Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ เร่ื่อง มาตรฐานอาชีพ

ใบความรู้ เร่ื่อง มาตรฐานอาชีพ

Published by s.sk2548, 2018-03-28 05:55:18

Description: ใบความรู้เรื่องมาตรฐานอาชีพ

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 2 มาตรฐานอาชีพมาตรฐานอาชีพ ความหมายของมาตรฐานอาชีพ ตามความหมายของมาตรฐานอาชีพ (Occupation Standard) ฝีมอื แรงงานแห่งชาติ (กรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน 2556 : 1) มาตรฐานอาชีพ คือ ข้อกาหนดทางวิชาการที่ใช้เปน็ เกณฑว์ ดั ระดบั ความรู้ความสามารถและทศั นคติ ในการทางานของผ้ปู ระกอบอาชีพในสาขาต่างๆ มาตรฐานอาชพี ตามแนวคิดของฉัตรชาญ ทองจับ(2553 : 36) กลา่ วว่า เป็นการกาหนดมาตรฐานของสมรรถนะ รวมทั้งความรู้และความเขา้ ใจทคี่ าดหวงั วา่ บุคลากรจะบรรลุสาหรับอาชีพหน่ึง มาตรฐานอาชพี นีใ้ ชเ้ ป็นฐานในการกาหนดและประเมินเพ่ือให้ได้คุณวฒุ ิวชิ าชพี(Vocation Qualification = VQ) สรุปแล้ว มาตรฐานอาชีพ หมายถึงข้อกาหนดทเี่ ป็นเกณฑ์เกย่ี ว ความร้คู วามสามารถและทัศนคติท่ีคนสามารถใช้ในการทางานในอาชพี ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ องคป์ ระกอบสาคญั ของมาตรฐานอาชีพ มาตรฐานอาชพี มีองคป์ ระกอบที่สาคัญ 3 สว่ นดงั นี้1. ความรู้(Knowledge) ความรู้เปน็ สง่ิ จาเปน็ ท่ีจะใช้งานนนั้ ๆ ได้ถูกต้องตามหลกั วิชาการหรอื หลักทฤษฎีในอาชีพตา่ งๆ2. ทกั ษะ (Skill) ทักษะเป็นการสะสมประสบการณจ์ นเกดิ ความชานาญ มีความสามารถเพียงพอทจ่ี าทางานไดอ้ ยา่ งมคี ุณภาพตามข้อกาหนดและแล้วเสรจ็ เชน่ ทกั ษะอาชพี ช่างไฟฟ้าภายนอกอาคารสามารถติดต้ังซ่อมแซม แกป้ ญั หาเกย่ี วกับระบบไฟฟ้านอกอาคารได้ทุกวิธี โดยถกู ต้องและปลอดภัย เป็นตน้ รูปที่ 2.1 อาชพี ช่างไฟฟา้ ที่ใชท้ ักษะในการทางาน

3. ทศั นคต(ิ Attitude) มจี ติ สานกึ ในการทางานทด่ี ี ซง่ึ เปน็ เรื่องเกย่ี วกับนิสยั ในการประกอบอาชีพ เชน่ การตรงตอ่ เวลา การรกั ษาวินัยมีความซ่ือสัตย์ ประหยัด และวิเคราะหว์ างแผน แก้ไขปญั หาในการทางาน โดยคานงึ ถงึ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลในการทางาน ซึ่งทัศนคติน้ีมีความสาคญั มากในการประกอบอาชีพ ทุกอยา่ งในยุคสมยั ใหม่ ท่ีเจริญกา้ วหนา้ ด้วยเทคโนโลยี ประเภทมาตรฐานอาชีพ กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน โดยกองมาตรฐานฝีมือแรงงานได้แบ่งประเภทมาตรฐานอาชพี ออกเป็น 4 ประเภทดังน้ี1. มาตรฐานอาชีพเฉพาะ มาตรฐานอาชพี เฉพาะเปน็ มาตรฐานท่ีกาหนดขึ้นเพอื่ รับรองฝีมอื แรงงาน ซง่ึ มวี ตั ถุประสงค์เฉพาะ เช่น 1. เพ่ือคนหางานที่ต้องการไปทางานตา่ งประเทศ 2. ตามความตอ้ งการของสถานประกอบการท่ีออกให้ 3. ตามความต้องการของแรงงานจังหวัด2. มาตรฐานอาชีพแหง่ ชาติ เป็นมาตรฐานทีท่ าการรา่ งโดยผ้เู ชี่ยวชาญแต่ละสาขาอาชะี และคณะกรรมการส่งเสริมอาชพี ให้การอนมุ ัติโดยมีการจัดทาและปรับปรงุ เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยสี มยั ใหม่3. มาตรฐานอาชพี ของอาเซียน เปน็ มาตรฐานท่ีจาเปน็ ที่จะต้องร่วมมอื กนั จดั ทาข้ึน จากประเทศสมาชกิ อาเซียนทัง้ 10 ประเทศ เนอื่ งจากนบั ตัง้ แต่ปี 2558 เป็นต้นไป จะมีการเคลือ่ นยา้ ยแรงงาน หรอื ประกอบอาชพี ต่างๆ ในกลุ่มอาเซียนอย่างเสรี4. มาตรฐานอาชีพนานาชาติ รูปท่ี 2.2 การทดสอบมาตรฐานอาชพี

ประโยชนข์ องมาตรฐานอาชีพ1. ประโยชน์ต่อภาคเอกชน/สถานประกอบการ มาตรฐานอาชีพมีประโยชน์ต่อภาคเอกชนหรือสถานประกอบการ ดังนี้ 1. ไดบ้ ุคคลท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะฝีมือ และทัศนคติทด่ี ีตอ่ การทางาน 2. ไดร้ บั ความร่วมมือในการพฒั นาอาชีพร่วมกันระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน 3. สถานประกอบการได้รับผูเ้ ข้าทางานทีม่ ฝี ีมือตามมาตรฐาน 4. ลดปัญหาหรอื ลดความเสยี หายในกระบานการผลติ 5. มีการประหยดั และไดร้ ับผลผลติ เพิ่ม 6. ไดส้ นิ คา้ และบริการที่มคี ณุ ภาพและแข่งขันได้ รูปท่ี 2.3 มาตรฐานโรงงานอตุ สาหกรรม2. ประโยชน์ต่อรัฐบาล 1. ใชใ้ นการจดั ระดบั กาลังแรงงานของชาติ 2. ใชเ้ ป็นแนวทางในการประกอบการพิจารณาจาดทาสตู รฝึกอบรมแรงงาน 3. พัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ใหส้ ามารถแข่งขนั ในระดับนาๆชาติได้ 4. ประเทศมฝี ีมือเพมิ่ ข้ึน สอดคล้องกับทิศทางและความตอ้ งการของธุรกิจ 5. ประชาชนมที ัศนคติที่ดตี ่อรัฐบาลเนื่องจากไดร้ บั ความคุม้ ครองที่ดจี ากภาครฐั3. ประโยชน์ต่อประชาชน 1. ประชาชนไดร้ ับสนิ คา้ และบริการที่พงึ พอใจ 2. ประชาชนได้ใช้สนิ คา้ ที่มีคุณภาพดี ทนทาน ปลอดภัย 3. ประชาชนลดความสญู เสยี คา่ ใชจ้ ่ายจากสินค้าที่ไม่มคี ุณภาพ 4. ประชาชนเกิดความปลอดภัยตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ิน

ระดับของมาตรฐานอาชีพ เปน็ การจาแนกมาตรฐานอาชีพ ตามความสามารถ และความชานาญในการปฏิบัติงาน ซง่ึ แบ่งออกเปน็ 3ระดับ คือ1. ระดับ 1 เป็นมาตรฐานระดบั กงึ่ ฝมี ือ หมายถึง ผูท้ ี่มีฝีมือและความรพู้ ื้นฐานในการปฏิบตั ิงานที่ต้องมีหัวหนา้ ช่วยให้คาแนะนาหรอื ชว่ ยตดั สินใจเรื่องสาคัญเมอ่ื จาเปน็2. ระดับ 2 เป็นมาตรฐานระดับฝีมือ หมายถึง ผทู้ ่มี ีฝีมือระดบั กลาง มคี วามรู้ ความสามารถ ใชเ้ คร่ืองมืออุปกรณ์ไดด้ ี และมีประสบการณ์ในการทางาน สามารถใหค้ าแนานาผู้ใต้บังคับบัญชาได้3. ระดับ 3 เปน็ มาตรฐานระดับเทคนิค หมายถึง ผูท้ ม่ี ีฝีมอื ระดับสูง สามารถวเิ คราะห์ วนิ ิจฉยั ปหํ า รขู้ นั้ ตอนกระบสนการของงานอยา่ งดี สามารถชว่ ยแนะนางานฝีมือแก่ผูใ้ ต้บงั คับบัญชาได้ดี สามารถใชห้ นังสอื คิู่มอื นาความรู้และความสามารถมาประยุกตใ์ ช้กับเทคโนโลยีใหมไ่ ด้ รปู ที่ 2.4 ระดับชา่ งเทคนิคในสาขาต่างๆมาตรฐานอาชพี ของสาขาอาชีพตา่ งๆ อาศยั อานาจตามความในมาตร 22 วรรคหนง่ึ แหง่ พระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ การพัฒนาฝมี อื แรงาน พ.ศ.2545 คณะกรรมการส่งเสรมิ การพัฒนาฝมี ือแรงงาน จึงก าหนดมาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาตจิ านวน 91 สาขาอาชีพ โดยดูรายละเอยี ดได้ท่ี http ://nome.dsd.go.th/standard1. มาตรฐานอาชพี สาขาอาชีพชา่ งไฟฟ้าภายนอกอาคาร แบง่ เปน็ 3 ระดบั ได้แก่ 1. ระดบั 1 หมายถึง ผู้ท่มี คี วามรูช้ ่างซึ่งประกอบอาชีพในงานตดิ ต้งั อุปกรณ์ประกอบเสาไฟฟ้าและการต้ังเสาไฟฟา้ 2. ระดบั 2 หมายถงึ ชา่ งซงึ่ ประกอบอาชีพในงานติดต้งั อุปกรณ์ไฟฟ้าและและภายนอกอาคารและแกป้ ัญหา 3. ระดบั 3 หมายถงึ ช่างซ่ึงประกอบอาชีพในงานติดต้ังอปุ กรณไ์ ฟ้ฟ้าตรวจสอบระบบไฟฟา้ ภายนอกอาคาร

2. มาตรฐานอาชพี สาขาซอ่ มรถยนต์ แบง่ เป็น 3 ระดับ ไดแ้ ก่ 1. ระดบั 1 หมายถึง ช่างท่มี ีความ ความสามสรถการตัดสนิ ใจปานกลาง ทาหนา้ ทถ่ี อดประกอบ ปฎบิ ตั ิงานตามคาส่ังของหวั หน้างาน 2. ระดับ 2 หมายถึง ชา่ งท่ีมคี วาม สามารถตรวจวิเคราะหห์ าสาเหตขุ ้อขด้ ขอ้ งเบื้องตน้ กาหนดงานซ่อมบารงุและปฎบิ ัติการซ่องบารุงตามอาการทเี่ กิดขึ้น 3. ระดบั 3 หมายถงึ ชา่ งท่มี ีความรู้ ความสามารถ มีความชานาญในการตรวจวิเคราะหห์ าสาเหตุข้อข้ดขา้ งของระบบงานที่ซ้บซ้อน กาหนดงานซอ่ มบารุงและปฎบิ ตั ิงานซอ่ มบาบุงท่ียาก แลว้ ซบั ซ้อนได้ รูปท่ี 2.5 ชา่ งซ่อมรถยนต์3. มาตรฐานอาชีพ สาขาอาชีพนกั เขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (ภาษา) แบ่งเปน็ 2 ระดับ 1. ระดับ 1 หมายถึง ผู้ที่มีฝีมือ ความรู้ ความสามารถในการเขียนโปรแกรมพืน้ ฐานเบอื้ งต้นเขา้ ใจหลกั การเขยี นโปรแกรม เข้าใจแนวทางแกไ้ ขปัญหา เข้าใจการเขยี นิแงงาน (Flow Chart) สามารถกาหนดขน้ั ตอนการทางานเพ่ือแกไ้ ขปญั หา (Algorithm)สามารถเขยี นโปรแกรมเพ่ือประยุกต์ใชง้ านอยา่ งสมบรู ณ์ตามมาตรฐานท่ีกาหนด 2. ระดับ 2 หมายถึง ผู้ท่มี ีฝีมอื ความรู้ ความสามารถในการเขยี นโปรแกรมขน้ั สูง (Advanced) เพอ่ื ประยกุ ต์ใช่สาหรบั งานตา่ งๆ ได้ มีความเชยี วชาญในการใชเ่ คร่ืองมือ (Tool)ของแต่ละภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม สามารถแกไ้ ขโปรแกรมตรวจสอบข้อผิดพลาดในการงานโปรแกรม (Debuggig) ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพสามารถวเิ คราะห์ออกแบบงานเพอ่ื เขยี นโปรแกรมสามารถติดตงั้ โปรแกรมทเ่ี ขยี นเพื่อใชง่ านได้อยา่ งสมบูรณ์ ตามมาตรฐานทกี่ าหนด4. มาตรฐานอาชพี สาขาชา่ งจัดดอกไม้ แบ่งเปน็ 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1. ระดับ 1 หมายถึง ผู้ท่ีมีความรู้เบ่ืองต้นในการจดั ดอกไม้ วัสดุอปุ กรณ์ การเลอื กซื้อและการดูแลรกั ษารวมถงึ การจัดในรปู แบบทรงต่างๆ 2. ระดับ 2 หมายถงึ ผูท้ ่ีมีฝีมอื ในระดับมืออาชีพ สามารถนาความรใู้ นเรื่องขององค์ประกอบศิลป์มาใชใ้ นการดัดแปลงวสั ดุ อุปกรณ์ การนาเทคนคิ ต่างๆมาประยุกต์ใช้ในการจัดดอกไม้แบบสากล

3. ระดบั 3 หมายถงึ ผทู้ ี่มีฝีมอื ในการออกแบบดา้ นการจัดดอกไมแ้ บบสากล แบบร่วมสมัยในโอกาสต่างๆ วางแผนปฏิบตั งานและนาเสนอชน้ิ งาน มีความคิดรเิ ริ่มสร้าวสรรค์ และแก้ไขปญั หาตา่ งๆ รูปท่ี 2.6 อาชีพการจัดดอกไม้5. มาตรฐานอาชีพ สาขาอาชีพการดูแลผูส้ งู อายุ มี 1 ระดบั คอื ระดับ 1 หมายถึง บุคคลมีความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และมคี ณุ ธรรมในการทาหนา้ ทช่ี ว่ ยเหลอืครอบครวั ผู้สงู อายุ ดอู ลรบั ผิดชอบผู้สูงอายไุ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง แบบปลอดภัย เพื่อใหผ้ ้สู งู อายุมคี วามเปน็ อยแู่ ละคุณภาพชวี ติ ทีด่ ี6. มาตรฐานอาชพี สาขาอาชีพพนักงานนวดไทย แบ่งออกได้ 3 ระดบั ประกอบดว้ ย 1. ระดับ 1 หมายถึง ผู้ท่มี คี วามรู้ ความสามารถในการนวดไทยเพอ่ื ผ่อนคลาย และรขู้ อ้ ห้ามและขอ้ ควรระวังในการนวด พร้อมทัง้ มสี ุขภาพรา่ งกายและจติ ใจไมข่ ัดต่อจรรยาบรรณ จริยธรรมในการประกอบอาชพี การนวดไทย 2. ระดับ 2 หมายถงึ ผู้ทม่ี คี วามรู้ ความสามารถมนการนวดไทยเพ่ือผ่อนคลาย บรรเทาอาการปวดเม่ือยท่วั ไปได้อยา่ งน้อย 10 อาการ และรขู้ อ้ ตอ้ งห้ามและขอ้ ควรระวงั ในการนวด พร้อมทั้งมีสุขภาพร่างกาย และจติ ใจไมข่ ัดต่อจรรยาบรรณ จริยธรรมในการประกอบอาชีพ 3. ระดบั 3 หมายถงึ ผู้ท่ีมคี วามรู้ ความสามารถในการนวดไทยเพื่อผอ่ นคลาย บรรเทาอาการปวดเม่ือยทัว่ ไป สามารถวินิจฉยั บาบดั โรคตามทฤษฎกี ารแพทย์แผนไทย และรขู้ ้อห้าม ข้อควรระวังในการนวด พร้อมทั้งมีสุขภาพร่างกายและจิตใจไม่ขัดตอ่ จรรยาบรรณ จริยธรรมในการประกอบอาชพี การแพทยแ์ ผนไทย และมีใบประกอบโรคศิลปะ

ทักษะตามมาตรฐานอาชพี ทักษะ (Skill) แสดงถึงความสามารถประกอบด้วย ขอบเขตตามสภาพในการปฏิบัติงาน เปน็ การสะสมประสบการณจ์ นเกิดความชานาญ มคี วามสามารถเพียงพอท่จี ะทางานได้อยา่ งมีคณุ ภาพตามตามขอ้ กาหนดและแลว้ เสรจ็ ซง่ึ เป็นทกั ษะตามมาตรฐานอาชพี ตา่ งๆ มคี วามแตกตา่ งกันและคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานได้กาหนดไว้ จานวน 91 สาขาอาชีพ ตัวอย่างเช่น 1. ทกั ษะอาชีพช่างไฟฟ้าภายนอกอาคาร มที ักษะ 3 ระดับ ได้แก่ 1. ระดบั 1 ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านการเดินสายและต่อสายไฟฟ้า ไดด้ งั น้ี 1. ตู้ควบคุม 2. ตอ่ สายได้ทุกวิธี โดยถูกตอ้ งและปลอดภยั 3. พันฉนวนหุ้มบริเวณจดุ ตอ่ สายแบบต่างๆได้ถูกวิธี 4. การติดตั้งอุปกรณ์ 5. สายไฟฟ้าหุ้มฉนวนขนาดใหญ่ 2. ระดับ 2 ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้ ตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ไฟฟา้ และเครือ่ งมือวัดในโรงงานอตุ สาหกรรม ดงั นี้ 1. ระบบอินเพทุ และเอาท์พุท (I/O System) 2. ระบบควบคุมสายดินและอปุ กรณต์ ิดตง้ั 3. มอเตอร์ไฟฟา้ ควบคุมการขับเคล่ือนดว้ ยไฟฟ้า 4. มอเตอร์ไฟฟ้าควบคมุ โดยโปรแกรมเมเบิล 5. ระบบเคร่อื งกลอัตโนมัติและการควบคุมเครื่องหมายมาตรฐานทเ่ี กี่ยวข้องกับอาชีพ เครื่องหมายมาตรฐานทเ่ี ก่ียวข้องกบั อาชีพทีแ่ สดงว่าสินคา้ ท่อี าชีพต่างๆ ผลิตขน้ึ อยา่ งมคี ณุ ภาพ หรือความปลอดภยั ในการอปุ โภค และมีประสิทธภิ าพในการใช้งาน มีคณุ ภาพสมราคา มหี ลายอยา่ ง ดงั น้ี1. เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม สานักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เปน็ องคก์ รที่ใหก้ ารรบั รองมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (มอก.) ว่ามคี ณุ ภาพไดม้ ารฐานตามที่กาหนดมีความปลอดภยั ในการอุปโภคบรโิ ภค มปี ระสทิ ธิภาพในการใช้งาน และมีคุณภาพสมราคา ปจั จุบัน สมอ. รบั รองรบั รองเครื่องหมายไว้ 3ประเภทคือ 1. เครื่องหมายมาตรฐานทวั่ ไป สาหรบั ผลติ ภณั ฑ์อปุ โภคบริโภค ผผู้ ลิตสามารถยนื่ ขอการรบั รองด้วยความสมคั รใจเพื่อพัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑใ์ ห้เปน็ ไปตามเกณฑก์ าหนดมาตรฐาน

รปู ที่ 2.9 เคร่อื งหมายมาตรฐานท่ัวไป 2. เคร่อื งหมายมาตรฐานบังคบั เปน็ เครื่องหมายผลติ ภัณฑ์ทกี่ ฎหมายกาหนดใหผ้ ้ผู ลติ ต้องทาตามมาตรฐาน และตอ้ งแสดงเครอื่ งหมายผลิตภัณฑ์ เพ่ือความปลอดภัยตอ่ ผู้บริโภค รปู ท่ี 2.10 เครอ่ื งหมายมาตรฐานบังคับ 3. เครอื่ งหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความปลอดภัย เป็นเครอ่ื งหมายรับรองผลติ ภัณฑท์ ี่ตอ้ งมีความปลอดภัยในการใช้งาน ซ่ึงสานักงานฯ จะกาหนดมาตรฐานโดยเนน้ เฉพาะเร่ืองความปลอดภัยเปน็ สาคัญเพ่ือใหก้ ารคมุ้ ครองแก่ ผู้บริโภคด้านความปลอดภยั ในการใช้งาน เชน่ เตารดี พัดลมไฟฟา้ เป็นตน้ เครื่องหมายทม่ี ีท้ังแบบบังคม และไมบ่ ังคบั หากเปน็ แบบ บังคับกต็ ้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายท่ีตอ้ งทาผลติ ภัณฑใ์ ห้ได้ตาม มาตรฐานท่ี กาหนดทั้งผู้ทา ผูน้ าเขา้ และผจู้ าหนา่ ย รปู ที่ 2.11 เคร่อื งหมายมาตรฐานเฉพาะดา้ นความปลอดภัย 4. เครอื่ งหมายมาตรฐานเฉพาะด้านความเข้ากนั ได้ทางแม่เหลก็ ไฟฟา้

เป็นเครอ่ื งหมายรบั รองผลติ ภัณฑ์ที่มีคณุ สมบตั ิของความเข้ากันไดท้ างแม่เหล็กไฟฟ้า ซ่งึ เป็นผลิตภณั ฑท์ ่ีสามารถทางานร่วมกับผลิตภัณฑ์อน่ื หรอื ใช้พร้อมกนั ได้และไมส่ ง่ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าได้ในระดับหนึ่งได้แก่ ผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น โทรศัพท์ โทรสาร เครือ่ งรับ-สง่ วิทยแุ ละเคร่ืองมือทางการแพทย์ เปน็ต้นเครื่องหมายน้มี ที ้ังแบบบังคบั และไมบ่ ังคับหากเป็นมาตรฐานบงั คับ ผผู้ ลิต ผนู้ าเข้า และผู้ จาหนา่ ยจะตอ้ งผลตินาเขา้ และจาหน่ายแต่ผลิตภณั ฑท์ ี่ได้ มาตรฐานเทา่ นัน้ รปู ที่ 2.12 เคร่ืองหมายมาตรฐานเฉพาะดา้ นความเข้ากันได้ทางแมเ่ หล็กไฟฟ้า 5. เครอ่ื งหมายการรับรองฉลากเขยี ว (Green Label) สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ร่วมกับสถาบนั สิง่ แวดลอ้ มไทยดาเนินโครงการฉลากเขยี วเพอื่ ให้การรับรอง โดยใช้ฉลากเขยี ว สาหรบั ผลติ ภณั ฑ์ ทัง้ นเี้ พือ่ ช่วยลดมลภาวะจากส่งิ แวดล้อม และเพื่อผลกั ดันให้ผู้ผลติ ใช้เทคโนโลยหี รือวิธกี ารผลติ ท่ีให้ผลกระทบต่อวสิ่งแวดล้อม รูปที่ 2.13 เคร่อื งหมายการรบั รองฉลากเขียว

6. เครอ่ื งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชน (มผช.) รปู ที่ 2.14 เครือ่ งหมายมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน2. เครื่องหมายมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร หรอื Q สืบเนอ่ื งจาก คณะกรรมการมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ ได้มีมตใิ นการประชมุ ครั้งที่ ๓ -๒๕๔๖ วนั ท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๔๖ ให้หนว่ ยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใชเ้ คร่ืองหมายรบั รองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารใหเ้ ป็นเครือ่ งหมายเดยี วกนั คือ เครือ่ งหมาย \"Q\" เพ่ือลดความซ้าซอ้ นในการใช้เครือ่ งหมายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่ึงเคร่ืองหมายนแี้ สดงให้เห็นวา่ สินค้าเกษตรและอาหารมีคุณภาพและความ ปลอดภัยพรอ้ มทง้ั ยังสือ่ ไปถงึ ผู้บรโิ ภคภายในประเทศและประเทศคคู่ า้ ให้เกดิ ความเช่ือมัน่ ในระบบการผลติ และผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและอาหารให้เป็นไปตาม มาตรฐานและเปน็ ทยี่ อมรับของนานาประเทศ หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดม้ ีการจดั ทาบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื (MOU) เรือ่ ง การใช้เครอื่ งหมายรับรองมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหาร โดยมกี ารลงนามวันท่ี ๒๖ กนั ยายน ๒๕๔๖ ร่วมกัน ๘หนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศสุ ัตว์ กรมส่งเสรมิ การเกษตร กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ กรมพฒั นาท่ดี นิ องค์การตลาดเพ่ือเกษตรกร และสานักงานมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ เพอื่ เป็นข้อผกู พนั ใหม้ ีการนาเครื่องหมายรับรอง \"Q\" ไปใชใ้ นแนวทางเดียวกัน และมีการดาเนนิ การตามวธิ กี ารและแนวทางท่ีกาหนดไว้ใน MOU โดยหน่วยรับรองใหก้ ารรับรอง ตั้งแต่ระดบั ไรน่ าจนถึงผู้บรโิ ภค (From Farm To Table)เพื่อให้ผบู้ รโิ ภคไดร้ ับสนิ คา้ ท่ีมีคุณภาพและมีความปลอดภัย รวมถึงเป็นการสง่ เสริมใหเ้ ป็นผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการสินค้าเกษตรและอาหารของไทย ได้ตระหนักถึงคณุ ค่าความสาคัญของเครอื่ งหมายรับรอง \"Q\" ทีแ่ สดงถึงความมีคณุ ภาพและปลอดภัย ดังน้ันจาเป็นตอ้ งมีระบบการควบคุมกากับดแู ลการนาเครื่องหมายรับรอง \"Q\" ไปใชอ้ ย่างถกู ต้องและมีประสิทธภิ าพ นอกจากนั้นยงั มรี ะบบการจัดรหสั ประกอบการแสดงเคร่ืองหมาย เพ่ือให้สามารถตรวจสอบย้อนกลบั ไดก้ รณที ่ีมีการปลอมแปลงเอกสารใบรับรองหรอื กรณีตรวจพบสนิ ค้ามปี ญั หาดา้ นคุณภาพที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน

รปู ท่ี 2.15 เครอ่ื งหมาย Q3. เครอ่ื งหมาย อย. อย. คือ อักษรย่อของ “สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา” (Food and Drug Administration)เปน็ สว่ นราชการในระดับกรม ของประเทศไทย สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มหี น้าที่ในการดาเนนิ งานด้านการคุ้มครองผูบ้ ริโภค ปกปอ้ งและคุ้มครองสขุ ภาพประชาชนจากการบรโิ ภคผลิตภณั ฑ์สุขภาพ (ซง่ึ ผลิตภัณฑ์สุขภาพสว่ นใหญม่ กั จะหมายถึง อาหาร ยา เวชภัณฑ์ และเคร่อื งสาอางค์)โดยผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพเหลา่ น้นั ต้องมีคุณภาพมาตรฐานและปลอดภัย มกี ารส่งเสรมิ พฤติกรรมการบรโิ ภคที่ถกู ต้องด้วยข้อมูลวิชาการที่มหี ลกั ฐาน เชอื่ ถือได้และมีความเหมาะสม เพ่อื ให้ประชาชนได้บริโภคผลติ ภัณฑส์ ุขภาพทีปลอดภยั และสมประโยชน์เครื่องหมาย อย. ทอี่ ยู่บนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปน้ัน ไมใ่ ชว่ า่ จะไดม้ างา่ ยๆ อาหารท่จี ะได้รบั อย. นัน้ ส่วนใหญต่ ้องผา่ นขัน้ ตอนการตรวจสอบความเหมาะสมของสถานท่ตี ง้ั และอาคารผลิต เครอื่ งมือ เคร่ืองจกั ร และอุปกรณใ์ นการผลิตการควบคมุ กระบวนการผลิตการสขุ าภิบาลโรงงานการบารงุ รักษาและทาความสะอาด และบุคลากรการผลิต น่ันคือเปน็ ไปตามเกณฑว์ ธิ กี ารที่ดใี นการผลติ อาหาร หรอื จ.ี ดี.พี. (Good Manufacturing Practice) นนั่ เองนอกจากน้ัน ตอ้ งผ่านในเรื่องของคุณภาพมาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ ภาชนะบรรจุและการแสดงขอ้ มลู บนฉลากว่าครบถว้ นไมโ่ ออ้ วด หลอกลวง หรอื ทาให้เข้าใจผดิ อาหารน้ัน จงึ จะไดร้ ับเครอื่ งหมาย อย. เป็นสญั ลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑอ์ าหารแปรรปู ท่ีมีภาชนะบรรจุสนทิ รับผิดชอบโดย สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

รูปที่ 2.16 เคร่อื งหมาย อย.4. เคร่อื งหมายอาหารปลอดภัย (Food Safely) กระทรวงสาธารณสุขเปน็ องคก์ รที่ใหก้ ารรบั รองเครอื่ งหมายสขุ ภาพดเี ร่ิมที่อาหารปลอดภัย โดยเป็นสัญลกั ษณใ์ ห้กับร้านค้า แผงจาหน่ายอาหารสด ตลาดสด และซเู ปอร์มาร์เกต็ เพือ่ รบั รองคุณภาพอาหาร ได้แก่อาหารสด อาหารแปรรูป อาหารปรงุ จาหนา่ ย พรอ้ มตรวจสอบสารเคมีปนเป้ือนทีเ่ ป็นอันตรายกับสุขภาพ เช่นบอรแ์ รกซ์ สารพิษตกคา้ งจากสารเคมี สารฟอกขาว สารเร่งเนอ้ื แดง เป็นต้น รูปที่ 2.17 เครื่องหมายอาหารปลอดภัย (Food Safely)สรปุ สาระสาคญั มาตรฐานอาชพี หมายถงึ ข้อกาหนดที่เปน็ เกณฑ์เก่ยี วกับความรู้ ความสามารถ และทศั นคติที่คนสามารถใช้ในการทางานอาชีพตา่ งๆได้ มีองคป์ ระกอบทสี่ าคญั 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ นอกจากน้ี มาตรฐานอาชีพ แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ มาตรฐานอาชีพเฉพาะ มาตรฐานอาชีพแห่งชาติ มาตรฐานอาชพี ของอาเซียน และมาตรฐานอาชีพนาๆชาติ โดยมปี ระโยชน์ทง้ั ต่อภาคเอกชน/สถานประกอบการ ต่อภาครัฐ รวมถงึ ประชาชนอย่างไรกต็ ามมาตรฐานอาชีพมี 3 ระดบั คือ ระดับ1 ระดับ 2 และสูงสุดคอื ระดับ 3 ซง่ึ แตล่ ะระดับจะมีการกาหนดอตั ราคา่ จา้ งตามมาตรฐานแตกตา่ งกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook