Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลักษณะรอยต่อและท่าเชื่อม

ลักษณะรอยต่อและท่าเชื่อม

Published by Warunya Chuenmueang, 2022-05-31 03:21:04

Description: ลักษณะรอยต่อและท่าเชื่อม

Search

Read the Text Version

กระบวนการเช+ือมไฟฟ้ าดว้ ยลวดเชื+อมหมุ้ ฟลกั ซ์ เรอ$ื ง ลกั ษณะรอยต่อและท่าเชื$อม งานเชื'อมและโลหะแผน่ เบ2ืองตน้ (78988-988;) อาจารยผ์ สู้ อน วิชดุ า ยเ'ี จรญิ

ลกั ษณะรอยต่อในงานเชื3อมไฟฟ้ า (Type of Joint)

ต่อชน (Butt joint) เป็ นการนําขอบของช/ินงาน สองช/ินมาชนกนั โดยผิวของ ช/ินงานท/้งสองอย่ใู นระนาบ เดียวกนั

ต่อเกย (Lab joint) เป็ นการนําช/ินงานสองช/ิน ว า ง ซ้อ น กัน ห รื อ เ ก ย กัน รอยต่อแบบน/ีใชแ้ นวเชืEอมฟิ ล เล็ท (Fillet)

ต่อขอบ (Edge joint) เป็ นการนําขอบของช/ินงาน สองช/ินมาชนกนั ในลกั ษณะ ผิ ว ข อ ง ช/ิ น ง า น ท้/ ง ส อ ง ม า ทาบกนั แนบชิดกนั ขนานกนั ตลอดแนว

ต่อมมุ (Corner joint) เป็ นการนําขอบของช/ินงาน สองช/ินมาชนกนั โดยผิวของ ช/ิ น ง า น ท/้ง ส อ ง ทํ า มุม กัน ประมาณ RS องศา

ต่อตวั ที (T-joint) เป็ นการนําขอบของช/ินงาน ช/ินหนEึงต/ังบนผิวงานอีกช/ิน ในลกั ษณะรปู ตวั ที ซึEงจะบาก ขอบงานหรือไม่ก็ไดข้ /ึนอยกู่ บั ความหนา

ลกั ษณะของแนวเช3ือมในงานเชื3อมไฟฟ้ า (Type of welds) จากลกั ษณะพ/ืนฐานของรอยต่อ ทงั/ [ ชนิด คือ ต่อชน ต่อเกย ต่อ ขอบ ต่อมมุ และตัวต่อที ทําให้ เ กิ ด แ น ว เ ชืE อ ม ข/ึ น ทีE ร อ ย ต่ อ \\ ชนิดดว้ ยกนั

แนวเชื่อมแบบสันนูน (Bead Weld) รอยเชื่อมลักษณะนี้จะเกิดขึ้นกับ ชน้ิ งานท่เี ชื่อมพอกหลายๆ แนว

แนวเชื่อมแบบบากหน:างาน (Groove Weld) แนวเชื่อมลักษณะนี้จะบาก ชิ้นงานแตกตBางกันไปตามความ หนาของช้นิ งาน

แนวเชอื่ มฉาก (Fillet Wed) แนวเชื่อมลักษณะนี้สBวนมากจะ เปGนรอยตBอเกย ตBอตัวที เพราะ ลักษณะการเติมโลหะของลวด เชื่อมจะเปนG สามเหลยี่ ม

รอยเช่อื มอุด (Plug Weld) แนวเชื่อมแบบนี้จะเกิดขึ้นกรณีท่ี รอยตBอจะซJอนกันโดยชิ้นงาน แผBนบนเจาะเปGนรู

ลกั ษณะท่าเชื3อม (Welding Position) ลกั ษณะท่าเชEือมจะมี ] ลกั ษณะ คือ ท่าของผเู้ ชืEอมและท่าการวาง ช/ินงาน เช่น งานแผ่น งานตัวที และงานท่อ ซึEงมีความสมั พนั ธก์ นั โดยมีลกั ษณะท่าเชEือม \\ ท่าเชEือม ดงั น/ี

ท่าราบ (Flat position) สามารถควบคมุ การเชEือมได้ สะดวกทีEสดุ ช/ินงานจะวาง ราบกับพ/ืน (สําหรับงานทีE เป็ นแผ่น) แต่ถา้ เป็ นรอยต่อทEี จะวางช/ินงานหงายรอยต่อ โดยผเู้ ชืEอมจะเติมลวดเชEือม ดา้ นบนของรอยต่อ

ท่าขนานนอน, ท่าระดบั (Horizontal Position) แนวเชืEอมอย่ดู ้านข้างของ ช/ินงาน ช/ินงานจะวางตงั/ โดย รอยต่อจะยาวขนานกับพ/ืน (สําหรบั งานทEีเป็ นแผ่น) แต่ ถ้ารอยต่อเป็ นตัวทEีจะวาง ช/ินงานตวั ทีราบกบั พ/ืน

ท่าตงัb (Vertical Position) แนวเชEือมอยดู่ า้ นขา้ งช/ินงาน และจะตง/ั ฉากกบั พ/ืนท่าเชEือม แ บ่ ง ก า ร เ ชืE อ ม อ อ ก ไ ด้ ] ลักษณะ คือ การเชืEอมจาก ด้า น ล่ า ง ข อ ง ร อ ย ต่ อ ข/ึ น ด้า น บ น แ ล ะ ก า ร เ ชEื อ ม จ า ก ดา้ นบนลงสดู่ า้ นลา่ ง

ท่าเหนือศีรษะ (Overhead Position) แนวเชืEอมอย่ดู ้านล่างของ ร อ ย ต่ อ หั ว เ ชEื อ ม จ ะ อ ยู่ ด้านล่างช/ินงาน น/ําโลหะทEี หลอมละลายจะไหลยอ้ ยลง มา ถือเป็ นท่าเชEือมทEียากมาก ทีEสดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook