จากแถบเครื่องมอื 3เมอื่ 3เริม่ ตนของโปรแกรม 3PLC จะพบวา programs editor หายไป และสามารถเห็น 3SoftPLC Icon 3ที่ขวามือ ของหนาตาง Window เพื่อ3แสดงใหทราบวา 3PLC 3อยูในโหมด3ทํางานและโปรแกรมกําลังดําเนินการ 3โดย3ตอง คูมือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 66 จาก 77

คลิกไปท่ีไอคอนเพ่ือดูเมนู pop-up และเลือก1 'View Simulated I/O' แลวหนาตางปรากฏข้ึนพรอมกับ push-buttons ซง่ึ ใชในการกดสั่งงานของอินพุท ท้ังน้ีตัว indicators จะสองสวางเมื่อเอาทพุตทํางาน โดยจะ ปรากฏผลตามรปู ตอ ไปนี้ จากนั้นทดสอบผลการทํางานโดยกดปมุ ท่ี inputs 1, 2 and 3 และดผู ลท่ี output 1 ตอมาจะเพิ่ม Closed Contact โดยกดปุม SHIFT + INSERT หรือกดปุม Closed Contact บนแถบเมนู โดย Closed Contact จะทํางานเม่ือไมมีการตรวจจับ และจากตัวอยางจะเขียนโปรแกรมโดยการนํา Closed Contact ตวั ท่ี 4, 5, 6 มาตอขนานกนั คมู ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 67 จาก 77

จากนั้นใส output 2 ทขี่ า ง input 4 และกด SHIFT + B หรือกด COIL DOWN บนแถบเครื่องมือเพ่ือใส coil ขนาน coil ของ output 2 คมู อื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 68 จาก 77

โดยให Output ใหมค ือ output 3 และ output 4 ดังรปู ตอ ไปนี้ 3จากนั้น3รนั โปรแกรมเราดผู ล Input 23, 33 3และ 43 3เพื่อดูการทาํ งาน Output 4, 5 3และ 63 ถาตองการดูภาพการทํางานของโปรแกรมใหกดที่ไอคอน SoftPLC และเลือก ON LINE PROGRAM โดย อกั ษรสแี ดงจะบอกสถานะทาํ งาน สวนอกั ษรสีดาํ หมายถึงสถานะไมมีการทาํ งานบน Contact และ coil คูม อื การใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 69 จาก 77

หมายเหตุ: เมื่อเขียนโปรแกรมอาจทําใหมีปญหาในการจํา Contact และ coil วาถูกใชไปแลวหรือไม จึงมี วธิ กี ารตรวจสอบโดยการพมิ พ mnemonic แลวตามดวยเครือ่ งหมาย? แลวจึงกด Enter คูม ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 70 จาก 77

ตวั อยาง: ใส Contact หรอื coil และเขยี น: 'DAT? ‘(แลว กด Enter) จะแสดงใหเ หน็ หนาตางดงั ตอไปน้ี คมู อื การใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 71 จาก 77

Memory, Output SET/RESET 3ถาตองการ3ที่จะให Coil ทํางานคางหรือหยุดการทํางานจะสามารถออกแบบโดยใชคําสั่ง 3SET /3 3 3RESET ซึง สามารถสังเกตวิธีการทํางานโดยเปดโปรแกรมท่ีเรียกวา 3TUTORIAL1.PLC จากหนาตางเริ่มตน และกดปุม 'Open Program' หรอื จากแถบเครื่องมอื โดยเลือก ‘Open Program’ เมอื่ ดําเนนิ การแลว 3จะปรากฎดงั น้ี จากการทํางานให input 1 ตอกับคําสั่ง Set output 1 และให input 2 ตอกับคําส่ัง Reset output 1 ซึ่ง หมายถึง เมื่อมีสัญญาณที่ input 1 จะทําให output 1 ทํางานคางจนกวา input 2 มีสัญญาณเขา แลว output 1 จงึ จะหยุดทํางาน นอกจากน้ีในระบบความจํา สามารถจัดเก็บคาตรรกะ (ถูก หรือ ผิด, 1 หรือ 0) โดยคําสั่ง SME 1 หนวยความจาํ memory 1 จะจดั เก็บคา 1 หรือ ถกู และคาํ ส่งั RME 1 หนวยความจาํ memory 1 จะใสคา 0 หรือ FALSE ซึ่งสามารถนํา memory 1 มาใชกําหนดใหเอาทพุท 2 ทํางานได ซ่ึงจะมีผลเชนเดียวกับคําสั่ง 3SET /3 3 3RESET คมู ือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 72 จาก 77

Counters and Timers นี้ใหทําการเปดไฟลโปรแกรมช่ือ เพื่อท่ีจะฝกการใชงานการควบคุม Counters and Timers TUTORIAL2.PLC ลักษณะการทํางานท่ีเกิดข้ึนก็คือ เมื่อ Input หมายเลข 1 ถูกกําหนดใหทํางาน Counter หมายเลข 1 จะเพ่ิม คาตัวมันเอง เมื่อ Counter มีคาเปน 3 (นับ 3) Output 1 จะถูกกําหนดใหทํางาน พรอมกับ Timer 1 ถูก กําหนดใหทํางาน โดยนับไป 5 วินาที (การตั้งคาของตัว Timer) เมื่อครบ 5 วินาทีแลว Output 2 จะถูก กําหนดใหทํางาน เมื่อกด Input 2 ตัวระบบ Counter และ Timer จะถูก Reset คา ขอสังเกต แมวา Counter จะเปล่ียนคาจาก 3 ไป 4 ซึ่งนอยกวา 5 วินาที แต Timer ไดถูกกําหนดใหทํางานไปแลว โดยทาง เดยี วท่ีจะปองกนั และหลกี เลี่ยงคอื การ Reset กอ นท่ี Timer จะถูกกําหนดใหทํางาน คมู อื การใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 73 จาก 77

ทงั้ นีส้ ามารถทจี่ ะเปลย่ี นแปลงคุณสมบัติของตัวควบคมุ โดยการกดปุม Enter หรือทําการดบั เบิ้ลคลิก 3นอกจากนี้ยัง3จําเปนตองทราบรูปแบบ Syntax ใหมของการควบคุม เชน Counters, Timers และ Data Stack เมื่อ3เขียนโปรแกรมควบคุมเหลานี้ข้ึนมา ผูใชงานสามารถเขียนโปรแกรมขึ้นมาไดจากหลากหลาย รปู แบบดว ยกัน เชน การเลอื กจากรายการควบคุมดังกลาว, การเขียน mnemonic (รายละเอียดของตัวที่เขียน หรือเคยเขียนไป ซ่ึงจะจําคาเกาท่ีไว) ของการควบคุมแลวกด Enter (จะปรากฏหนาตางแนะนํารายละเอียด คุณสมบัติ -Properties) หรือเขียน mnemonic และ Properties ตัวอยางเชน ถาตองการจะเขียนโปรแกรม เพ่ือวาง Coil Timer ซ่ึงทํางานทีเ่ วลา 2 วินาที ใหก ดปุม SHIFT + B แลว พิมพ TMR2 ตามดวยเคร่ืองหมาย “:” แลวตามดวยเวลาท่ีตองการ ในกรณีน้ีคือ 2000 (2 วินาที หรือ 2000 ms) ส้ินสุดคําสั่งท่ี TMR2:2000, ตอนนใ้ี หเ รากดปุม Enter เพื่อเชค็ ความถูกตองของคําสงั่ . Data Stack น้ันจะสนใจแคบางชวงเวลาใน State ภายใน ของสวนของการเขียนโปรแกรม ขณะที่ การ Execute บน SoftPLC ไอคอน ใหเรากดท่ี ใน Option ON LINE DATA และจะปรากฏหนาตาง State ของ การควบคมุ ข้ึนมาใหกด option view เพื่อจะดู Inputs, Outputs, Counters และ Timers คมู อื การใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 74 จาก 77

แบบฝกหดั เพือ่ ใหผูใชง านไดลองแกป ญ หาระบบอัตโนมตั ติ ามนี้ สายพานขนสง ขนสงช้ินงานจากดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่ง เม่ือช้ินงานถูกวางลงสายพานขนสงซ่ึงถูกตออยูกับ Input 3 ทาํ ให Input 3 ถูก Activate เม่ือชิน้ งานมาถึงปลายทาง เซนเซอรที่เช่ือมตอตัวอื่นๆ จะทําให Input 4 ถูก Activate ถาหลังจาก 10 วินาทีแลวช้ินงานมาไมถึงปลายทาง Output หมายเลข 3 จะถูก Activate ภายในเวลา 5 วินาที เพ่ือแสดง Error ในการมาถึงของช้ินงาน ถา Error ซํ้าตอเนื่องกัน 3 คร้ัง ควร Activate Output หมายเลข 4 เพอื่ แสดง Error ในการเคล่ือนกลไกเทป และ Input 5 ถูกใชเพ่ือยืนยัน Tape Error ช้นิ งานหนง่ึ จะไมถกู คน พบจนกระท่งั มีอกี ช้นิ มาถงึ หมายเหตุ: สามารถเปดดู Solution นไี้ ดจ าก Phase 2 ของโปรแกรม TUTORIAL2.PLC คูมือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 75 จาก 77

The Data Stack Data stack เปน สวนประกอบทสี่ ําคัญมากใน SoftPLC ใหด ูโปรแกรม TUTORIAL3.PLC เพ่ือสงั เกตคุณสมบัติ บางอยา งของ Data Stack ในโปรแกรมน้ี จะแนะนําถึงความแตกตางของฟงกชันตางๆ ของ Data Stack เร่ิมดวยคุณสมบัติหลักๆ ซึ่ง พบวาสามารถท่ีจะเปลี่ยนไดในเวลาขณะ Execution (ขณะที่ PLC กําลัง Run อยู) เชน คาเวลาของ Timer, ถาเรากดปุมเลข 1 (Key 1) คาจะเพิ่มขึ้น 10 ใน Data Stack ตัวท่ี 1 และเม่ือ Key 2 ถูกกด คาจะลดลงใน ปริมาณที่เทากัน และเมื่อกําหนด D1 เปนคาเวลาของ Timer T1 และ T2 คาปจจุบันของ Data Stack 1 กจ็ ะโหลดลงใน D1ท้งั หมด เราจะพบวา เมื่อกดคีย 1 และ 2 ความเร็วในการกระพริบของ Out 1 จะเปลี่ยนไป ตัวอยางตอไป ถาเราเปลี่ยน Output Coil ในบรรทัดแรกของ Ladder Diagram จากคําส่ัง ‘DAT 1:+10’ เปลีย่ นเปนคําส่ัง ‘DATD100 = ' และเมือ่ เรากดปุม เลข 1 (Key 1) จะมีผลทําใหคาของ DAT 1 ถึง DAT 99 มี คา random (จาก 1 ถึง 100) ท้ังน้ีเนื่องจาก Data Stack 1 ถึง 99 จะถูกชี้โดยคาท่ีเก็บอยูใน Data Stack 100 (DAT 100) ในกรณีที่ DAT 100 มีคานอยกวา 100 (คลายกับการอางแอดเดรสทางออม หรือ Indirect คูมือการใชงานโปรแกรม SoftPLC หนา 76 จาก 77

Addressing) สุดทาย ทํานองเดียวกัน เราอาจจะเปลี่ยน Output Coil ในบรรทัดท่ีสองของ Ladder Diagram เปนสมการทางคณิตศาสตรอยางงายๆ จะพบวาเมื่อกดปุม 2 ทําใหเกิดขบวนการทางคณิตศาสตร ดวยวิธีการของขอมูลอยางงาย ถาเราจําเปนท่ีตองคํานวณอะไรที่ซับซอนมากๆ เราสามารถที่จะใช Mathematical PLC control ท่ีมีองคประกอบขอมูล เชนตัวแปร (variables) เพื่อชวยการประมวลผลใน เวลาขณะรันโปรแกรม MAKE IT EASY VIA SOFTPLC คมู ือการใชง านโปรแกรม SoftPLC หนา 77 จาก 77


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook