Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และทคโนโลยี

แผนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และทคโนโลยี

Published by thanatchapak2537, 2022-09-26 13:41:42

Description: แผนการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และทคโนโลยี

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 4 ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง วทิ ยาศาสตร์น่ารู้ เวลา 2 ช่วั โมง เรอ่ื ง วิธีการและทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ 3. ตวั ช้วี ดั วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการทนี่ ักวทิ ยาศาสตร์ใชใ้ นการค้นคว้าหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมี 5 ขนั้ ตอน ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ แบง่ เปน็ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ั้นพพนื้ ฐาน 8 ทักษะและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ัน บรู ณาการ 6 ทักษะ และจิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการเหล่านมี้ ุ่งฝกึ ใหน้ กั เรียนเปน็ คนคิดเป็น ทำเป็น และ แก้ปัญหาเป็น เสรมิ สร้างความรดู้ ้วยตนเอง นอกจากนก้ี ารทำโครงงานวิทยาศาสตร์ จะเปน็ การฝกึ ทักษะต่าง ๆ ดงั กลา่ ว ใหเ้ ปน็ นักวทิ ยาศาสตรท์ ีด่ แี ละประสบความสำเร็จในอนาคต 5. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธบิ ายวิธีการและทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ (K) 2) ทดลองใชว้ ธิ ีการและทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแก้ปญั หาตา่ งๆ ได้ (P) 3) รบั ผิดชอบและมงุ่ มนั่ ในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย (A) 6. คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 1) มวี ินัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุ่งมัน่ ในการทำงาน 7. สมรรถนะที่สำคญั 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทักษะการสำรวจคน้ หา 1.2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 1.3) ทกั ษะการสรปุ อ้างองิ 2) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 8. ทกั ษะกระบวนการคิด การคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 9. เน้อื หาสาระ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ คอื เปน็ วธิ ที ่นี กั วิทยาศาสตรใ์ ชใ้ นการแสวงหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์หรือ ค้นหาคำตอบของปญั หาที่สงสยั อย่างมีระบบ รวมทั้งแก้ไขปญั หาด้านต่างๆ เปน็ กระบวนการท่เี ปน็ แบบแผนมี ข้ันตอนที่สามารถปฏิบัตติ ามได้ โดยขัน้ ตอนวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ดังนี้

1. การระบุปญั หา เป็นการตงั้ ปญั หาหรอื ขอ้ สงสัยที่เกิดจากการสังเกต โดยการใชป้ ระสาทสมั ผัสทั้ง 5 ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลิน้ และผวิ สัมผสั เพือ่ ค้นหาข้อมูล และบนั ทกึ ข้อมูลท่ีได้อยา่ งเปน็ ระบบ ซึง่ การกำหนด ปญั หาตอ้ งมคี วามชดั เจนและสัมพนั ธก์ บั ความรู้ ซึ่งตอ้ งอาศัยความคิดสรา้ งสรรค์ 2. การตั้งสมมตฐิ าน การคาดคะเนคำตอบของคำถามหรอื ปญั หาที่สงสยั กอ่ นจะทำการทดลองโดย อาศยั การสงั เกต การสำรวจหรอื อาศัยความรูแ้ ละประสบการณ์เดิมเป็นพน้ื ฐานในการคาดคะเนคำตอบ 3. การรวบรวมข้อมูลหรอื การตรวจสอบสมมติฐาน เปน็ การค้นหาคำตอบโดยวิธกี ารต่างๆ เช่น สำรวจ สังเกต ทดลอง สรา้ งแบบจำลอง หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ ประกอบกนั เพ่อื ให้ไดข้ อ้ มลู แล้วบนั ทึกผลไว้ 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล การนำขอ้ มลู ท่ีได้จากการสงั เกต ศึกษาค้นคว้า ทดลอง หรือการรวบรวม ขอ้ มูลและข้อเท็จจรงิ มาวิเคราะห์ผล แปลความหมายหรอื อธบิ ายข้อเท็จจรงิ ที่มอี ยู่เพ่อื นำไปสกู่ ารสรปุ ผล 5. การสรปุ ผลขอ้ มูล เปน็ ขั้นตอนสุดท้ายของวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ ซงึ่ เกดิ จากการนำเอาข้อมูลหรือ ข้อเท็จจริงทีไ่ ด้จากการทดลองมาวิเคราะหผ์ ลและหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือขอ้ เทจ็ จรงิ เพอ่ื นำมา อธบิ าย และตรวจสอบว่าตรงกับสมมติฐานท่ีตงั้ ข้ึนไว้หรือไม่ จากน้นั นำข้อมลู ท่ไี ดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจำวนั หรือตัง้ เปน็ กฏเกณฑเ์ พอื่ ใช้ในการศึกษาต่อไป กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถงึ ความสามารถและความชำนาญในการค้นหาคำตอบและการแกป้ ัญหาต่างๆ ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ท่ีแสดงถึงการมีกระบวนการคิดอยา่ งมีเหตุผล ทำให้ผู้เรยี นมี ความเขา้ ใจในความรู้ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละมีผลตอ่ การพัฒนาการเรยี นรู้ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ซงึ่ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์มีทัง้ ส้นิ 14 ทกั ษะ โดยจดั แบ่งออกเป็น 2 ข้ัน ได้แก่ 1. ทักษะพน้ื ฐาน หรอื ทกั ษะเบื้องตน้ (Basic Science Process Skill) ประกอบดว้ ย 8 ทักษะ ดังน้ี 1.1 ทักษะการสงั เกต (Observation) 1.2 ทกั ษะการวัด (Measurement) 1.3 ทกั ษะการใช้จำนวน (Using numbers) 1.4 ทักษะการจำแนกประเภท (Classification) 1.5 ทกั ษะการหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา (Space/space Relationship and Space/Time Relationship) 1.6 ทกั ษะการจัดกระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มูล (Organizing data and communication) 1.7 ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล (Inferring) 1.8 ทกั ษะการพยากรณ์ (Prediction) 2. ทกั ษะข้นั บูรณาการ หรอื ทักษะเชงิ ซ้อน (Intergrated Science Process Skill) ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6 ทกั ษะ ดงั นี้ 2.1 ทกั ษะการกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) 2.2 ทักษะการตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ (Interpretting data and conclusion) 2.3 ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) 2.4 ทกั ษะการกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ (Defining operationally) 2.5 ทักษะการต้ังสมมุติฐาน (Formulating hypothesis) 2.6 ทักษะการสรา้ งแบบจำลอง

10. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (10 นาที) 1) ครูใหน้ กั เรียนดภู าพนักวทิ ยาศาสตรแ์ ล้วถามนักเรยี นว่า “นกั เรยี นรู้จักนักวิทยาศาสตรค์ น ใดบา้ ง” (แนวคำตอบ : นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง) 2) ครูถามนกั เรียนต่อวา่ “นักเรียนคิดวา่ นกั วทิ ยาศาสตร์ทดี่ ีควรมคี ุณสมบตั อิ ยา่ งไรบา้ ง” (แนวคำตอบ : นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เช่น เป็นผ้ทู ี่ชา่ งสังเกต ชา่ งสงสยั มีทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถต้ังคำถามเพือ่ นำไปส่วู ิธกี ารหาคำตอบอยา่ งเป็นระบบข้นั ตอน) ขนั้ ท่ี 2 สำรวจค้นหา (30 นาท)ี 3) ครใู ช้คำถามกระตุน้ ความคดิ ของนักเรียน “วิธกี ารหาคำตอบอย่างเป็นระบบขั้นตอนของ นักวทิ ยาศาสตรม์ อี ะไรบา้ ง” (แนวคำตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง) จากนนั้ ครแู จ้งกบั นกั เรียน วา่ วนั นี้เราจะมาฝึกเป็นนกั วิทยาศาสตรก์ นั 4) ครชู แ้ี จงการทำกิจกรรม “ความลับของมดแดง” โดยให้นกั เรียนอา่ นสถานการณ์ทีค่ รู กำหนดใหแ้ ละแสดงการหาคำตอบโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ดงั นี้ - ครใู ห้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 3-4 คน - นกั เรยี นอา่ นสถานการณท์ ีค่ รกู ำหนดให้ ต่อไปน้ี แพรว สงั เกตว่า เม่ือมเี ศษขนมหรือของกนิ ตกบนพน้ื ทีแ่ พรวนงั่ มกั จะมีมดแดงพากัน มากินเศษอาหารเหล่าน้นั เสมอ แพรวจึงเกิดความสงสัยวา่ มดแดงชอบกินของหวานหรอื ไม่ ขน้ั แทพ่ี ร3วอจธงึ ิบใชาว้ ยิธคีกวาารมทราู้ ง(1ว0ทิ ยนาาศทา)ี สตร์เพื่อค้นหาคำตอบในส่ิงท่สี งสัย 5) ให้นกั เรียนแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนนำเสนอกจิ กรรม “ความลับของมดแดง” โดยใช้วธิ กี าร ทางวิทยาศาสตร์ทง้ั 5 ขัน้ ตอน 6) ครแู ละนักเรียร่วมกันสรปุ ความรู้เกย่ี วกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 5 ข้นั ตอน ได้แก่ 1. การระบุปัญหา 2. การต้งั สมมติฐาน 3. การรวบรวมข้อมูลหรือการตรวจสอบสมมตฐิ าน 4. การวิเคราะห์ ขอ้ มลู และ 5. การสรปุ ผลข้อมูล ซึ่งเปน็ วธิ ีการทนี่ กั วิทยาศาสตร์ใช้ในการแสวงหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์หรือ คน้ หาคำตอบของปัญหาท่สี งสยั อย่างมรี ะบบ รวมทั้งแกไ้ ขปญั หาดา้ นตา่ งๆ เป็นกระบวนการท่เี ปน็ แบบแผน ช่วั โมงท่ี 2 ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (30 นาที) 7) ครถู ามนักเรียนว่า “นักเรยี นต้องใชท้ กั ษะใดบา้ งในการค้นหาคำตอบจากกิจกรรม ความลบั ของมด” (แนวคำตอบ : นักเรียนตอบเกยี่ วกบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เชน่ ทักษะการ สังเกต การทดลอง การตงั้ สมมติฐาน การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ เป็นตน้ ) 8) ครูอธิบายใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความสัมพันธ์ระหว่างวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์และ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรว์ ่าต้องใช้ควบคกู่ ัน หากนกั เรยี นตอ้ งการหาคำตอบและแก้ปญั หาต่างๆ ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ นกั เรียนจำเปน็ ตอ้ งมีทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ซ่ึงจะทำให้ผู้เรียนมีความ เขา้ ใจในความรทู้ างวิทยาศาสตร์และมผี ลตอ่ การพัฒนาการเรยี นรไู้ ด้เปน็ อย่างดี

9) ครูอธบิ ายซ่งึ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรม์ ที ง้ั สิ้น 14 ทักษะ โดยจัดแบง่ ออกเป็น 2 ขัน้ ไดแ้ ก่ 1. ทกั ษะพื้นฐาน หรือทักษะเบือ้ งต้น (Basic Science Process Skill) ประกอบดว้ ย 8 ทักษะ ดงั น้ี ทกั ษะการสงั เกต ทกั ษะการวดั ทักษะการใช้จำนวน ทักษะการจำแนกประเภท ทกั ษะการหาความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งสเปสกบั สเปสและสเปสกบั เวลา ทักษะการจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมูล ทกั ษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู และทกั ษะการพยากรณ์ 2. ทกั ษะขน้ั บรู ณาการ หรอื ทกั ษะเชงิ ซ้อน (Intergrated Science Process Skill) ประกอบด้วยทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 6 ทักษะ ดงั นี้ ทักษะการกำหนดและ ควบคุมตัวแปร ทกั ษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป ทักษะการทดลอง ทักษะการกำหนดนยิ ามเชิง ปฏิบัติการ ทกั ษะการตัง้ สมมุติฐาน และทกั ษะการสร้างแบบจำลอง ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (20 นาท)ี 10) นักเรยี นทำใบงานเรือ่ ง วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ จติ วทิ ยาศาสตร์ 11) ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกีย่ วกับวธิ กี ารกละทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และยกตัวอยา่ งการนำความร้เู รื่องนไี้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน 11. สอ่ื การเรียนรู้ 1) สือ่ การเรียนรู้ 1.1) หนังสอื เรียน วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบกจิ กรรมเร่ือง ความลับของมด 1.3) ใบงาน เรื่อง วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตร์ 2) แหลง่ การเรยี นรู้ 2.1) หอ้ งเรียน 2.2) หอ้ งสมุด 12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ท่ี วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1 ตรวจใบงาน แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2 สังเกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วม การทำงานรายบคุ คล แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ในกจิ กรรม อันพงึ ประสงค์ 3 สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

ภาคผนวก ใบกจิ กรรม เรือ่ ง ความลับของมด แพรว สงั เกตว่า เม่ือมีเศษขนมหรอื ของกินตก บนพืน้ ทแ่ี พรวนง่ั มกั จะมมี ดแดงพากันมากนิ เศษอาหาร เหลา่ น้นั เสมอ แพรวจงึ เกดิ ความสงสยั วา่ มดแดงชอบ กินของหวานหรือไม่ แพรวจึงใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ เพือ่ ค้นหาคำตอบในสิง่ ทส่ี งสัย นกั เรยี นช่วยแพรวหาคำตอบโดยใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ได้ดงั น้ี 1. ระบปุ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………… …2.…ต…้งั …สม…ม…ต…ฐิ …าน…….. ………………………………………………………………………………………………………………………… …3.…ร…ว…บร…ว…ม…ข้อ…ม…ลู …ห.ร. ือตรวจสอบสมมติฐาน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………..................... 4. วเิ คราะหข์ ้อมลู ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………..................... …5.…ส…ร…ุปผ…ล…ข…้อ…ม…ลู …….. ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………..

ใบงาน เรื่อง วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 1

ใบงาน เรื่อง วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 2

ใบงาน เรื่อง ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 4 ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง วทิ ยาศาสตรน์ า่ รู้ เวลา 1 ชัว่ โมง เรอ่ื ง การจดั กระทำและส่ือความหมายข้อมลู ทำได้อยา่ งไร 1. วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ 3. ตวั ชี้วดั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การจัดกระทำและสื่อความหมายขอ้ มลู 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ทักษะการจัดกระทาํ และสอื่ ความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปนความ สามารถในการนําผลการสังเกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจดั กระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มี ความหมายหรอื มคี วามสมั พนั ธกันมากขึ้น จนงายตอการทาํ ความเขาใจหรือเหน็ แบบรปู ของขอมลู นอกจากน้ี ยงั รวมถึงความสามารถในการนาํ ขอมูลมาจัดทาํ ในรปู แบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขยี นบรรยาย เพ่ือสอ่ื สารใหผูอ่นื เขาใจความหมายของขอมูลมากขน้ึ 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายการจัดกระทำและสอื่ ความหมายข้อมลู ได้ (K) 2) ใช้ทักษะการจัดกระทำและส่อื ความหมายขอ้ มูลในการแก้ปญั หาตา่ งๆ ได้ (P) 3) รบั ผดิ ชอบและมุง่ ม่นั ในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (A) 6. คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ 1) มีวินยั 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 7. สมรรถนะที่สำคัญ 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทกั ษะการสำรวจคน้ หา 1.2) ทักษะการเชอ่ื มโยง 1.3) ทักษะการสรุปอ้างองิ 2) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 8. ทักษะกระบวนการคิด การคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ 9. เน้อื หาสาระ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ กระบวนการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการค้นคว้าหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมี 5 ขั้นตอน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบ่งเปน็ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพพ้นื ฐาน 8 ทักษะและทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้ัน บูรณาการ 6 ทักษะ และจิตวิทยาศาสตร์ กระบวนการเหล่านี้มุ่งฝึกให้นักเรียนเป็นคนคิดเป็น ทำเป็น และ

แก้ปัญหาเปน็ เสริมสรา้ งความร้ดู ว้ ยตนเอง นอกจากนกี้ ารทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จะเปน็ การฝกึ ทักษะต่าง ๆ ดังกล่าว ให้เปน็ นักวทิ ยาศาสตรท์ ่ีดแี ละประสบความสำเร็จในอนาคต ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) เป็น ความสามารถในการนําผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทําให้อยู่ในรูปแบบที่ มคี วามหมายหรือมคี วามสมั พันธก์ ันมากขนึ้ จนง่ายต่อการทําความเขา้ ใจหรอื เหน็ แบบรูปของขอ้ มูล นอกจากนี้ ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอ้ มูลมาจัดทําในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพ่ือสอื่ สารให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายของขอ้ มูลมากขึน้ 10. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ • วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (5 นาที) 1) ครทู บทวนความรูพ้นื ฐานเกี่ยวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้คำถาม ตอ่ ไปนี้ “ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์มีทั้งหมดกข่ี ้ันและก่ีทักษะ” (แนวคำตอบ: แบ่งออกเปน็ 2 ข้ัน ได้แก่ ข้ันพื้นฐาน 8 ทกั ษะและขั้นบูรณาการ 6 ทักษะ) 2) ครตู รวจสอบความรูเดิมเก่ียวกบั ทกั ษะการจัดกระทาํ และส่อื ความหมายขอมูลโดยใชสถาน การณตอไปน้ี แต่ละวัน เราทำให้ เกดิ ขยะมลู ฝอยมากมาย เช่น เศษอาหาร ถุงพลาสตกิ ขวดน้ำ แบตเตอรี่ หลอดไฟ ขยะแบ่งตามประเภทของขยะได 4 ประเภท ไดแก ขยะย่อยสลายได ขยะรีไซเคลิ ขยะท่ัวไป และขยะอนั ตราย หรือขยะพษิ ขยะแตล่ ะประเภทมีปรมิ าณแตกต่าง กันคอื ขยะยอ่ ยสลายไดมีรอ้ ยละ 46 ขยะรไี ซเคลิ มรี อ้ ยละ 42 ขยะท่วั ไปมีรอ้ ยละ 9 และ ขยะอันตรายหรือขยะพษิ มรี อ้ ยละ 3 3) ครูตรวจสอบความเข้าใจโดยใช้คำถาม ต่อไปนี้ 1. ขยะทวั่ ไปมีปรมิ าณน้อยกว่าขยะยอ่ ยสลายไดร้ ้อยละเท่าใด (ร้อยละ 37) 2. นักเรยี นคดิ วา่ จากข้อมูลน้ี นกั เรยี นสามารถนำมาจัดกระทำได้ อยา่ งไรเพือ่ ให้เขา้ ใจได้ ถกู ตอ้ งและรวดเร็วข้ึน (แนวคำตอบ: ตอบตามแนวคดิ ของนักเรยี น) ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (30 นาท)ี 4) ครชู แี้ จงการทำกิจกรรม “การจัดกระทำและสื่อความหมายขอ้ มูลทำไดอ้ ยา่ งไร” โดยให้ นกั เรียนอ่านสถานการณ์ทคี่ รูกำหนดใหแ้ ละแสดงการหาคำตอบโดยใชว้ ิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ดงั น้ี - ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ 3 - 4 คน - แจกอุปกรณไ์ ด้แก่ กระดาษบรฟู ปากกาเมจิ สไี ม้ ไม้บรรทดั เพ่ือใช้ในการนำเสนอข้อมลู - ครูจำลองสถานการณ์ คอื ทางโรงเรียนตอ้ งการทราบข้อมูลของไม้ยืนต้นชนิดตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ บริเวณโรงเรียน - ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นสำรวจขอ้ มูลไมย้ นื ตน้ ภายในโรงเรยี น - นักเรียนจะทำอย่างไรเพ่อื ที่จะทำใหค้ นอ่ืนเข้าใจวา่ มีไม้ยืนต้นชนิดใดบา้ ง อย่างละจำนวน เท่าใด และไมย้ นื ต้นชนิดใดมีจำนวนมากที่สดุ

- โดยใหน้ ักเรียนสำรวจและบักทกึ ข้อมูลทีส่ งั เกตได้ในรปู แบบที่แตล่ ะกลุ่มต้องการ อย่างนอ้ ย 2 รปู แบบ เชน่ ในรูปแบบการจดบันทึก การทำตาราง การทำแผนภูมิ เปน็ ต้น - นำเสนอขอ้ มลู ทจ่ี ัดกระทำและส่อื ความหมายขอ้ มลู ในรูปแบบต่างๆ หนา้ ชั้นเรยี นเพอื่ ให้ เพอ่ื เข้าใจสงิ่ ท่ีนักเรยี นนำเสนอ 5) ครใู หน้ กั เรียนเปรียบเทยี บการนำข้อเสนอในรูปแบบตา่ งๆ เชน่ ในรปู แบบการจดบันทกึ การทำตาราง การทำแผนภมู ิ เปน็ ต้น โดยครจู ะใหน้ ักเรยี นแต่ละกล่มุ ทำตารางเปรยี บเทียบ ข้อดี ข้อเสยี ของ การนำขอ้ เสนอในรูปแบบ 2 รปู แบบที่แต่ละกลุม่ ไดน้ ำเสนอ ขนั้ ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (10 นาที) 6) ครแู ละนักเรยี ร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกบั ทกั ษะการจัดกระทําและส่ือความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating Data) วา่ เป็นความสามารถในการนาํ ผลการสังเกต การวดั การทดลอง จากแหล่งต่าง ๆ มาจัดกระทาํ ให้อยใู่ นรูปแบบที่ มีความหมายหรอื มีความสมั พนั ธ์กันมากข้ึน จนง่ายตอ่ การทํา ความเขา้ ใจหรือเหน็ แบบรปู ของขอ้ มูล นอกจากน้ี ยังรวมถงึ ความสามารถในการนาํ ขอ้ มูลมาจดั ทําในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เชน่ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพ่อื สอื่ สารใหผ้ อู้ นื่ เขา้ ใจ ความหมายของขอ้ มลู มากข้นึ 7) ครใู หน้ ักเรยี นร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกับทกั ษะการจัดกระทำและสือ่ ความหมายขอ้ มูล และ ยกตัวอย่างการนำความรูเ้ รอ่ื งนไ้ี ปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ขัน้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ (5 นาที) 8) ครขู ยายความเขา้ ใจของนักเรยี น โดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้ 1. การจัดกระทำและส่ือความหมายของขอ้ มูลสามารถทำไดใ้ นรปุ แบบใดบ้าง (แนวคำตอบ: ตอบตามแนวคดิ ของนักเรียน เชน่ การจดั กระทำในรูปแบบตาราง แผนภูมิ กราฟ เป็นตน้ ) 2. การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูลมีประโยชน์ อย่างไร (แนวคำตอบ: เปน็ การ นําเสนอขอ้ มูลท่ไี ม่ได้จดั ใหเ้ ป็นระบบหรอื ขอ้ มูลท่ียังไม่เหน็ ความสมั พันธก์ ัน นํามาจัดใหเ้ ปน็ ระบบหรือใหเ้ หน็ ความสมั พันธ์ระหว่างขอ้ มูล ซ่ึงจะทําใหเ้ ขา้ ใจได้งา่ ย ชดั เจนในเวลารวดเร็ว) ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (10 นาที) 9) นกั เรยี นทำใบงานเร่อื ง การจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมลู 11. สอื่ การเรียนรู้ 1) ส่อื การเรียนรู้ 1.1) หนังสือเรยี น วทิ ยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงานเร่อื ง การจัดกระทำและส่ือความหมายขอ้ มลู 2) แหล่งการเรียนรู้ 2.1) ห้องเรยี น 2.2) ห้องสมดุ 2.3) ไม้ยืนตน้ บรเิ วณโรงเรียน

12. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ท่ี วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1 ตรวจใบงาน/การนำเสนอข้อมูล ใบงาน/ขอ้ มลู การนำเสนอไมย้ ืนตน้ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2 สังเกตพฤติกรรมการมสี ว่ นร่วม แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ในกิจกรรม การทำงานรายบุคคล 3 สงั เกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ และม่งุ มั่นในการทำงาน อนั พึงประสงค์

ภาคผนวก ใบงานเรอ่ื ง การจดั กระทำและสื่อความหมายขอ้ มลู

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 4 ช่วั โมง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ ง วทิ ยาศาสตรน์ า่ รู้ เวลา 1 ช่ัวโมง 3 เรือ่ ง การสรา้ งแบบจำลองทำไดอ้ ย่างไร 1. วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ 3. ตัวชวี้ ดั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสร้างแบบจำลอง 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด ทกั ษะการสร้างแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรา้ งและใช้สง่ิ ท่ีทํา ขึน้ มา เพือ่ เลยี นแบบหรืออธิบายปรากฏการณ์ทศี่ กึ ษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภูมิ รปู ภาพ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงความสามารถในการนาํ เสนอข้อมูล แนวคดิ ความคิดรวบยอดเพ่ือให้ผู้อ่นื เขา้ ใจในรปู ของแบบจาํ ลอง แบบตา่ ง ๆ 5. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธิบายทักษะทกั ษะการสรา้ งแบบจําลองได้ (K) 2) ใช้ทกั ษะการสรา้ งแบบจําลอง ในการแกป้ ัญหาตา่ งๆ ได้ (P) 3) รบั ผิดชอบและมงุ่ มน่ั ในการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย (A) 6. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ 1) มีวนิ ัย 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มุ่งมน่ั ในการทำงาน 7. สมรรถนะที่สำคัญ 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 1.3) ทักษะการสรปุ อา้ งองิ 2) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 8. ทกั ษะกระบวนการคดิ การคดิ วเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ 9. เน้อื หาสาระ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คอื กระบวนการทนี่ กั วิทยาศาสตร์ใชใ้ นการคน้ คว้าหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ซง่ึ มี 5 ขน้ั ตอน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ แบง่ เปน็ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ข้นั พพ้ืนฐาน 8 ทักษะและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั บรู ณาการ 6 ทักษะ และจติ วทิ ยาศาสตร์ กระบวนการเหล่านม้ี งุ่ ฝกึ ให้นักเรียนเปน็ คนคดิ เปน็ ทำเป็น และ แก้ปญั หาเป็น เสรมิ สรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง นอกจากนกี้ ารทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ จะเป็นการฝกึ ทักษะตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว ใหเ้ ปน็ นักวิทยาศาสตร์ทีด่ ีและประสบความสำเร็จในอนาคต

ทกั ษะการสร้างแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรา้ งและใช้สิ่งท่ีทําขึน้ มา เพือ่ เลียนแบบหรอื อธิบายปรากฏการณท์ ศ่ี ึกษาหรือสนใจ เช่น กราฟ สมการ แผนภมู ิ รปู ภาพ ภาพเคล่ือนไหว รวมถงึ ความสามารถในการนําเสนอข้อมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพอื่ ให้ผู้อื่นเข้าใจในรปู ของแบบจาํ ลอง แบบต่าง ๆ ทงั้ นี้แบบจาํ ลองไมจ่ าํ เป็นต้องเหมือนของจริงมากที่สดุ เนือ่ งจาก แบบจําลองเป็นการเลือก เป้าหมายบางอยา่ งจากของจรงิ น้ัน ๆ มาสอื่ สารหรอื อธบิ ายเทา่ นน้ั ดังน้นั ลกั ษณะบางอยา่ งของของจรงิ ก็ไมไ่ ด้ แสดงใหเ้ หน็ ในแบบจําลองที่สรา้ งขึ้น โดยที่แบบจําลองไม่จําเปน็ ต้องเปน็ วัตถุส่ิงของทเี่ ป็นรูปธรรม เช่น รูปปน้ั แผนภาพ แบบจําลองอาจเป็นนามธรรม เชน่ คาํ พดู สูตร หรอื สมการต่าง ๆ กไ็ ด้ 10. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ • วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ข้นั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (5 นาท)ี 1) ครใู หน้ กั เรียนดูวาดภาพจำลองการเดนิ ทางจากบา้ นของนกั เรียนมาโรงเรียนลงในสมดุ แลว้ ถามนักเรียนว่า “การวาดภาพการเดินทางจากบ้านนกั เรยี นมาโรงเรยี น เรยี นวา่ อยา่ งไร” (แนวคำตอบ : แผนภาพการเดนิ ทาง แผนท่กี ารเดินลอง แบบจำลองการเดินทาง เป็นต้น) 2) ครใู ช้คำถามกบั นักเรยี นเพ่ือนำเขา้ สู่บทเรยี น ดังน้ี 1. นักเรียนรจู้ ักแบบจําลองหรือไม่ แบบจาํ ลองมีลกั ษณะอยา่ งไรบา้ ง เหตใุ ดจงึ คิดวา่ ส่งิ นน้ั เป็นแบบจาํ ลอง (แนวคำตอบ: นักเรียนตอบตามแนวคิดของนกั เรยี น) 2. อะไรบา้ งท่ีเปน็ แบบจําลอง ยกตัวอยา่ ง (แนวคำตอบ: นกั เรียนตอบตามแนวคิดของ นกั เรียน) 3. แบบจาํ ลองสรา้ งขนึ้ มาเพอื่ วัตถปุ ระสงค์ใด (แนวคำตอบ: นักเรยี นตอบตามแนวคิดของ นักเรียน) ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (30 นาท)ี 3) ครูชแ้ี จง้ การทำกิจกรรม “การสร้างแบบจำลองทำได้อย่างไร” โดยใหน้ ักเรยี นศกึ ษา ขอ้ มูล/สถานการณ์ท่คี รกู ำหนดให้และสร้างแบบจำลอง 1. นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน จากนนั้ นักเรียนศกึ ษาข้อมลู จาก วดิ ีโอโครงสรา้ ง โลกแบ่งจากส่วนประกอบทางเคมี อา้ งองิ จาก https://www.youtube.com/watch?v=4sLGkLuxPhg

2. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกับโครงสร้างโลกแบ่งจากสว่ นประกอบทางเคมี ว่า สามารถแบ่งไดห้ ลกั ๆ 3 ชัน้ ประกอบด้วย ช้ันเปลือกโลก ชน้ั เนอ้ื โลกและช้ันแกน่ โลก 3. ครแู จกอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ กระดาษบรูฟ ปากกาเคมี ฟวิ เจอร์บอรด์ ดินนำ้ มนั ไม้บรรทดั 4. ให้นักเรียนแต่ละกล่มุ วาดภาพออกแบบและระบุส่วนประกอบของแบบจำลอง โครงสร้างโลกตามท่นี กั เรยี นไดศ้ ึกษาข้อมูลลงในกระดาษบรฟู ท่ีครูแจกให้ 5. ดำเนนิ การสรา้ งแบบจำลองตามการออกแบบ 6. นำเสนอแบบจำลอง รวมทั้งรบั ฟงั คำแนะนำ ขอ้ ดี – ขอ้ ด้อย จากครแู ละเพ่ือน 7. แก้ไขแบบจำลองให้สมบรู ณ์มากย่ิงข้ึนสำหรับการสง่ ชิน้ งาน 4) ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรุปเกี่ยวกบั กจิ กรรม การสร้างแบบจำลองทำได้อย่างไร ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (5 นาที) 5) ครแู ละนักเรียรว่ มกนั สรุปความรูเ้ กี่ยวกับทกั ษะการสร้างแบบจำลอง โดยใช้คำถามต่อไปน้ี 1. แบบจําลองคืออะไร (แนวคำตอบ: สิ่งท่ีเราสรา้ งขนึ้ เพอ่ื เปน็ ตัวแทนของจริงต่าง ๆ) 2. แบบจําลองมีลักษณะอย่างไรบ้าง ยกตัวอย่าง (แนวคำตอบ: แบบจําลองมีหลาย ลักษณะ เช่น แบบจําลองสองมิติ เช่น แผนภาพ แบบจําลองสามมิติ เช่น รูปปั้น สื่อเคลื่อนไหวเสมือนจริง โปรแกรมคอมพิวเตอร)์ ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า ถ้าแบบจําลองที่สร้างขึ้นเป็น 3 มิติ แบบจําลองนั้นมีขนาด ใหญ่กว่าหรือเล็กกว่าของจริงหรือมขี นาดเทา่ ของจริงก็ได้ เช่น แบบจําลองระบบสุริยะ เป็นแบบจําลองท่ีเลก็ กว่าของจรงิ แบบจาํ ลองรา่ งกายมนษุ ย์มขี นาดเท่ากบั มนุษย์ แบบจาํ ลองแมงมุม มขี นาดใหญ่กวา่ แมงมุม 3. ประโยชน์ของการสรา้ งแบบจำลอง คืออะไร (แนวคำตอบ: เพื่อเลยี นแบบหรืออธบิ าย ปรากฏการณ์ท่ศี กึ ษาหรือสนใจหรือเพ่อื การนำเสนอข้อมลู ท่ีงา่ ยตอ่ การเขา้ ใจและนา่ สนใจมากขน้ึ ) ขัน้ ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (10 นาที) 6) ครขู ยายความเข้าใจของนักเรยี น โดยนำ ลูกโลก ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาและใช้คำถาม ตอ่ ไปนี้ขยายความเขา้ ใจของนกั เรียน 1. แบบจำลองลูกโลกน้ี เหมือนของจริงอย่างไร (แนวคำตอบ: แบบจําลองเหมอื นของจรงิ ในเรอื่ งเกย่ี วกบั ช่อื ประเทศ ชอ่ื ภูมภิ าค ช่ือสถานท่ีตา่ งๆ รวมท้ังรายละเอยี ดทั้งภาคพ้ืนทวปี และภาคพื้น มหาสมทุ ร) 2. แบบจำลองลกู โลกน้ี ไม่เหมือนของจรงิ อยา่ งไร (แนวคำตอบ: ไม่เหมอื นในด้านขนาด พื้นทข่ี องแต่ละสถานท่ี ขนาดของภาคพืน้ ทวปี และภาคพน้ื มหาสมุทร รวมทัง้ รายละเอยี ดเกี่ยวกบั พวกภมู ิ ประเทศ ภูมิศาสตร์ เป็นตน้ ) 3. ถ้าจะปรับปรุงแบบจำลองลกู โลกนใ้ี ห้เหมอื นของจริง ทำได้อย่างไร (แนวคำตอบ: ตอบ ตามแนวความคิดของนกั เรยี น) 7) นกั เรียนยกตัวอย่างการสรา้ งแบบจำลองที่นักเรยี นรู้จกั ในชวี ิตประจำวันมาคนละ 1 ชนิด ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (10 นาท)ี 8) นกั เรียนทำใบงานเรื่อง การสรา้ งแบบจำลอง

11. สอ่ื การเรียนรู้ 1) สอื่ การเรยี นรู้ 1.1) หนงั สอื เรียน วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงานเร่ือง การสร้างแบบจำลอง 1.3) วิดโี อ โครงสรา้ งโลก 2) แหล่งการเรียนรู้ 2.1) ห้องเรยี น 2.2) หอ้ งสมุด 12. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ท่ี วธิ กี าร เคร่ืองมอื เกณฑ์ ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1 ตรวจใบงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ การทำงานรายบุคคล 2 สงั เกตพฤติกรรมการมีส่วนรว่ ม แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ในกจิ กรรม อนั พงึ ประสงค์ 3 สังเกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่ันในการทำงาน

ภาคผนวก วิดีโอ โครงสร้างของโลก จากเว็บไซต์ https://www.youtube.com/watch?v=4sLGkLuxPhg

ใบงานเร่อื ง การสรา้ งแบบจำลอง

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 13 ช่ัวโมง กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 สิ่งมชี ีวติ กับส่งิ แวดลอ้ ม เวลา 2 ชัว่ โมง เรอ่ื ง โครงสร้างและลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ิต 1. สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดล้อมรวมทัง้ นำความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์ 3. ตวั ชวี้ ัด ว 1.1 ป.5/1 บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของส่ิงมชี วี ิตทเี่ หมาะสมกับการดำรงชวี ิต ซึ่งเป็นผลมา จากการปรับตวั ของส่ิงมีชวี ติ ในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ส่ิงมีชีวติ ทั้งพชื และสัตวม์ ีโครงสร้างและลักษณะท่เี หมาะสมในแตล่ ะแหลง่ ที่อยู่ ซึง่ เป็นผลมาจาก การปรบั ตัวของส่งิ มีชวี ติ เพ่ือให้ดำรงชีวิตและอยู่รอดไดใ้ นแต่ละแหลง่ ทอี่ ยู่ เชน่ ผกั ตบชวามีช่องอากาศใน กา้ นใบ ช่วยให้ลอยนำ้ ได้ ต้นโกงกางท่ขี ้นึ อยู่ในปา่ ชายเลนมรี ากค้ำจนุ ทำให้ลำต้นไมล่ ม้ ปลามคี รีบช่วยใน การเคลื่อนทีใ่ นนำ้ 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธบิ ายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมชี ีวติ ทเี่ หมาะสมกับการดำรงชวี ิต ซ่งึ เป็นผลมาจากการ ปรับตวั ของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งทีอ่ ยไู่ ด้ (K) 2) ใช้ทักษะในการสงั เกตและทกั ษะการตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุปวิเคราะห์โครงสร้างและ ลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ิตซงึ่ เป็นผลมาจากการปรับตัวได้ (P) 3) รบั ผดิ ชอบและม่งุ ม่นั ในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย (A) 6. คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ 1) มวี ินยั 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 7. สมรรถนะทสี่ ำคญั 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทักษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทกั ษะการเชื่อมโยง 2) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 8. ทกั ษะกระบวนการคดิ การคดิ วิเคราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ

9. เนอื้ หาสาระ ส่ิงมีชีวติ ท้งั พชื และสัตวม์ ีโครงสร้างและลกั ษณะท่ีเหมาะสมในแต่ละแหล่งทอี่ ยู่ ซึ่งเป็นผลมาจากการ ปรับตัวของสิ่งมชี ีวิต เพื่อให้ดำรงชวี ิตและอยู่รอดได้ในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ซึ่งการปรับตวั ของส่ิงมีชวี ิตมลี ักษณะ แตกตา่ งกันไป ดังน้ี 1. การปรับรูปร่างลักษณะ เช่น ตั๊กแตนตำข้าวจะมีสีเขียวกลมกลืนกับใบไม้, ตั๊กแตนกิ่งไม้จะมีสี นำ้ ตาลกลมกลนื กับเปลือกของลำต้น, ผีเสื้อ และปลาบางชนิดจะปรับรปู ร่างตามสภาพแวดลอ้ ม ทั้งน้ีเพ่ือช่วย ใหพ้ ้นจากการถกู ล่าเปน็ เหยอ่ื เป็นต้น 2. การปรับตวั ของสัตว์นำ้ เช่น การมีรูปรา่ งเรียวยาว เพื่อชว่ ยในการเคลือ่ นทไี่ ปในนำ้ ไดเ้ รว็ มากขึน้ การมีครีบ เพื่อโบกพัดน้ำมาให้ลำตัวเคลื่อนที่ไปได้ หรือการปรับระบบการหายใจ เช่น แมวน้ำ วาฬ และ สิงโตทะเลจะใช้จมกู หายใจในขณะท่อี ย่บู นบก แต่เมือ่ ลงไปอยู่ใตน้ ำ้ จะปดิ จมูก และสัตว์นำ้ อย่าง ปลา กุง้ ลูกอ๊ อดมเี หงือกสามารถหายใจเอาออกซิเจนท่ีละลายอยใู่ นน้ำได้ โดยไมต่ ้องข้นึ มาหายใจเหนอื นำ้ เป็นตน้ 3. การปกคลุมรา่ งกาย เช่น หมีขั้วโลกจะมีขนท่ีหนาปกคลุมทัว่ ตวั สิงโตทะเลมีหนังที่หนา และมีช้นั ไขมันใต้ผิวหนัง ชว่ ยใหส้ ามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสภาพอากาศท่ีหนาวเย็นได้ เป็นตน้ 4. การปรับตัวในลกั ษณะอื่น เช่น เกง้ และกวางมีขาทีแ่ ขง็ แรง ชว่ ยให้ว่ิงหนีศัตรูได้เร็ว, ยีราฟมคี อยาว เพื่อกินใบไม้ตามต้นไม้, แมงป่องและงจู ะปล่อยพิษป้องกันตัวเองจากเหยื่อ, เสือ และสิงโตมีฟันที่คมแข็งแรง เพือ่ กนิ เหย่อื , นก แมลง และคา้ งคาว มีโครงสรา้ งท่มี ปี ีก และนำ้ หนกั เบาเพือ่ ช่วยบินไดเ้ รว็ เป็นตน้ 5. การปรับตัวของพืช เช่น ผักตบชวา ก้านใบพองออก น้ำหนักเบา ลอยน้ำได,้ กระบองเพชร ลำต้น หนา เปลยี่ นใบเปน็ หนามเพ่ือลดการคายนำ้ , โกงกาง มรี ากคำ้ จุน ปอ้ งกนั คลืน่ ทะเลตามชายฝั่ง เป็นต้น 10. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ • วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ชว่ั โมงที่ 1 ขัน้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (20 นาท)ี 1) ครดู ำเนนิ การทดสอบก่อนเรยี น โดยให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพอ่ื ตรวจสอบ ความพร้อม และพ้ืนฐานของนกั เรียน 2) ครใู ช้คำถามเพ่ือนำเขา้ สบู่ ทเรียน ดงั นี้ 1. สิง่ แวดล้อมรอบตัวนักเรยี นตอนน้ีมีอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ: ตอบตามความคิดของ นักเรียน) 2. สิง่ ใดบ้างเปน็ สง่ิ มีชีวิตและสง่ิ ใดเป็นสง่ิ ไม่มชี ีวติ (แนวคำตอบ: ตอบตามความคดิ ของ นักเรียน) 3. นักเรียนคดิ ว่าส่ิงมีชวี ิตต่างๆ ดำรงชวี ติ อยู่ในส่ิงแวดล้อมไดอ้ ยา่ งไร (แนวคำตอบ: ตอบ ตามความคิดของนกั เรียน) ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (40 นาท)ี 3) ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 – 4 คน 4) ครแู จกอปุ กรณ์ ได้แก่ กระดาษบรูฟ กลุ่มละ 1 แผน่ ปากกาเคมี 3 สี (เพื่อตกแตง่ ดว้ ย) 5) ครชู ีแ้ จงกจิ กรรม โครงสร้างและลกั ษณะของสง่ิ มีชวี ติ โดยมีขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. นักเรยี นจบั สลากแหลง่ ท่ีอยอู่ าศัยของสิง่ มีชีวิต ได้แก่ อฐู ในทะเลทราย หมีบริเวณข้ัว โลก บัวในน้ำ และต้นกระบองเพชรในทะเลทราย

2.ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ระดมั ความคิดเกีย่ วกับโครงสร้างและลักษณะของสิง่ มีวติ ท่ี สมั พันธก์ ับแหล่งที่อยู่อาศยั ให้ครอบคลุมประเด็น ต่อไปน้ี 1.ลกั ษณะของแหล่งท่อี ยอู่ าศัย 2.ลกั ษณะของ สิง่ มีชีวิต และ3.โครงสร้างและลักษณะทป่ี รบั เปล่ียนตามแหลง่ ทีอ่ ย่อู าศัย 6) นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ออกมานำเสนอผลงาน ครูและเพ่อื นร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั การทำ กิจกรรม 7) นักเรยี นทำใบงาน เรอื่ ง โครงสรา้ งและลักษณะของสงิ่ มชี ีวติ ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั ที่ 2 สำรวจค้นหา (25 นาท)ี 8) ครูทบทวนเก่ยี วกับการทำกจิ กรรม เรื่อง ฉนั ตอ้ งปรับตัวอยา่ งไร โดยใชค้ ำถาม ต่อไปนี้ 1. สิง่ มีชวี ติ ในส่ิงแวดลอ้ มแบง่ ออกเปน็ กี่ชนิด (แนวคำตอบ: 2 ชนดิ คือสิง่ มชี ีวติ ท่ีเปน็ พืช และส่ิงมีชีวิตทีเ่ ป็นสัตว)์ 2. ส่ิงสำคญั ทที่ ำใหส้ งิ่ มีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดลอ้ มได้ คืออะไร เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ: แหล่งทอ่ี ยู่อาศัย เพราะแหล่งที่อยอู่ าศยั จะเปน็ เสมอื นที่อยู่อาศยั ทห่ี ากินและขยายพนั ธุ์ของส่ิงมีชวี ิตให้ สามารถดำรงชวี ิตต่อไปได้) 9) ครูให้นักเรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 4 กลมุ่ แบบคละความสามารถเพ่ือคิดรว่ มกนั เกี่ยวกบั เกม ฉนั ต้องปรับตัวอย่างไร โดยใหน้ ักเรียนตั้งชอื่ กลุม่ ของตนเองดว้ ย 10) ครชู แ้ี จง เกม ฉนั ต้องปรบั ตวั อยา่ งไร ดังนี้ 1. ครูกำหนดสถานการณต์ ่างๆ ลกั ษณะและโครงสรา้ งของสิง่ มชี วี ิตให้นกั เรียน 10 อยา่ ง ดงั น้ี - ฉนั อยขู่ ัว้ โลกเหนือ อากาศหนาวเยน็ ตัวฉันจึงต้องมีขนหนาฟู อุง้ เท้าหนาและมี ไขมนั สะสมอย่ใู ตช้ น้ั ผิวหนังมากๆ เพือ่ ใหร้ ่างกายอบอุ่น - ฉนั มี 6 ขา อาศัยบนตน้ ไมแ้ ละใบไม้ ผู้คนมกั มองไมเ่ ห็นฉนั เพราะฉันเหมอื นใบไม้ - ฉนั เติบโตทีท่ ะเลทราย ฉันไม่มีใบแต่มีหนาม มลี ำตน้ หนาเพอ่ื กักเกบ็ นำ้ - ฉนั อย่ใู นดินเหนยี วแต่โตในนำ้ มีดอกสวยงามลำต้นเป็นโพลงเพ่อื ให้ต้นเบา - ฉนั อย่นู ้ำกร่อย ตามป่าชายเลนมีรากคำ้ จนุ เพ่ือไมใ่ ห้โคนลม้ ง่าย - ฉันขึน้ ในนำ้ ลำตน้ เปน็ โพลง ทำใหฉ้ นั เบาและลอยน้ำได้ดี - ฉนั มีคอยาว เพราะชอบกินของสงู - ฉนั อยใู่ นน้ำ รูปร่างออกแบนมีคลีบมีหางช่วยในการเคลือ่ นท่ี - ฉันชอบอยนู่ ิง่ ๆ หลบอยู่ในรู ในชว่ งฤดแู ล้ง เพอื่ ลดการใชพ้ ลงั งาน - ฉันอยใู่ นทะเลทราย มขี นตายาว มีหนอกไว้สะสมไขมนั และมีขนเกรียนระบาย ความรอ้ นได้ดี 2. ใหน้ ักเรียนสง่ ตวั แทนเพอื่ มาตอบคำถามทีละคน (หา้ มซ้ำกัน ในกรณีท่ีนักเรียนกล่มุ นนั้ มไี ม่ถงึ 10 คน สามารถวนได)้ 3. ครจู ะใช้เวลา 30 วนิ าที ในการอ่านโจทย์ใหน้ กั เรยี นฟงั เพอ่ื ใหน้ ักเรียนตอบวา่ ท่ีครอู า่ น คอื ส่งิ มชี ีวติ อะไร โดยเขยี นสง่ิ ท่ตี อบบนกระดาษดำหนา้ ชั้นเรยี นท่คี รแู บง่ ชอ่ งตามจำนวนทีม 11) ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเพอ่ื เฉลยคำตอบและมอบรางวลั แก่กล่มุ ท่ีชนะ

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้ (10 นาท)ี 12) ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปผลการทำกิจกรรมโดยใช้ PowerPoint สรุปความรู้ วิทยาศาสตร์ ป.5 ดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ด้วยดัน ได้แก่ พืชและสัตว์ ซ่ึง ปัจจยั ทที่ ำให้สง่ิ มีชวี ิตเห่านอ้ี าศัยอยู่ในส่งิ แวดล้อม ได้ ประกอบไปด้วย แหล่งท่อี ยูอ่ าศยั อาหาร และการดำรง เผา่ พันธ์ขุ องสงิ่ มชี ีวิต ซึ่งต้องอาศัยการปรับตวั ของสง่ิ มชี ีวติ เพ่ือให้อยู่รอดในสภาพแวดลอ้ มท่ีตนเองอาศัยอยู่ให้ ได้ 2. สงิ่ มชี ีวิตทั้งพืชและสัตว์มโี ครงสร้างและลกั ษณะท่ีเหมาะสมในแต่ละแหลง่ ทีอ่ ยู่ ซึ่งเป็น ผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้ดำรงชีวิตและอยู่รอดได้ในแต่ละแหล่งที่อยู่ ซึ่งการปรับตัวของ สิ่งมีชีวิตมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น การปรับรูปร่างลักษณะ การปรับตัวของสัตว์น้ำ การปกคลุมร่างกาย การปรบั ตัวในลกั ษณะอน่ื และการปรบั ตัวของพชื เปน็ ตน้ 13) ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรียนสอบถามเพ่ือความเข้าใจที่มากข้ึนเกย่ี วกบั โครงสรา้ งและ ลักษณะของสิ่งมีชวี ิตในแหลง่ ท่ีอยูอ่ าศัย ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (10 นาท)ี 14) ครูให้นกั เรียนดภู าพของเต่าบกและเต่าทะเล แล้วถามนักเรียนว่า “โครงสรา้ งของเตา่ บก และเต่าทะเลแตกต่างกันอยา่ งไรและเหมาะสมกับแหล่งทีอ่ ยขู่ องตนเองอยา่ งไร” (แนวคำตอบ: เต่าบกจะมี กระดองที่นูนหนาเพื่อปอ้ งกนั ตวั บริเวณเทา้ จะมเี กลด็ หนา้ และเล็บยาวเพ่อื ขดุ ดนิ และใช้สำหรับการเดนิ บนพน้ื บนบกซ่งึ มีพ้ืนทีแ่ ตกต่างกันและมีความรอ้ นสงู สว่ นเต่าทะเลจะมกี ระดองทบี่ างและค่อนข้างแบน นอกจากน้ี ยังมีเท้าทมี่ ีลกั ษณะคล้ายครบี ปลาหรือไมพ้ ายเพ่ือใช้ในการว่ายนำ้ ) ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (15 นาท)ี 15) นักเรยี นทำใบงานเรอ่ื ง โครงสร้างและลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวิตและใบงาน เร่ือง การปรับตัว ของสง่ิ มีชีวติ ในแตล่ ะท่อี ยูอ่ าศยั 11. สอื่ การเรยี นรู้ 1) สื่อการเรียนรู้ 1.1) หนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงานเรอ่ื ง โครงสร้างและลักษณะของสง่ิ มชี ีวติ และใบงาน เรอื่ ง การปรบั ตวั ของ ส่ิงมชี ีวติ ในแต่ละทอ่ี ยู่อาศยั 1.3) PowerPoint สรปุ ความรูว้ ิทยาศาสตร์ ป.5 1.4) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประจำหนว่ ยการเรียนรู้ สง่ิ มีชีวิตกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 1.5) ภาพของเตา่ บกและเต่าทะเล 2) แหลง่ การเรยี นรู้ 2.1) ห้องเรยี น 2.2) หอ้ งสมุด

12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ท่ี วธิ ีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ ใบบนั ทึกผลการทดลอง/ใบงาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ 1 ใบบนั ทกึ ผลการทดลอง/ใบงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ การทำงานรายบคุ คล 2 สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม แบบประเมินคุณลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ในกจิ กรรม อันพึงประสงค์ 3 สังเกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมน่ั ในการทำงาน

ภาคผนวก ภาพของเตา่ บกและเตา่ ทะเล อ้างอิงจาก https://www.thaihealth.or.th/blog/myblog/topic/949/porraphat%20jutrakul/1570/ วนั สำคัญ/17771/23%20พฤษภาคม%20วนั เตา่ โลก/ อา้ งอิงจาก https://oceanmaidblog.wordpress.com/2015/11/24/3555555/

ใบงาน เร่อื ง โครงสรา้ งและลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ

ใบงาน เร่อื ง การปรบั ตัวของสิ่งมชี วี ิตในแตล่ ะท่อี ยู่อาศยั

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลา 13 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 สง่ิ มีชีวติ กับสิง่ แวดล้อม เวลา 2 ชว่ั โมง เรอ่ื ง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชีวิตกับสงิ่ มีชีวิต 1. สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มแนวทางในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ มรวมท้ังนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 3. ตวั ชวี้ ัด ว 1.1 ป.5/2 อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมชี ีวติ กับส่งิ มีชวี ิต และความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่ิงมชี วี ติ กบั สิง่ ไมม่ ชี วี ิต เพ่ือประโยชนต์ ่อการดำรงชวี ิต 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ในแหล่งทอ่ี ยหู่ นง่ึ ๆ ส่ิงมชี วี ติ จะมีความสมั พนั ธ์ซึ่งกนั และกนั และสมั พันธก์ บั ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ เพอื่ ประโยชน์ ต่อการดำรงชีวิต เช่น ความสัมพันธก์ ันดา้ นการกินกนั เป็นอาหาร เป็นแหล่งทอ่ี ยูอ่ าศัยหลบภัยและเลยี้ งดูลกู อ่อน ใช้อากาศในการหายใจ 5. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ มีชวี ติ กบั สิง่ มชี วี ิตได้ (K) 2) ใช้ทกั ษะการสงั เกตและทักษะการตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุปในการวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ มีชวี ติ ได้ (P) 3) รบั ผดิ ชอบและมงุ่ ม่ันในการทำงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย (A) 6. คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ 1) มีวินัย 2) ใฝ่เรยี นรู้ 3) มุง่ ม่ันในการทำงาน 7. สมรรถนะทีส่ ำคญั 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทักษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทกั ษะการเชือ่ มโยง 2) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 8. ทกั ษะกระบวนการคดิ การคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ

9. เน้อื หาสาระ ส่ิงมชี วี ิตจะมีความสมั พนั ธ์ซึง่ กนั และกันและสัมพนั ธก์ ับสิ่งไม่มชี วี ติ เพอื่ ประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวิต ซ่ึง แบ่งออกเป็น 2 รปู แบบ ได้แก่ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชวี ติ กับสงิ่ มชี วี ติ และ 2.ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ส่งิ มีชีวติ กับสงิ่ ไมม่ ชี วี ิต ความสมั พันธ์ระหว่างสงิ่ มชี ีวิตกบั ส่งิ มชี วี ิต คือการทสี่ ิ่งมชี วี ิตตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไป อาศยั อยู่ในแหลง่ ที่ อยเู่ ดยี วกนั เรียกวา่ กลุ่มสิ่งมชี ีวติ จะมีความสัมพันธ์กันหลายๆ ลักษณะ เพ่ือประโยชนต์ ่อการดำรงชีวติ โดย แบ่งออกเปน็ 4 ด้าน ดงั นี้ 1) ความสัมพนั ธด์ า้ นแหล่งทอี่ ย่อู าศัย 2) ความสมั พันธด์ ้านแหล่งอาหาร 3) ความสัมพนั ธด์ า้ นแหลง่ สบื พนั ธุแ์ ละเลยี้ งดูลกู อ่อน 4) ความสัมพันธ์ดา้ นแหล่งหลบภยั นอกจากน้ีในส่งิ แวดลอ้ มและในระบบนเิ วศเดยี วกนั ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งมชี ีวติ ตา่ งชนิดกนั ยังแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน เสยี ประโยชน์และไม่ไดไ้ ม่เสยี ประโยชน์ โดยมลี ักษณะ ความสัมพันธ์ ดังน้ี 1) ภาวะลา่ เหย่อื (predation)เป็นการอยรู่ ่วมกนั ของส่ิงมีชวี ติ 2 ชนดิ ฝา่ ยหน่งึ เปน็ ผ้ลู ่า (predator) มคี วามแขง็ แรง ส่วนอกี ฝา่ ยหนง่ึ ถกู ผลู้ า่ กนิ เปน็ อาหารเรียกวา่ “เหย่ือ(prey)” มคี วามสัมพนั ธแ์ บบ +,- เช่นแมวจับหนู นกกนิ หนอน เหยย่ี วลา่ ไกห่ รือกระตา่ ยเป็นอาหาร สิงโตล่าละมั่งเป็นอาหาร 2) ภาวะปรสติ (parasitism) เป็นการอยู่รว่ มกันของสง่ิ มีชีวติ 2 ชนดิ โดยส่ิงมีชวี ติ ชนดิ หนงึ่ ไปอาศยั อยกู่ บั สิง่ มีชีวิตอกี ชนดิ หนงึ่ โดยผอู้ าศยั (parasite) ไดป้ ระโยชน์ และผู้ถกู อาศัย (host) เสยี ประโยชน์ มคี วามสมั พนั ธแ์ บบ +, - เชน่ เหบ็ กับสนุ ขั ต้นกาฝากบนต้นมะม่วงหรือตน้ ไมอ้ ื่นๆ 3) ภาวะพ่งึ พากัน (mutualism) เปน็ การอยู่ร่วมกนั ของสิ่งมชี ีวิต 2 ชนดิ โดยไดป้ ระโยชน์ทงั้ สองฝ่ายและเมอื่ แยกออกจากกันจะไมส่ ามารถดำรงชวี ิตอย่ไู ด้ มคี วามสมั พันธแ์ บบ +, + เช่น แบคทเี รยี ไร โซเบยี มท่อี าศัยอยู่ในปมรากพืชตระกลู ถ่ัว รากับสาหรา่ ยสเี ขยี วอยู่รวมกันเรยี กวา่ “ไลเคน” โดยสาหร่ายสี เขยี วสรา้ งอาหารได้เอง แตต่ อ้ งอาศยั ความชืน้ จากรา สว่ นราไดร้ ับอาหารจากสาหรา่ ยสีเขยี ว 4) ภาวะองิ อาศัย (commensalism) เป็นการอยู่รว่ มกันของสิ่งมชี ีวิต 2 ชนิด ในลกั ษณะที่ ฝ่ายหนง่ึ ได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้ประโยชน์และไม่เสยี ประโยชน์ มคี วามสัมพันธ์แบบ + , 0 เช่นเฟินเกาะ บนต้นไมใ้ หญ่ กล้วยไม้เกาะบนตน้ ไม้ใหญ่ 5) ภาวะไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั (protocooperation) เปน็ การอย่รู ว่ มกันของสิง่ มชี วี ติ 2 ชนิด ซึง่ ตา่ งไดป้ ระโยชน์ทง้ั สองฝ่าย แตส่ ามารถแยกออกจากกันได้โดยดำเนนิ ชีวิตตามปกติ มคี วามสมั พนั ธ์แบบ +, + เชน่ ดอกไมก้ ับแมลง ควายกับนกเอ้ียง มดดำกบั เพลีย้ 6) ภาวะแกง่ แยง่ (competition) เป็นความสมั พันธ์ของส่ิงมชี วี ิตท่ีทัง้ สองฝ่ายต้องการปจั จยั ในการดำรงชวี ิตอยา่ งใดอย่างหน่งึ ร่วมกัน แตป่ ัจจัยน้นั มนี ้อยจงึ ต้องแข่งขนั กัน เช่นการแยง่ อาหารของจระเข้ การแข่งขนั ด้านความสูงของต้นไม้เพอื่ รับแสงจากดวงอาทิตย์ 7) ภาวะเปน็ กลาง (neutralism) เป็นการดำรงชีวิตของสิง่ มชี ีวิตทท่ี ั้งสองฝ่ายไม่มี ผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน เช่นนกกับกระตา่ ยในทุง่ หญา้ ความสัมพันธข์ องสิง่ มีชวี ติ ดังท่ีไดก้ ล่าวมาแลว้ สามารถพบไดใ้ นระบบนเิ วศต้งั แต่ระบบนิเวศ ขนาดเล็กไปจนถงึ ระบบนิเวศขนาดใหญ่ และมผี ลต่อการเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรในระบบนเิ วศ

10. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ • วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ชวั่ โมงท่ี 1 ขนั้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (10 นาที) 1) ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละคนเขียนชื่อสิ่งแวดลอ้ มท่พี บเหน็ ในโรงเรยี นมาให้มากทีส่ ดุ ในเวลา 5 นาที โดยเป็นได้ท้ังพืชและสตั ว์ 2) ครถู ามคำถามนำเพื่อใหน้ กั เรียนร่วมกนั อภปิ ราย ดงั น้ี 1. สง่ิ ท่สี ำรวจพบในบริเวณต่างๆ มีอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ: ตอบตามความคิดของ นกั เรยี น) 2. ถ้าใช้เกณฑ์สิ่งมชี ีวิตและสิง่ ไมม่ ีชีวติ จะจัดส่ิงทพ่ี บไดอ้ ยา่ งไร (แนวคำตอบ: ตอบตาม ความคดิ ของนกั เรียน) 3. สิง่ มชี ีวติ ที่พบในแตล่ ะบรเิ วณมีอะไรบ้าง และแตกตา่ งจากในบรเิ วณอื่นหรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวคำตอบ: ตอบตามความคดิ ของนกั เรียน) 4. ส่งิ มีชีวิตแต่ละชนดิ ทน่ี กั เรียนเขยี นมา มีความสัมพนั ธก์ ันอย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ: ตอบตามความคดิ ของนกั เรยี น เชน่ ความสัมพันธ์ด้านแหลง่ ทอี่ ยู่อาศยั ความสัมพันธด์ า้ นแหลง่ อาหาร ความสมั พนั ธ์ด้านแหลง่ สบื พนั ธแ์ุ ละเลยี้ งดูลกู อ่อนและความสมั พันธ์ดา้ นแหล่งหลบภยั ) ข้ันที่ 2 สำรวจค้นหา (50 นาท)ี 3) ครใู ห้นกั เรียนแบ่งกลุ่ม ประมาณ 6 กลมุ่ ครูแจกกระดาษบรฟู ใหน้ กั เรียนกลมุ่ ละ 1 แผ่น พร้อมด้วยปากกาเคมี (เพ่อื ใชต้ กแต่ง) 4) ครชู แี้ จงกิจกรรม ฉนั กับเขาเรามีความสัมพันธก์ นั อยา่ งไร ซงึ่ มีขนั้ ตอน ดังนี้ 1. ใหน้ กั เรยี นจบั สลากคู่ของส่ิงมีชวี ิต ตอ่ ไปนี้ ได้แก่ ปลวกกบั โพรโทซวั ในลำไส้ปลวก (ภาวะพ่ึงพากัน)/ นกเอี้ยงกับควาย(ภาวะได้ประโยชนร์ ่วมกัน)/ หนกู บั แมว(ภาวะลา่ เหยอ่ื )/ เหาฉลามกับปลา ฉลาม(ภาวะองิ อาศัย)/ เหากับคน(ภาวะปรสิต)และแมงมมุ กบั กระต่าย (ภาวะเป็นกลาง) 2. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาข้อมูลจากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ป.5 เกี่ยวกับ ความสัมพนั ธ์ของสงิ่ มีชีวติ กับสิง่ มชี วี ติ และวิเคราะห์ว่าสง่ิ มีชีวติ ที่ตนจับสลากได้ มีความสมั พันธก์ ันอย่างไร โดยใชเ้ วลาในการวเิ คราะหแ์ ละนำเสนอลงขอ้ มลู ลงในกระดาษทคี่ รแู จกใหใ้ ชเ้ วลาประมาณ 15 นาที 3. เม่ือครบกำหนดครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ วนเป็นฐานเพื่อฟงั เพอื่ นนำเสนอเก่ยี วกบั ความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มชี วี ิตโดยแตล่ ะกลุม่ จะต้องมผี ู้นำเสนอประจำกล่มุ 1 คน ทตี่ ้องอยู่นำเสนอข้อมูลของ กล่มุ ตนเอง ใช้เวลาประมาณฐานละ 5 นาที 4. เมอ่ื หมดเวลาครูจะเป่านกหวีดให้สัญญานเปล่ยี นกลมุ่ ใหน้ ักเรยี นเดินวนเปน็ กล่มุ เขา้ ฐานจนครบทุกฐาน 5. เมือ่ ทุกกลุ่มเข้าฐานครบเรียบร้อย ครใู หน้ ักเรียนกลบั เข้าสกู่ ลุม่ เดมิ เพ่อื นำขอ้ มลู ท่ี เรียนร้มู าบอกตอ่ เพ่ือนท่ีเป็นผนู้ ำเสนอประจำกลุม่ 5) ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสรุปผลการทำกจิ กรรม

ชัว่ โมงท่ี 2 ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา (20 นาที) 6) ครทู บทวนเก่ียวกับกิจกรรม เร่อื ง ฉันกับเขาเรามีความสมั พนั ธ์กนั อย่างไร โดยใชค้ ำถาม ตอ่ ไปน้ี 1. จากกจิ กรรมความสัมพันธร์ ะหว่างสิ่งมชี วี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ ทีน่ ักเรยี นค้นพบ มีอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ: ภาวะพ่ึงพากนั / ภาวะได้ประโยชนร์ ว่ มกัน/ ภาวะล่าเหยอ่ื / ภาวะองิ อาศยั / ภาวะปรสิต/ ภาวะ แกง่ แยง่ และภาวะเป็นกลาง) 2. สิ่งมีชีวติ แต่ละชนิด มีความสมั พนั ธ์กันด้านใดบ้าง (แนวคำตอบ: ความสมั พนั ธ์ด้าน แหลง่ ที่อย่อู าศัย ความสัมพันธด์ า้ นแหล่งอาหาร ความสมั พนั ธ์ดา้ นแหลง่ สืบพนั ธุ์และเล้ียงดลู ูกอ่อนและ ความสัมพันธ์ดา้ นแหล่งหลบภยั ) 7) ครูชแ้ี จง เกม ฉันตอ้ งคู่กบั เธอ ซึง่ มขี ั้นตอนการเลน่ ดงั นี 1. ครใู ห้นกั เรียนจบั คู่เพื่อน จากนนั้ เขียนชือ่ ลงในบตั รเกม 2. ครบู อกความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวติ เช่น ภาวะพ่ึงพากัน ให้เวลานกั เรียน 1 นาที ในการ ระบุช่ือสิ่งมชี ีวติ ท่ีมคี วามสัมพันธก์ บั เป็นแบบพ่ึงพากนั ใหไ้ ด้จำนวนมากที่สุด 3. ทำเชน่ เดยี วกนั โดยครูบอกความสัมพนั ธ์ของสงิ่ มีชีวติ ได้แก่ ภาวะไดป้ ระโยชน์ ร่วมกนั / ภาวะล่าเหยอ่ื / ภาวะอิงอาศยั / ภาวะปรสิต/ ภาวะแก่งแย่งและภาวะเปน็ กลาง ไปทลี ะความสัมพนั ธ์ จนครบ (ให้เวลาความสมั พันธ์ละ 1 นาที ในการระบุช่ือสิ่งมชี วี ิตให้ได้จำนวนมากทีส่ ุด) 4. เม่ือครบกำหนดเวลา ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะคู่สรุปกันตรวจเพอ่ื หาคทู่ ีร่ ะบชุ ือ่ สิ่งมีชีวิตได้ ถกู ตอ้ งและมีจำนวนมากทส่ี ดุ 8) ครแู ละนักเรียนรว่ มกันในห้องร่วมกับอภปิ ราย พร้อมกัน ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (15 นาที) 9) ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปผลการทดลอง โดยใช้ PowerPoint สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ ป.5 สรปุ ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ 1. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างส่ิงมชี วี ติ กบั สงิ่ มชี ีวติ คอื การทีส่ ่งิ มีชวี ติ ตงั้ แต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป อาศยั อยใู่ นแหลง่ ทอ่ี ย่เู ดียวกนั เรยี กวา่ กล่มุ สง่ิ มีชีวติ จะมคี วามสัมพันธก์ ันหลายๆ ลักษณะ เพ่ือประโยชน์ตอ่ การ ดำรงชวี ิต โดยแบง่ ออกเปน็ 4 ด้าน ดังน้ี 1) ความสมั พนั ธด์ า้ นแหล่งทีอ่ ยอู่ าศัย 2) ความสัมพันธด์ ้านแหล่งอาหาร 3) ความสมั พันธ์ดา้ นแหลง่ สืบพันธ์ุและเลีย้ งดูลูกอ่อน 4) ความสมั พันธ์ด้านแหล่งหลบภัย 2. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี วี ิตต่างชนิดกนั แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ได้ ประโยชนร์ ว่ มกัน (+) เสยี ประโยชน์ (-) และไมไ่ ดไ้ มเ่ สียประโยชน์ (0) โดยมีลกั ษณะความสมั พนั ธ์ ดังน้ี ภาวะ พง่ึ พากัน/ ภาวะได้ประโยชนร์ ่วมกัน/ ภาวะลา่ เหยอื่ / ภาวะอิงอาศยั / ภาวะปรสิตและภาวะเปน็ กลาง ข้ันท่ี 4 ขยายความรู้ (10 นาท)ี 10) ครูให้นกั เรยี นดูภาพระบบนิเวศในป่า แลว้ ให้นกั เรยี นบอกความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวติ ภายในภาพวา่ เปน็ รปู แบบใด โดยใหไ้ ม่ซ้ำกนั

11) ครูสอบถามนักเรยี นเกย่ี วกับข้อสงสัย ว่านกั เรียนมขี อ้ สงสัยหรือต้องถามอะไรเพมิ่ เตมิ ใน หัวข้อใด โดยแจกกระดาษโน๊ตให้นักเรียนเพือ่ ให้นักเรยี นต้งั คำถาม ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (15 นาที) 12) นักเรยี นทำใบงาน เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี ีวติ กบั สิ่งมีชวี ิต 1 และ ใบงาน เรอ่ื ง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ิตกบั สง่ิ มีชีวติ 11. สื่อการเรียนรู้ 1) ส่ือการเรยี นรู้ 1.1) หนงั สอื เรยี น วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงาน เรือ่ ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ กบั สิง่ มชี วี ติ 1 และ ใบงาน เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งมีชวี ิตกับสงิ่ มชี ีวติ 2 1.3) PowerPoint สรุปความร้วู ิทยาศาสตร์ ป.5 1.4) บตั รภาพกจิ กรรม ฉนั กบั เขาเรามีความสัมพันธ์กนั อย่างไร 2) แหลง่ การเรยี นรู้ 2.1) หอ้ งเรียน 2.2) หอ้ งสมดุ 12. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ท่ี วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์ ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1 ใบงาน แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ การทำงานรายบคุ คล 2 สงั เกตพฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม แบบประเมินคุณลกั ษณะ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ในกิจกรรม อันพงึ ประสงค์ 3 สังเกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มั่นในการทำงาน

ภาคผนวก บตั รภาพกจิ กรรม ฉันกับเขาเรามีความสัมพันธ์กันอย่างไร ปลวกกับโพรโทซวั ในลำไสป้ ลวก นกเอย้ี งกับควาย หนกู บั แมว เหาฉลามกับปลาฉลาม เหากับคน แมงมมุ กับกระตา่ ย

ภาพ ระบบนิเวศป่าไม้ อา้ งอิงจาก https://th.aliexpress.com/item/handmade-3-pcs-set-black-white-modern-abstract- wall-art-oil-painting-on-canvas-pictures-unique/2004747695.html บตั รเกม ฉันต้องค่กู บั เธอ ชอื่ ........................................................เลน่ ที่....... ชอ่ื ........................................................เลน่ ท่.ี ...... ภาวะ............................... ( , ) ภาวะ............................... ( , ) สงิ่ มชี วี ติ ไดแ้ ก่ สงิ่ มชี วี ติ ไดแ้ ก่ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ..ภ....า..ว....ะ.................................................................................................(....,....).. .ภ..า.ว..ะ................................................................(..,..). .ส.ง.ิ่ .ม..ชี .วี..ติ ..ไ.ด..แ้..ก.่........................... .ส..ง่ิ .ม..ชี .ว.ี .ติ ...ไ.ด.แ.้ .ก..่ .......................... ........................................................................................ ............................................ ........................................................................................ ............................................. ................................................................ ............................................. ............................................ ............................................. ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ ............................................ .................... ............................................ ....................

ใบงาน เร่อื ง ความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ติ กับส่งิ มีชวี ติ 1

ใบงาน เร่อื ง ความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มีชวี ติ กับส่งิ มีชวี ติ 2

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 13 ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ส่งิ มชี ีวติ กับส่งิ แวดล้อม เวลา 1 ชั่วโมง เร่ือง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กับส่งิ ไม่มชี วี ิต 1. สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบทีม่ ตี ่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมแนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมทัง้ นำความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์ 3. ตัวช้วี ัด ว 1.1 ป.5/2 อธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมชี วี ติ กับสิง่ มีชีวติ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ มชี ีวติ กบั ส่ิงไมม่ ชี ีวติ เพ่ือประโยชน์ต่อการดำรงชวี ติ 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ในแหลง่ ท่อี ย่หู นึ่ง ๆ ส่ิงมชี ีวิตจะมคี วามสมั พันธซ์ ่งึ กนั และกนั และสัมพันธก์ ับส่ิงไม่มชี วี ิต เพ่อื ประโยชน์ ตอ่ การดำรงชวี ติ เชน่ ความสัมพนั ธก์ นั ด้านการกินกนั เปน็ อาหาร เป็นแหลง่ ท่ีอยูอ่ าศัยหลบภยั และเล้ียงดลู กู ออ่ น ใชอ้ ากาศในการหายใจ 5. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างสงิ่ มีชวี ติ กบั สงิ่ ไมม่ ชี ีวติ ได้ (K) 2) ใช้ทักษะการสังเกตและทักษะการตคี วามหมายขอ้ มูลและลงข้อสรปุ ในการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ ระหวา่ งส่งิ มชี วี ิตกับส่ิงไม่มชี ีวิตได้ (P) 3) รับผิดชอบและมุง่ มัน่ ในการทำงานที่ไดร้ บั มอบหมาย (A) 6. คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 1) มีวนิ ยั 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุง่ มัน่ ในการทำงาน 7. สมรรถนะทส่ี ำคัญ 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทกั ษะการเช่ือมโยง 2) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 8. ทกั ษะกระบวนการคิด การคิดวิเคราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ

9. เนือ้ หาสาระ ส่งิ มีชีวิตจะมคี วามสมั พันธ์ซึ่งกันและกนั และสมั พนั ธก์ ับสง่ิ ไม่มชี ีวิต เพอื่ ประโยชนต์ ่อการดำรงชีวิต ซ่ึง แบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ ได้แก่ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชวี ติ กับส่งิ มีชวี ติ และ 2.ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ส่ิงมชี วี ิตกบั สง่ิ ไมม่ ชี วี ติ ความสมั พันธร์ ะหว่างส่งิ มชี ีวิตกบั สง่ิ ไม่มีชีวติ สำหรบั ในการดำรงชวี ิตของสง่ิ มีชีวิตจำเป็นต้องอาศยั ส่ิงแวดลอ้ มต่างๆ เพือ่ ชว่ ยในการดำรงชวี ิต ซ่งึ สิ่งแวดล้อมจดั เปน็ ปัจจัยท่ีไม่มีชีวติ ในสิง่ แวดล้อมทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงชวี ิต จัดเปน็ สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ดังนี้ 1. แสง เป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น ในกระบวนการ สังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช การหุบและบานของดอกและใบของพืชหลายชนดิ เชน่ ใบไมยราบ ใบกระถินและ มีอทิ ธิพลต่อพฤติกรรมการออกหาอาหารของสัตว์ เปน็ ต้น 2. อุณหภมู ิ เปน็ ปัจจยั สำคญั ท่ีมีอิทธิพลต่อการดำรงชวี ิตของสิง่ มีชวี ิตหลายประการ อุณหภูมิมีผลต่อ พฤตกิ รรมบางประการของสัตว์ เชน่ การจำศลี ในฤดูหนาวของหมีข้วั โลก อณุ หภูมิมีผลต่อโครงสร้าง ลักษณะ และรูปร่างของสิ่งมีชีวติ เช่น สัตวใ์ นเขตหนาวจะมีขนาดตวั ท่ใี หญก่ วา่ สตั ว์ในเขตรอ้ น หรอื สตั ว์บางชนดิ ท่อี ยู่ใน เขตหนาวจะมีขนหนากว่าสตั วใ์ นเขตร้อน เปน็ ต้น 3. นำ้ เป็นวัตถดุ บิ ในการบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื และนำ้ ยังเป็นตัวทำละลายท่ีสำคัญท่ีทำ ให้แร่ธาตุต่างๆที่มีอยู่ในดนิ ละลายหรือซมึ สู่พืน้ ดินเพื่อให้พืชสามารถนำไปใช้ได้ เป็นปัจจยั ในการเจริญเติบโต ของพืช เป็นส่วนประกอบในร่างกายมนุษย์และสตั ว์ รวมทั้งเปน็ แหลง่ ที่อยูอ่ าศยั และแหล่งอาหารของสตั วน์ ้ำ และพืชน้ำตา่ งๆ 4. ดินและแร่ธาตุในดนิ เป็นปัจจัยสำคัญทีม่ ีอทิ ธพิ ลต่อการดำรงชวี ิต ดินเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมชี ีวิต และเป็นแหล่งอาหารของสัตว์บางชนิด เช่น ไส้เดือนดนิ ปลวก มด และดินยงั เป็นแหล่งแรธ่ าตุท่ีสำคัญของพืช อีกด้วย 5. อากาศ เป็นปจั จยั สำคญั ท่ีมีอิทธพิ ลต่อการดำรงชวี ิตของส่งิ มีชวี ิต เชน่ อากาศมีแก๊สออกซิเจน ซึ่ง เป็นส่วนประกอบที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตแทบทุกชนิดและช่วยในการเผาไหม้ ส่วนแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์เป็นปจั จัยในการสรา้ งอาหารของพชื 10. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ • วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ข้ันท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (10 นาที) 1) ครูนำคำถามที่นกั เรยี นสงสัยในชว่ั โมงทแ่ี ล้วที่ครูใหเ้ ขยี นลงในกระดาษโน๊ตมาตอบคำถาม นกั เรยี น โดยสมุ่ จับสลากมา 5 – 10 คำถาม 2) ครถู ามคำถามนำเพอื่ ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภปิ ราย ดงั นี้ 1. ส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั เรามีสิ่งมีชีวติ อย่างเดยี วหรือไม่ (แนวคำตอบ: ไม่ มสี ิ่งไมม่ ีชีวติ ดว้ ย) 2. สิ่งไม่มีชีวิต รอบตวั ของนกั เรียนมีอะไรบา้ ง (แนวคำตอบ: ตอบตามความคิดของ นกั เรียน ครอบคลุม นำ้ แสง อากาศ ดนิ และแร่ธาตุและอุณหภูมิ) 3. นกั เรยี นคดิ วา่ สิ่งมีชวี ิตและสงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ในส่ิงแวดลอ้ มมีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร (แนว คำตอบ: ตอบตามความคิดของนักเรียน เช่น แสงและนำ้ ชว่ ยให้พืชบเจรญิ เติบโต อากาศทำให้สามารถหายใจ ได้ ดินทำใหพ้ ชื มอี าหารจากแรธ่ าตุในดนิ เปน็ ต้น)

ข้ันท่ี 2 สำรวจคน้ หา (30 นาที) 3) ครูแบง่ นกั เรียนออกเปน็ 5 กลุ่ม จากนน้ั ใหต้ ัวแทนกลุ่มจับสลาก ปจั จยั ทไี่ มม่ ีชวี ิตใน ส่ิงแวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ แสง อุณหภูมิ อากาศ น้ำ ดินและแร่ธาตุ 4) ครใู หน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มระดมสมองเก่ยี วกบั ประเด็นดงั ต่อนี้ 1. ความสำคญั ของปจั จัยที่ไม่มชี ีวติ ในส่ิงแวดล้อมทต่ี นจับสลากได้ 2. ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ทมี่ ตี ่อพชื 3. ลกั ษณะความสัมพันธ์ท่มี ีต่อสตั ว์ 4. ยกตัวอย่างลกั ษณะความสมั พนั ธ์ทพ่ี บได้ในสิ่งแวดลอ้ มรอบตัวนักเรียน 5) นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอข้อมูลในประเด็นตา่ งๆ หน้าชัน้ เรยี นกลมุ่ ละ 5 นาที 6) ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั ในหอ้ งร่วมกบั อภิปราย พร้อมกัน ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (5 นาที) 7) ครอู ธิบายความรู้ เกีย่ วกับความสมั พนั ธ์ของสิ่งมีชีวติ กับสิง่ ไมม่ ชี ีวติ ซง่ึ เก่ียวขอ้ งกบั ปจั จัย ทไี่ ม่มีชวี ิตในส่งิ แวดล้อมที่จำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ ดงั น้ี 1. แสง เป็นปจั จัยสำคญั ทมี่ ีอทิ ธิพลต่อการดำรงชวี ติ ของส่งิ มีชวี ติ หลายชนิด เชน่ ใน กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื และ มีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤตกิ รรมการออกหาอาหารของสัตว์ เป็นต้น 2. อุณหภมู ิ มีผลต่อพฤตกิ รรมบางประการของสตั ว์ เชน่ การจำศลี ในฤดหู นาวของหมีขั้ว โลก อุณหภูมิมีผลต่อโครงสรา้ ง ลักษณะและรูปรา่ งของสง่ิ มชี ีวิต เช่น สัตวใ์ นเขตหนาวจะมขี นาดตวั ทใี่ หญก่ ว่า สัตวใ์ นเขตร้อน เปน็ ตน้ 3. น้ำ เป็นวตั ถดุ บิ ในการบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช เป็นปัจจยั ในการเจริญเตบิ โต ของพืช เปน็ สว่ นประกอบในรา่ งกายมนษุ ยแ์ ละสัตว์ รวมทงั้ เปน็ แหล่งท่อี ยู่อาศยั และแหลง่ อาหารของสัตว์น้ำ และพืชน้ำต่างๆ 4. ดนิ และแรธ่ าตุ ดนิ เปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของสิ่งมีชีวติ และเป็นแหลง่ อาหารของสัตวบ์ างชนดิ เช่น ไสเ้ ดือนดิน ปลวก มด และดนิ ยงั เปน็ แหล่งแรธ่ าตทุ ส่ี ำคัญของพชื อีกดว้ ย 5. อากาศ ภายในอากาศมีแกส๊ ออกซเิ จน ซึง่ เป็นสว่ นประกอบที่จำเป็นตอ่ การดำรงชวี ิต ของสิง่ มชี วี ิตแทบทุกชนดิ และชว่ ยในการเผาไหม้ ส่วนแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์เป็นปจั จยั ในการสร้างอาหาร ของพืช ขั้นท่ี 4 ขยายความรู้ (10 นาที) 8) ครูให้นกั เรียนดวู ดิ ีโอ เรอื่ ง ศาสตรพ์ ระราชา พร้อมดงั พรอ้ มคำถาม ต่อไปนี้ อา้ งอิงจาก https://www.youtube.com/watch?v=BP_jPs3Tyng

1. นักเรียนคดิ วา่ เพราะเหตุใด พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช บรม นาถบพติ ร จึงให้ความสำคัญตอ่ การศึกษาเก่ยี วกับ นำ้ ดิน แสง และอากาศ ในการพฒั นาดา้ นเกษตรและ คุณภาพชีวิตของคนไทย (แนวคำตอบ: ตอบตามความเข้าใจของนกั เรียน) 2. นกั เรยี นคิดว่า ปัจจัยปจั จัยทไ่ี ม่มชี ีวติ ในสิ่งแวดลอ้ ม มีความสำคญั อยา่ งไร (แนว คำตอบ: ตอบตามความเข้าใจของนกั เรยี น) 9) ครสู อบถามนกั เรยี นเกีย่ วกับขอ้ สงสัย หรอื ต้องถามอะไรเพม่ิ เติมเก่ียวกับความสมั พันธ์ ระหว่างส่ิงมชี ีวิตกบั สงิ่ ไม่มีชวี ติ โดยเปดิ โอกาสให้นกั เรียนยกมอื ถาม ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (5 นาที) 10) นกั เรยี นทำใบงาน เรือ่ ง ความสัมพันธร์ ะหว่างส่งิ มชี วี ติ กบั ส่งิ ไมม่ ีชวี ติ 11. สอ่ื การเรียนรู้ 1) สือ่ การเรียนรู้ 1.1) หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงาน เรื่อง ความสมั พันธ์ระหวา่ งสิง่ มีชีวิตกบั สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ 1.3) PowerPoint สรุปความรวู้ ิทยาศาสตร์ ป.5 1.4) วิดโี อ เรือ่ ง ศาสตรพ์ ระราชา 2) แหล่งการเรียนรู้ 2.1) ห้องเรียน 2.2) หอ้ งสมดุ 12. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ท่ี วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1 ใบงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ การทำงานรายบุคคล 2 สังเกตพฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ในกจิ กรรม อนั พงึ ประสงค์ 3 สังเกตความมวี ินัย ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มัน่ ในการทำงาน

ภาคผนวก ใบงาน เรอ่ื ง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมชี วี ติ กบั ส่งิ ไมม่ ชี วี ติ

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 4 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 13 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 สิง่ มีชวี ติ กบั สง่ิ แวดลอ้ ม เวลา 2 ชวั่ โมง เรือ่ ง โซ่อาหารและการถา่ ยทอดพลังงานของส่งิ มีชวี ติ 1. สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมแนวทางในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อมรวมทัง้ นำความรู้ไป ใชป้ ระโยชน์ 3. ตวั ช้ีวดั ว 1.1 ป.5/3 เขียนโซ่อาหารและระบบุ ทบาทหน้าทขี่ องสิง่ มชี ีวติ ทีเ่ ปน็ ผ้ผู ลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อาหาร 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด สิง่ มีชวี ติ มกี ารกินกนั เปน็ อาหาร โดยกินตอ่ กันเปน็ ทอด ๆ ในรูปแบบของโซอ่ าหาร ทำให้สามารถระบุ บทบาทหน้าท่ขี องสงิ่ มชี วี ติ เปน็ ผู้ผลิตและผบู้ ริโภค 5. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธิบายโซอ่ าหารและส่งิ มชี ีวิตท่เี ปน็ ผู้ผลิตและผบู้ ริโภคได้ (K) 2) เขยี นโซอ่ าหารและระบบุ ทบาทหน้าที่ของส่งิ มีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซอ่ าหารได้ (P) 3) รบั ผดิ ชอบและม่งุ มน่ั ในการทำงานท่ีได้รับมอบหมาย (A) 6. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1) มวี ินยั 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุ่งมั่นในการทำงาน 7. สมรรถนะทส่ี ำคญั 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทักษะการเชอื่ มโยง 2) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 8. ทักษะกระบวนการคิด การคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ 9. เนอ้ื หาสาระ สง่ิ มชี วี ติ มีการกนิ กนั เป็นอาหาร โดยกนิ ต่อกนั เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซ่อาหาร ทำให้สามารถระบุ บทบาทหน้าทข่ี องสิง่ มชี วี ิตเป็นผ้ผู ลิตและผบู้ ริโภค และทำใหเ้ กิดการถ่ายทอดพลังงานจากผู้ผลิตไปยังผูบ้ รโิ ภค โครงสรา้ งของกลมุ่ สิ่งมชี ีวิตในระบบนเิ วศ แบง่ ได้ 3 พวก ไดแ้ ก่ 1. ผ้ผู ลิต (Producer) ได้แก่ พืชสีเขยี ว แพลงกต์ อนพชื ไซยาโนแบคทเี รยี 2. ผบู้ รโิ ภค (Consumer) สิง่ มีชีวติ ที่ไมส่ ามารถสร้างอาหารเองได้

2.1 ผบู้ ริโภคพชื (Herbivores) เชน่ กระต่าย กวาง ววั ควาย ชา้ ง มา้ แพะ 2.2 ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivores) เช่น สงิ โต งู เสือ จระเข้ เหย่ียว 2.3 ผบู้ รโิ ภคทัง้ พืชและสัตว์ (Omnivores) เชน่ คน หมู ลงิ สุนัข 2.4 ผบู้ รโิ ภคซากพืชซากสัตว์ (Scavenger) เชน่ แรง้ (กนิ ซากศพ) ไส้เดอื นดิน 2.5 ผู้บรโิ ภคเศษอินทรีย์ (Detritivore) เชน่ ไสเ้ ดือนดิน (กนิ ซากเน่าเปื่อยผพุ ัง) 3. ผยู้ ่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer) ส่ิงมชี วี ิตที่สร้างอาหารเองไม่ไดแ้ ตจ่ ะได้รับอาหารโดยการ สร้างเอนไซมอ์ อกมาย่อยสลายซากของสิ่งมีชวี ติ ของเสยี กากอาหาร แล้วดดู ซึมไปใช้ ได้แก่ แบคทเี รยี เห็ด รา หว่ งโซ่อาหาร (Food chain) หมายถงึ การถา่ ยทอดพลังงานของสงิ่ มชี วี ติ เปน็ ทอด ๆ เปน็ ความสมั พันธ์ของสิง่ มชี ีวติ ทีม่ ีการบริโภคต่อ ๆ กนั จากผ้ผู ลิตสผู่ บู้ ริโภค ในหว่ งโซอ่ าหารประกอบไปด้วยทัง้ ผู้ผลิต ผู้บรโิ ภค และผ้ยู ่อยสลาย 10. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ • วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ชั่วโมงท่ี 1 ขั้นที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (15 นาที) 1) ครูใหน้ ักเรียนดูคลิปวดิ ีโอ “สงิ โตพ่งุ ตะครุบเหย่ือกลางทุง่ หญ้า” อา้ งองิ จาก https://www.youtube.com/watch?v=LypD7uqJIRw ครตู ้ังคำถามจากวดิ โี อ ดงั น้ี 1. จากวิดีโอนกั เรยี นคิดวา่ มรี ะหว่างลูกววั และสงิ โต เป็นความสมั พันธข์ องสิง่ มีชีวิต รปู แบบใด (แนวคำตอบ: เป็นรปู แบบความสัมพนั ธแ์ บบภาวะลา่ เหย่ือ) 2. จากการสงั เกตนักเรยี นคดิ วา่ ลูกวัวกำลังทำอะไรอย่ทู ี่ทงุ่ หญา้ (แนวคำตอบ: กำลงั กนิ หญา้ หรือกำลงั นอนพกั แล้วแต่ความคิดของนกั เรยี น) 2) ครูถามคำถามนำเพอ่ื ให้นักเรียนรว่ มกนั อภปิ ราย “การทีล่ กู ววั กินหญ้าเปน็ อาหาร จากน้นั ลกู วัวโดนสิงโตกินเปน็ อาหาร เปน็ ความสมั พนั ธด์ ้านใด” (แนวคำตอบ: ความสัมพันธด์ ้านการกนิ อาหาร โดนมี การกนิ กันเป็นทอดๆ) ขนั้ ท่ี 2 สำรวจค้นหา (45 นาท)ี 3) ครูชแ้ี จงกจิ กรรม โซ่อาหารและการถ่ายทอดพลังงาน ดงั นี้ 1. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กลุ่มละ 4 – 5 คน จากนัน้ ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มดูภาพส่งิ มีชวี ิต ตา่ งๆ ซึง่ แตล่ ะกลมุ่ จะได้สิ่งมีชีวติ ในชดุ แตกตา่ งกนั ได้แก่

ชดุ ที่ 1 ข้าวโพด ตกั๊ แตน ก้งิ ก่า และงู ชดุ ที่ 2 หญา้ กระตา่ ย งู และนกอินทรีย์ ชุดที่ 3 ข้าว ตั๊กแตน กบ และนก ชดุ ท่ี 4 แครอท กระตา่ ย สนุ ัขป่า และสิงโต ชุดที่ 5 ผลไม้ หนอน ไก่ และคน 2. ครูให้นักเรียนเรียงลำดบั การกนิ ของสงิ่ มชี ีวติ ต่างๆ โดยการวาดภาพแสดงการกนิ ของ สิ่งมีชีวิตลงในกระดาษบรฟู ที่ครแู จกให้ 3. ครูให้นักเรยี นตอบคำถาม ดงั นี้ - ส่งิ มีชวี ติ ต่างๆ ได้รบั พลังงานเพือ่ นำมาใช้ในการทำกจิ กรรมต่างๆ ในชวี ิตประจำวนั ได้ อย่างไร (แนวคำตอบ: จากการบริโภคส่ิงมีชวี ิตต่างๆ) - จากภาพนักเรียนแบง่ สง่ิ มีชวี ิต ออกเป็นกีป่ ระเภท (แนวคำตอบ: 2 ประเภท คอื สิง่ มีชวี ติ ท่ี กนิ พืชและสิ่งมชี วี ิตท่ีกนิ สัตวเ์ ป็นอาหาร (ผบู้ รโิ ภคพชื และผบู้ ริโภคสัตว)์ ) - นักเรียนคดิ ว่าพชื ทสี่ งิ่ มชี วี ติ กนิ มีพลงั งานหรือไม่ และถ้ามีพลังงานน้ันไดม้ าจากทไ่ี หน (แนว คำตอบ: ในพืชมีพลังงาน โดยเป็นพลงั งานที่ได้จากดวงอาทิตย์ผา่ นกระบวนการสงั เคราะหแ์ สงของพชื (พืชคอื ผูผ้ ลิต) - แลว้ สงิ่ มชี ีวติ ท่กี ินสตั ว์จะได้รับพลังงานน้ันหรือไม่ (แนวคำตอบ: ไดร้ บั พลังงาน เพราะมีการ ถ่ายทอดพลงั งานทีเ่ กดิ จากการกนิ กนั เปน็ ทอดๆ) - ในสิ่งแวดล้อมจำเป็นหรอื ไม่ท่ีผูบ้ รโิ ภคพชื ตอ้ งกินพชื อยา่ งเดยี ว (แนวคำตอบ: ไมจ่ ำเป็น เพราะสง่ิ มชี ีวติ บางชนิดกินทัง้ พืชและสตั ว์ เชน่ คน เป็นต้น) 4) ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปรายสรุปผลการทำกจิ กรรม 5) นักเรียนทำใบงาน โซอ่ าหาร 1 ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน้ หา (25 นาที) 6) ครทู บทวนเก่ยี วกับกิจกรรม โซอ่ าหารและการถ่ายทอดพลังงาน โดยใชค้ ำถามดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สง่ิ มีชีวติ ท่โี ดนกนิ เป็นอนั ดับแรก มักเปน็ สิ่งมีชวี ิตจำพวกใด (แนวคำตอบ: พชื ตา่ งๆ) 2. พืชไดร้ บั พลังงานจากดวงอาทิตย์ ถอื ว่าเป็นอะไรในสงิ่ แวดลอ้ ม (แนวคำตอบ: ผู้ผลิต) 3. สงิ่ มชี ีวิตที่กนิ พืชและสตั วใ์ นลำดับต่อมาเรียกวา่ อะไร (แนวคำตอบ: ผู้บรโิ ภค) 4. ถา้ สงิ่ มชี ีวิตทเี่ ป็นผบู้ ริโภคตายลงจะมสี ง่ิ ใดกนิ หรอื ไม่ และเรยี กว่าอะไร (แนวคำตอบ: มสี ง่ิ มีชีวิตกิน เรยี กวา่ ผู้ย่อยสลาย) 7) ครูช้ีแจงกิจกรรม นกั สำรวจนอ้ ย ซงึ่ มขี ั้นตอน ดังน้ี 1. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน (กลมุ่ เดิมจากชัว่ โมงที่แล้ว) จากนน้ั ให้นกั เรยี น ลงสนาม สวนหย่อมหรอื บริเวณแปลงเกษตรของบรเิ วณโรงเรียนเพ่อื สำรวจสิ่งมชี วี ิตใหไ้ ด้เยอะท่ีสุดภายในเวลา 10 นาที 2. ให้นักเรียนนำสง่ิ มีชีวิตท่ีสำรวจไดม้ าทำแผนภาพโซ่อาหารหรอื การกจิ กนั เป็นทอดๆ โดยให้มี ผ้ผู ลิต ผ้บู รโิ ภคและผู้ยอ่ ยสลาย 3. นักเรียนนำเสนอขอ้ มูลที่กลมุ่ ตนเองดำเนนิ การสำรวจ 8) ครูและนกั เรียนร่วมกันในห้องรว่ มกบั อภปิ ราย พร้อมกนั

ข้ันที่ 3 อธบิ ายความรู้ (15 นาที) 9) ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ โดยใช้ PowerPoint สรปุ ความรู้วทิ ยาศาสตร์ ป.5 สรุป ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ 1. ห่วงโซ่อาหาร (Food chain) หมายถึง การถา่ ยทอดพลังงานของสงิ่ มีชีวิตเปน็ ทอด ๆ เปน็ ความสัมพันธ์ของสง่ิ มชี วี ติ ทมี่ ีการบริโภคต่อ ๆ กนั จากผผู้ ลติ สู่ผู้บริโภค ในห่วงโซ่อาหารประกอบไปดว้ ยท้งั ผูผ้ ลิต ผู้บรโิ ภค และผู้ย่อยสลาย 2. โครงสรา้ งของกลมุ่ สิ่งมีชีวติ ในระบบนเิ วศ แบ่งได้ 3 พวก ไดแ้ ก่ 2.1. ผผู้ ลิต (Producer) ไดแ้ ก่ พืชสเี ขยี ว แพลงกต์ อนพืช ไซยาโนแบคทีเรยี 2.2. ผู้บรโิ ภค (Consumer) สิง่ มชี วี ิตท่ีไมส่ ามารถสรา้ งอาหารเองได้ 2.2.1 ผบู้ ริโภคพชื (Herbivores) เช่น กระต่าย กวาง วัว ควาย ช้าง มา้ แพะ 2.2.2 ผู้บรโิ ภคสัตว์ (Carnivores) เช่น สงิ โต งู เสือ จระเข้ เหย่ยี ว 2.2.3 ผบู้ รโิ ภคทัง้ พืชและสัตว์ (Omnivores) เชน่ คน หมู ลิง สนุ ขั 2.2.4 ผู้บริโภคซากพชื ซากสัตว์ (Scavenger) เชน่ แร้ง (กินซากศพ) 2.2.5 ผบู้ ริโภคเศษอินทรีย์ (Detritivore) เช่น ไส้เดอื นดิน (กนิ ซากเนา่ เปือ่ ยผุพัง) 2.3. ผูย้ ่อยสลายอินทรยี สาร (Decomposer) สง่ิ มชี วี ติ ทีส่ รา้ งอาหารเองไมไ่ ดแ้ ต่จะได้รบั อาหารโดยการสร้างเอนไซม์ออกมาย่อยสลายซากของสงิ่ มีชวี ติ ของเสีย กากอาหาร แล้วดดู ซมึ ไปใช้ ไดแ้ ก่ แบคทเี รยี เห็ด รา ขนั้ ท่ี 4 ขยายความรู้ (10 นาที) 10) ครูถามคำถามนักเรยี น เพื่อขยายความรู้ ดงั น้ี 1. ผู้บรโิ ภคลำดบั สุดทา้ ยไดร้ บั พลังงานท่มี าจากแสงของดวงอาทติ ย์ ได้อยา่ งไร (แนว คำตอบ: การถ่ายทอดพลังงานจากการกนิ กันเปน็ ทอดๆ โดยพลังงานจะถกู สง่ ต่อมายังผู้บรโิ ภคลำดับสดุ ท้าย) 2. พลงั งานงานทผ่ี ูบ้ รโิ ภคลำดับสุดทา้ ยได้ จะมีมากหรือนอ้ ย เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ: พลงั งานท่ีผูบ้ รโิ ภคลำดับสุดท้ายไดจ้ ะมนี ้อยกวา่ ผู้บรโิ ภคลำดับตน้ ๆ เพราะพลงั งานถกู บริโภคลำดบั ต้นๆ ใช้ใน กจิ กรรมต่างๆ ไปแล้ว) 3. หากในสิ่งแวดลอ้ มมผี ู้ผลิตนอ้ ยลงอย่างมาก จะสง่ ผลอยา่ งไรตอ่ สิ่งแวดล้อมหรอื ระบบ นิเวศ (แนวคำตอบ: สง่ ผลต่อการกนิ อาหารของผู้บรโิ ภคเพราะผูผ้ ลิตซึ่งเปน็ แหลง่ พลังงานหลักน้อยลงทำให้ อาหารของส่ิงมีชีวิตนอ้ ยลง อาจทำให้สงิ่ มีชวี ติ ตา่ งๆ ปรับตวั ไม่ทนั และเกดิ การสูญพันธุ์ได้) ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (10 นาท)ี 11) นักเรียนทำใบงาน เรื่อง โซ่อาหาร 1 และ โซ่อาหาร 2 11. สอ่ื การเรยี นรู้ 1) ส่อื การเรียนรู้ 1.1) หนังสอื เรียน วิทยาศาสตร์ ป.5 1.2) ใบงาน เรอื่ ง โซ่อาหาร 1 และ โซ่อาหาร 2 1.3) PowerPoint สรปุ ความรู้วิทยาศาสตร์ ป.5 1.4) บัตรภาพกิจกรรม โซ่อาหารและการถ่ายทอดพลังงาน 2) แหลง่ การเรียนรู้ 2.1) หอ้ งเรียน

2.2) หอ้ งสมุด 12. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ท่ี วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์ ใบงาน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 1 ใบงาน แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ การทำงานรายบคุ คล 2 สงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นรว่ ม แบบประเมินคณุ ลักษณะ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ในกิจกรรม อนั พึงประสงค์ 3 สงั เกตความมีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน

ชุดภาพท่ี ภาคผนวก 1 บัตรภาพกิจกรรม โซอ่ าหารและการถ่ายทอดพลงั งาน ภาพกจิ กรรม 2 3 4 5 หมายเหตุ : ภาพทใ่ี ห้นกั เรยี นในกิจกรรมควรเป็นภาพเดียวของส่ิงมชี วี ติ แต่ละชนิดเพือ่ ใหน้ กั เรยี นนำมา เรียงเป็นแผนภาพโซ่อาหารเอง

ใบงาน เร่อื ง โซอ่ าหาร 1

ใบงาน เร่อื ง โซอ่ าหาร 2

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 13 ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ส่ิงมชี วี ติ กบั สิง่ แวดล้อม เวลา 1 ชว่ั โมง เร่อื ง การดูแลรักษาส่งิ แวดล้อม 1. สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมแนวทางในการอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดลอ้ มรวมทงั้ นำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 3. ตัวชวี้ ดั ว 1.1 ป.5/4 ตระหนักในคณุ คา่ ของสง่ิ แวดลอ้ มที่มีตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่งิ มีชวี ิต โดยมีส่วนรว่ มในการ ดูแลรักษาสง่ิ แวดล้อม 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมในธรรมชาตลิ ว้ นมคี วามเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์จงึ ทำให้เกดิ ความสมดุลของ ธรรมชาติ เมื่อมนษุ ย์ทำลายสง่ิ แวดล้อมจึงก่อให้เกิดผลกระทบต่อสง่ิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติจึงเสยี สมดลุ ไปในท่ีสดุ 5. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1) ตระหนักในคณุ คา่ ของส่ิงแวดลอ้ มท่ีมีตอ่ การดำรงชวี ติ ของส่ิงมชี วี ติ (K) 2) รว่ มรณรงค์และมสี ว่ นร่วมในการดแู ลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม (P) 3) รบั ผิดชอบและมงุ่ มน่ั ในการทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย (A) 6. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ 1) มวี นิ ัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุง่ ม่ันในการทำงาน 7. สมรรถนะท่สี ำคัญ 1) ความสามารถในการคิด 1.1) ทกั ษะการสำรวจค้นหา 1.2) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 2) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 8. ทักษะกระบวนการคดิ การคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ 9. เนื้อหาสาระ สงิ่ แวดลอ้ ม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ทอ่ี ย่รู อบตัวเรา ทง้ั ส่งิ ทมี่ ชี ีวิต ส่งิ ไม่มีชวี ิต เหน็ ได้ดว้ ยตาเปล่า และไม่ สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า รวมทงั้ สิง่ ท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ และสิ่งทีม่ นุษย์เป็นผู้สรา้ งข้ึน หรอื อาจจะกล่าวได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook