Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MSC-akp-1

MSC-akp-1

Published by arin-chadon, 2022-05-25 04:12:46

Description: MSC-akp-1

Search

Read the Text Version

มาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นอา่ งกะป่อง 1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภยั ของโรงเรียนบา้ นอ่างกะป่อง นกั เรยี น คือ หวั ใจของการจดั การศึกษาโรงเรยี นบา้ นอา่ งกะป่อง จึงมีความตระหนักในความสาคญั และ เล็งเห็นความจาเป็นเร่งด่วนท่ีสถานศึกษาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ต้องร่วมกันหาแนวทางท่ีเป็น รูปธรรมในการ ร่วมกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เรียนรู้อย่างมีความสุขตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตสามารถดูแล ตนเองให้ปลอดภัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ท่ีจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ นักเรียน ดังน้ัน โรงเรียนบ้าน อ่างกะปอ่ ง ซึง่ มภี ารกิจและความรบั ผิดชอบ ในการจัดการศกึ ษาต้องดาเนินการ อยา่ งทว่ั ถงึ มคี ณุ ภาพ ความปลอดภยั ของ นักเรียนเป็นเรื่องที่มีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพราะนอกจากจะทาให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมี ความสุขแลว้ ยงั มผี ลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ อีกดว้ ย 1) เป้าประสงค์ 1.1 เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาด้านอุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และ ด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วม และยึดประโยชน์ สงู สุดของนกั เรียนเป็นสาคญั 1.2 เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาให้มีความพร้อม สามารถ ป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนักเรียน ทั้งด้านอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมที่จะเกิดขึ้นกับนักเรียน อย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.3 เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดย นกั เรียนจะได้รบั การดแู ลอยา่ งใกลช้ ิดสามารถอยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งปลอดภยั และมีความสุข 1.4 เพ่ือสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ แกผ่ ูท้ ่ีรบั ผิดชอบและผูท้ ่ีมสี ่วนเก่ยี วขอ้ งกับการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา 2) เปา้ หมาย 2.1 นักเรยี นทุกคนในโรงเรยี นวัดสลักได้รับการคุม้ ครองดแู ลความปลอดภยั 2.2 ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนมีแนวทางในการ ปอ้ งกัน และรกั ษาความปลอดภัยนกั เรยี น 2.3 เครือขา่ ยหน่วยงานภาครฐั และเอกชน มสี ว่ นรว่ มในการดูแลความปลอดภัยใหแ้ กน่ ักเรียน 3) ยทุ ธศาสตร์ 3.1 จัดระบบการรักษาความปลอดภัยของนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และเครือข่าย ท้งั ภาครฐั และเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 กาหนดมาตรการรกั ษาความปลอดภัยของนกั เรยี น 3.3 มีการกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงาน 2. การวางแผนรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม กากับ ติดตาม ประเมินผล และรายงาน จึง จาเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพ่ือใหร้ ับประโยชนส์ ูงสุดตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม )ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พร้อมทั้งนโยบาย ของ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ดังน้ี ขน้ั ตอนภารกิจ 50

1. ศึกษาสภาพท่ัวไป ศึกษาสภาพทั่วไปของโรงเรียน ชุมชน ความเข้มแข็งของเครือข่ายเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยง จากการเกดิ อุบัติเหตุ อบุ ัติภัย และภยั จากสภาพแวดลอ้ ม 2. กาหนดมาตรการหลกั กาหนดมาตรการหลักเพื่อป้องกัน และหรือแกไ้ ข 3. กาหนดมาตรการเสริม กาหนดมาตรการเสริมให้เหมาะสมกับความเช่ือ วัฒนธรรม และประเพณีของท้องถิ่น และสภาพความเสยี่ งของทอ้ งถ่นิ 4. กาหนดกจิ กรรม กาหนดกจิ กรรมสนบั สนนุ มาตรการหลกั และมาตรการเสริม 5. กาหนดเวลา และผู้รับผิดชอบ กาหนดเวลาและผู้รับผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน และสามารถปฏิบตั ไิ ด้ 3. มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขอบุ ัตเิ หตุ อบุ ตั ิภยั และปญั หาทางสงั คม จุดอับ/จุดเส่ยี ง โรงเรียนบา้ นอา่ งกะป่อง 51

แผนเผชญิ เหตุ มาตรการที่ 1 การเผชญิ เหตุและการแก้ปญั หา 1.๑ จดั การและแกไ้ ขให้ความชว่ ยเหลือหากเกดิ เหตกุ ารณ์ กระบวนการและแนวทางการดาเนินงาน ๑. สถานศึกษามีแนวปฏิบตั ิการจัดการหรือการระงบั เหตใุ นการช่วยเหลอื เมื่อเกิดในสถานศึกษา ๒. สร้างความตระหนัก ประชาสัมพันธ์และสร้างการรับรู้แนวปฏิบัติการจัดการและการช่วยเหลือทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา ๓. เตรียมบุคลากรและเคร่ืองมือให้พร้อมรับสถานการณ์ เช่น การซ้อมดับเพลิง การซ้อมหนีไฟการปฐม พยาบาลเบ้ืองต้น เปน็ ตน้ 1.๒ คัดกรองและชว่ ยเหลือเบื้องต้นในสถานศึกษา กระบวนการและแนวทางการดาเนนิ งาน ๑. ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ลงพ้ืนที่ ประเมินสถานการณ์ และคัดกรองให้การช่วยเหลือนักเรียน และผู้ ได้รบั ผลกระทบในสถานศึกษา ๒. ให้การช่วยเหลือ ให้ขวัญกาลังใจเบ้ืองต้นกับนักเรียนและผู้ได้รับผลกระทบในสถานศึกษา เพื่อให้ ผู้ ประสบเหตมุ ีความปลอดภยั หรอื ลดอัตราความรนุ แรงของเหตุการณล์ ง ๓. สนับสนุนนักจติ วิทยาโรงเรียนหรือครูแนะแนวหรือครูที่ปรึกษาในการใหค้ าปรึกษาเบื้องต้น เพ่ือ ดูแล สขุ ภาพจิต ๔กาหนดข้ันตอนและวิธีการแจ้งเหตุหรือระงับเหตุ สามารถช่วยเหลือนักเรียนด้านร่างกายและ . จิตใจ พร้อมประเมินสถานการณ์เบื้องตน้ ทนั ที ๕ผู้ท่ีได้รับแจ้งเหตุ ดาเนินการช่วยเหลือด้านร่างกายและจิตใจพร้อมประเมินสถานการณ์เบ้ืองต้น . โดย ทนั ที ๓.1จดั การและประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง กระบวนการและแนวการดาเนินงาน ๑กาหนดช่องทางประสานพิเศษเพ่ือขอการสนับสนุนช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ เมื่อมีภาวะ . วิกฤติ เกดิ ข้นึ เช่น สถานพยาบาล สถานีตารวจ สถาบันจิตวทิ ยา เป็นต้น ๒สถานศกึ ษาระงบั เหตุ ช่วยเห .ลือเมื่อเกดิ เหตใุ นสถานศึกษา เชน่ การรับฟงั การเจรจาต่อรอง การ เกบ็ ขอ้ มลู เปน็ ตน้ ส่งต่อผเู้ รียนและผูท้ ไ่ี ดร้ ับผลกระทบที่ชัดเจน ๔.1)กรณีสง่ ตอ่ ) กระบวนการและแนวทางการดาเนินงาน -มีข้ันตอนส่งต่อท่ีชัดเจน เป็นการเฉพาะกับสถานการณ์ เพื่อให้ผู้ประสบเหตุได้รับการบาบัดรักษาท้ัง ดา้ น ร่างกายและจติ ใจ โดยนักจติ วทิ ยาหรอื จากผู้เช่ยี วชาญเฉพาะทาง ตดิ ตามและประสานงานในการประเมนิ สภาพจติ ใจของนักเรียน ๕.1 กระบวนการและแนวทางการดาเนินงาน -มีการประสานงาน ติดตาม และประเมินสถานการณ์หลังได้รับการดูแลช่วยเหลือ ตลอดจนมี นักจติ วิทยาใหค้ าปรกึ ษาประเมนิ สภาพจติ ใจ ท้งั แบบกลุ่มและแบบเดยี่ ว เพือ่ ดแู ลสภาพจิตใจ มาตรการท่ี 2 การเยียวยาและการบารุงขวัญ มาตรการชว่ ยเหลือ เยีย่ วยา ฟนื้ ฟจู ิตใจ ผทู้ ่ีไดร้ ับผลกระทบ ๑.2 กระบวนการและแนวการดาเนินงาน ๑ดา้ นการจา่ ยเงินช่วยเหลอื ผูเ้ สยี ชีวิตและผบู้ าด .เจ็บตามสทิ ธปิ ระโยชนท์ างกฎหมาย ๒จดั กจิ กรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคม การใหค้ าปรึกษา เพอื่ สร้างความ ภาคภูมใิ จ . และ รู้สกึ มคี ณุ ค่าในตนเอง ๓โดยนักจิตวิทยาโรงเรียน และ ครูที่ )การให้คาปรึกษา( จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือเยียวยาพื้นฟูจิตใจ . รบั ผิดชอบงานจติ วิทยาโรงเรยี น 52

ประสานทาความเข้าใจตามสถานการณ์ และความเหมาะสมให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ ๒.2 กระบวนการและแนว ทางการดาเนินงาน ๑ .สถานศึกษากาหนดแนวทางในการช่วยเหลือ ผู้เรียนและผู้ไดร้ ับกระทบ ที่สามารถตรวจสอบ ได้ อาทิ การจดั ตงั้ กองทนุ เพื่อชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัย การขอรับบรจิ าค ๒กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการช่วยเหลือตามความเหมาะสมแก่เหตุที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน และ . ผู้ ได้รับผลกระทบ ๓. ประสานองค์กรหรือหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง เพื่อใหผ้ เู้ รยี นและผู้ไดร้ ับผลกระทบไดร้ ับสิทธิ ประโยชน์พึง มี เช่น เงนิ ประกันสงั คม ประกันชีวติ เปน็ ต้น มาตรการที่ 3 การรายงานเหตุ รายงานระหว่างประสบเหตุ ๑.3 กรณฉี ุกเฉนิ ๑.๑.3 กรณไี ม่ฉกุ เฉนิ ๒.๑.3 กระบวนการและแนวการดาเนินงาน ๑)ประสบเหตุซ่งึ หน้าหรือกรณีเปน็ ขา่ ว( กรณฉี ุกเฉนิ . - รายงานตน้ สังกดั ทราบทันท่ี ทางไลน์ หรือด้วยหลากหลายวิธี - ตดิ ตามผลจากเหตุท่เี กดิ ข้ึนอย่างใกลช้ ดิ และรายงานเปน็ ระยะ ๒กรณไี มฉ่ กุ เฉิน . - รายงานผ้บู ังคับบัญชาตามลาดบั - บันทกึ ข้อมลู ในแบบรายงานที่สถานศึกษากาหนด รายงานหลงั ประสบเหตุ ๒.3 กระบวนการและแนวการดาเนินงาน - รายงานผลการดาเนนิ การ - รายงานผลการประสานความร่วมมือกบั หน่วยงานอนื่ ทเ่ี กยี่ วข้อง การติดตามและประเมินผลมาตรการการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา ๓.3 กระบวนการและแนวการ ดาเนินงาน รายงานการติดตามและประเมินผลมาตรการการรักษาความปลอดภัยในสถานศึกษา พร้อมทั้ง จัดเก็บข้อมูล อย่างเปน็ ระบบ 53

บรรณานกุ รม - คูมอื การคุมครองและชวยเหลือเด็กนักเรียนของสถานศึกษา สงั กัดสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน (ฉบบั พัฒนา พ.ศ. 2563) - คูมอื แนวทางปฏิบัตแิ ละมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2556 - คูมอื โครงการเตรยี มความพรอมดานความปลอดภัยอาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการ ทางานในสถานศึกษา - มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหงชาติ สานักมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรียนรู สานักงานเลขาธกิ าร สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2562 - มาตรฐานโรงเรียนคุมครองเด็ก - แบบประเมินตนเองตามมาตรฐานโรงเรยี นคุมครองเดก็ - คูมอื การรับมอื แผนดินไหว - คูมอื การปฏิบัติสาหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควิด ๑๙ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข - พระราชบญั ญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ - กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบรหิ าร จัดการ และดาเนนิ การดานความปลอดภัยอาชีวอนา มยั และสภาพแวดลอมในการทางานเก่ียวกับการปองกนั และระงบั อคั คีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ - กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหาร จดั การ และดาเนนิ การดานความปลอดภัยอาชีวอนา มัย และสภาพแวดลอมในการทางานเก่ยี วกับสารเคมีอนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ 54

รายชอ่ื คณะทางาน ท่ีปรึกษา ๑. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ๒. ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นอ่างกะป่อง คณะทางาน 1. นายอนุพงค์ เสือสว่ ย 2. นางสาวภาวณี เตก็ เกา๊ 3. นางสาวประอรศรี ละม่อม 4. นางสาวสทุ ธดิ า ไฉนงุ้น 5. นางสาวมณฑชิ า บุญคู่ 6. นางสาลี เถาถวิล 7. นางสาวฐิตมา พว่ งสุข 8. นางสาวพมิ พภ์ ทั รา ทนินทร 9. นางสาวศรสี ุดา สงิ ห์บนั ดาล 10. นางสางขนิษฐา ขวญั มงคลศิริ 11. นางชีวานันท์ จนั ทร์กลม 12. นายอธิชา กลั ยาประสทิ ธิ์ 13. นายกฤษดา แก้วนิ่ม 14. นายธนวิทย์ เตง็ รัง 15. นายพิสิษฐ์ กสิพรอ้ ง 16. นายไชยรู กาวี 17. นางสาวเอวรินทร์ ชาวดอนคา 18. นางสาววรรษมน อานามวงษ์ 55

sC


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook