พทุ ธสุภาษติ สอนใจ หมวด ความประมาท
จัดทาโดย 1. เด็กหญงิ กวนิ ตรา พรมมาส ม.3/2 เลขท่ี 17 2. เดก็ หญิง จิรวรรณ สนี าค ม.3/2 เลขท่ี 19 3. เด็กหญิง รมย์ธีรา วิจติ รกลุ ม.3/2 เลขที่ 32 เสนอ อาจารย์ ปรเมษฐ์ เหมือนจนั ทร์
สารบัญ เรื่อง หนา้ 1 ไมค่ วรสมคบดว้ ยความประมาท 2 คนประมาท ย่อมเศร้าโศกสนิ้ กาลนาน ผ้ปู ระมาท เหมือนคนทีต่ ายแลว้ 3 ความประมาท เป็นมลทนิ ของผูร้ ักษา 4 ความประมาท บณั ฑิตติเตยี นทกุ เม่ือ 5 อย่ามัวประกอบความประมาทเลย 6
ปมาเทน น สวเส ( ปะ-มา-เท-นะ-นะ-สงั -วะ-เส ) “ไม่ควรสมคบดว้ ยความประมาท” เม่อื ความประมาทเกดิ ข้ึนกบั บคุ คลใดแลว้ ปัญญา ของเขาจะมืดบอด สติของเขาจะเลอื นหาย ทาให้ ทาการงานใด ๆ ขาดความรอบคอบ เกดิ ความ ผิดพลาดไดง้ า่ ยอีกทงั้ ทาใหเ้ ขาหา่ งจากความเจรญิ เดินมงุ่ หนา้ สคู่ วามฉิบหาย เหมอื นคนตายทีไ่ ม่ สามารถสรา้ งประโยชน์หรอื คุณงามความดใี ด ๆ ได้
เต ทฆี รตฺต โสจนตฺ ิ เย ปมชฺชนตฺ ิ มาณวา ( เต-ท-ี คะ-รดั -ตัง-โส-จนั -ติ-เย-ปะ-มัด-ชัน-ติ-มา-นะ-วา ) “คนประมาท ย่อมเศร้าโศกส้นิ กาลนาน” คนประมาทประเภทน้ี ย่อมใช้ชีวิตอยูแ่ บบไร้ ประโยชน์ ไมส่ ร้างประโยชน์ท้งั แกต่ นเอง และสว่ นรวม ใช้ชวี ิตอย่สู กั แตว่ ่าหายใจทิง้ ไปวนั ๆ เทา่ นน้ั หาสาระของชวี ติ มไิ ดเ้ ลย นอกจากไมส่ ร้างประโยชน์ใหม่ให้เกดิ ขึ้น แลว้ ยังทาลายประโยชน์ทัง้ หลายที่มีอยูแ่ ต่ เดิมด้วย
เย ปมตตฺ า ยถา มตา ( เย-ปะ-มัด-ตา-ยะ-ถา-มะ-ตา ) “ผ้ปู ระมาท เหมอื นคนทีต่ ายแลว้ ” คนประเภทนี้จะไมใ่ ห้ความสาคัญกับการสร้าง บารมี เพราะคิดวา่ ไมม่ ปี ระโยชน์ เพราะเขามอง ไม่เหน็ ประโยชนข์ องการทาส่ิงเหลา่ นั้นนั่นเอง เมือ่ เปน็ เชน่ นี้ ทา่ นจงึ เปรียบคนประมาทว่า เหมอื นคนที่ตายแล้วเพราะคนท่ตี ายไปแลว้ ยอ่ ม ไมส่ ามารถสร้างประโยชน์ใด ๆ ได้อกี ไมว่ ่าจะ เป็นประโยชนต์ น ประโยชนผ์ ูอ้ ืน่ ประโยชนใ์ น โลกนี้ ประโยชนใ์ นโลกหน้า และประโยชนอ์ ยา่ ง ยง่ิ คือพระนิพพาน คนท่ีตายแล้ว ไมส่ ามารถ สรา้ งประโยชน์เหลา่ น้ันได้เลย
ปมาโท รกขฺ โต มล ( ปะ-มา-โท-รกั -ขะ-โต-มะ-ลัง ) “ความประมาท เป็นมลทนิ ของผรู้ ักษา” สาหรบั บคุ คลทงั้ หลายทม่ี ีหนา้ ทกี่ ารงาน เก่ียวกับการรกั ษาคุม้ ครอง เช่น รกั ษาความ ปลอดภัย รักษาทรัพยส์ ิน เปน็ ต้น จาเปน็ อยา่ ง ย่ิงท่ีจะตอ้ งกาจดั ความประมาทใหสิ้นไป ต้องมี สติสมั ปชัญญะอยู่เสมอ มสี มาธจิ ดจ่ออยูก่ บั งาน ท่ที าเมื่อใดก็ตามทเี่ ขาประมาท อาจทาให้ เกิดผลเสียตอ่ งานของเขา และเขาจะตอ้ งถูก ตาหนิ และเสียงานไปในท่สี ุด เพราะฉะน้นั ความประมาทน้นั ไมด่ เี ลย เราตอ้ งหม่นั ฝกึ สติอยู่ เสมอ เพราะสตนิ ้นั จะเปน็ ตัวสกดั ก้ันความ ประมาทเสยี ได้
ปมาโท ครหโิ ต สทา ( ปะ-มา-โท-คะ-ระ-หิ-โต-สะ-ทา ) “ความประมาท บณั ฑิตตเิ ตียนทุกเมื่อ” ธรรมดาบัณฑติ ยอ่ มสรรเสริญความไม่ ประมาท และตเิ ตยี นความประมาท เพราะ มาพจิ ารณาเห็นคณุ ของความไม่ประมาท และเหน็ โทษของความประมาท จงึ ดารงตน อยู่ในความไมป่ ระมาทเมือ่ ใชช้ ีวิตด้วย ความไม่ประมาท หรอื ดารงตนอยใู่ นความ ไมป่ ระมาทเชน่ นี้ บัณฑติ ชนนน้ั ยอ่ ม ประสบประโยชน์สุขอนั เกิดจากความไม่ ประมาททุกเม่ือ
มา ปมาทมนุยุญเฺ ชถ ( มา-ปะ-มา-ทะ-มะ-น-ุ ยนุ -เช-ถะ ) “อยา่ มวั ประกอบความประมาทเลย” ความประมาทน้ัน ไมส่ ร้างคุณประโยชนใ์ หแ้ กผ่ ้ใู ด มีแต่ จะสรา้ งความเสอื่ มให้อย่างเดยี ว เพราะคนประมาทก็ เหมือนคนท่ตี ายแล้ว ไมส่ ามารถสร้างคณุ ประโยชนใ์ ด ๆ ได้เพราะฉะนั้น ทา่ นจึงสอนวา่ อย่ามัวประมาทอยเู่ ลย จงใช้ชวี ิตด้วยความไม่ประมาทเถดิ คอื ให้เราทัง้ หลาย เรง่ ขวนขวายสรา้ งบุญกศุ ล สรา้ งบารมีอนั จะเป็นเคร่อื ง นาไปส่คู วามพน้ จากทุกขใ์ นวฏั สงสาร คือการปฏบิ ตั ิ วปิ ัสสนากรรมฐาน
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: