Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้- เทเบิลเทนนิส ม.ต้น

แผนการจัดการเรียนรู้- เทเบิลเทนนิส ม.ต้น

Description: แผนการจัดการเรียนรู้- เทเบิลเทนนิส ม.ต้น

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกับกฬี าเทเบิลเทนนสิ จานวน 1 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง ความร้ทู วั่ ไปเกย่ี วกับกีฬาเทเบลิ เทนนสิ จานวน 1 ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้น โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ครูผู้สอน นายวรี วิชญ์ สถิตทา่ ผาพัฒนา สอนวนั ........ ที่ .. เดือน ........ พ.ศ. 2563 เวลา ……. น. - ……. น. 1.สาระสาคัญ การปฐมนิเทศ เปน็ แนวทางรว่ มกนั ระหวา่ งครูผสู้ อนและนกั เรียน ในการปฏิบัตเิ พ่ือผเู้ รยี นจะไดป้ ฏิบตั ิได้ อยา่ งถกู ตอ้ ง ตลอดจนเข้าใจถงึ วิชาการเรยี นการสอนและเกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล 2.สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด สาระท่ี ๓การเคล่ือนไหวการ ออกกาลังกาย การเล่นเกม กฬี าไทย และกีฬาสากลมาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกมและการเล่นกีฬาปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัยเคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี าใจนักกฬี า มจี ติ วิญญาณในการแข่งขันและชื่นชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา ตวั ชีวดั ม. ๑/๑ อธิบายความสาคญั ของการออกกาลงั กายและเล่นกฬี า จนเปน็ วิถีชีวติ ทม่ี ีสุขภาพดี 3.3 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3. มีความรบั ผิดชอบ 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการสังเกต 4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต 5. คุณลกั ษณะของวิชา

- ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ 6. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งมน่ั ในการทางาน 3. มีความรับผดิ ชอบ 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน MindMapping ๘. การวัดและประเมนิ ผล ความถกู ตอ้ ง การทางาน การให้ความร่วมมอื รวม ลาดับ ช่อื – สกุล ๑๐-๙ ๘-๗ ๖-๕ ๑๐-๙ ๘-๗ ๖-๕ ๑๐-๙ ๘-๗ ๖-๕ ๑ ๒ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ * รวมคะแนนแล้ว หารด้วย ๓

๙. กระบวนการจัดเรยี นรู้ กิจกรรม วธิ ีสอน สอื่ /อปุ กรณ์ การวดั และประเมนิ ผล -ถาม-ตอบ -การให้ความสนใจ ขั้นเตรียม -Power Pointเรอ่ื ง -การใหค้ วามสนใจ ๑. ครแู นะนาตัวกบั นักเรยี น กีฬาเทเบลิ เทนนสิ ๒. เชค็ ชอื่ /สารวจสุขภาพ -ครูอธบิ าย -ใบกิจกรรม เรอื่ ง -ทดสอบความรู้ -ถาม-ตอบ กีฬาเทเบลิ เทนนิส ขน้ั สอน -Mind Mapping -การรายงานสรุปองค์ ๑. เนอื หาวชิ า -นกั เรียน ปฏิบตั ิ ความรู้ ๑.๑ ประวัตกิ ีฬาเทเบิลเทนนิสต่างประเทศ -นกั เรียน -การให้ความสนใจ ๑.๒ ประวัติกฬี าเทเบิลเทนนสิ ในประเทศ ปฏิบตั ิ ๑.๓ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของกฬี าเทเบิลเทนนิส -ถาม-ตอบ ๑.๔ ความปลอดภัยในการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนสิ ๑.๕ มารยาทของผูเ้ ล่นและผดู้ ูกฬี าเทเบิลเทนนิส ๑.๖ วิธกี ารดูแลรกั ษาอปุ กรณก์ ีฬาเทเบิลเทนนิส ๒. อธิบายเงื่อนไขการจดั การเรียนรู้ กฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คับ ๒.๑ ระเบียบแถว ๒.๒ การเขา้ ชนั เรยี น ๒.๓ การแต่งกาย ๓. การวดั และประเมนิ ผล ขั้นฝึก ให้นักเรยี นทา Mind Mapping ในหวั ขอ้ กีฬา เทเบิลเทนนสิ ขั้นนาไปใช้ สุม่ นักเรียนให้ออกมานาเสนอผลงาน Mind Mapping ทไ่ี ด้ปฏิบตั ิ ขัน้ สรปุ ๑. ครูสรุป อธบิ ายข้อบกพรอ่ งของนกั เรียนและชมเชย นกั เรียนท่ปี ฏิบตั ไิ ดด้ ี ๒. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นไดซ้ ักถาม

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ......................................................... (นายวีรวิชญ์ สถิตท่าผาพฒั นา) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื .......................................................... (นายวรี วชิ ญ์ สถิตท่าผาพัฒนา) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ชิ าสุขศกึ ษาแลพลศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ .......................................................... ( นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง ทักษะการเลน่ กีฬาเทเบลิ เทนนิส จานวน 5 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่อื ง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย จานวน 5ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 ครูผสู้ อน นายวีรวิชญ์ สถิตท่าผาพัฒนา สอนวนั ........ ที่ .. เดือน ........ พ.ศ. 2563 เวลา ……. น. - ……. น. ๑. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหวการ ออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที ักษะในการเคล่อื นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกมและกฬี า ตวั ชวี ัด ม. ๑/๑ เพมิ่ พนู ความสามารถของตน ตามหลักการเคล่อื นไหวที่ใชท้ กั ษะกลไกและทกั ษะ พนื ฐานที่นาไปส่กู ารพัฒนาทกั ษะการเล่นกีฬา ม. ๑/๒ รว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรมและนาหลกั ความรู้ที่ไดไ้ ปเชือ่ มโยง สัมพันธ์กบั วิชาอื่น มาตรฐาน พ ๓.๒ การออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบตั เิ ปน็ ประจาอยา่ งสม่าเสมอ มี วนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนาใจนกั กีฬา มจี ติ วิญญาณในการแขง่ ขันและชื่นชม ในสนุ ทรยี ภาพ ของการกฬี า ตวั ชวี ัด ม. ๑/๑ อธิบายความสาคัญของการออกกาลงั กายและเล่นกีฬา จนเป็นวถิ ชี ีวติ ท่ีมีสุขภาพดี ม. ๑/๒ อธบิ ายความสาคัญของการออกกาลงั กายและเล่นกีฬาจนเป็นวิถชี วี ติ ทม่ี ีสุขภาพ ดี ม. ๑/๓ ออกกาลังกายและเลือกเข้าร่วมเลน่ กีฬาตามความถนดั ความสนใจอยา่ งเตม็ ความสามารถ พรอ้ มทงั มกี ารประเมนิ การเลน่ ของตนและผอู้ น่ื

๒. สาระสาคัญ สมรรถภาพทางกาย คือ ความสามารถของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลบุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายดีนันจะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจาวันได้อย่าง กระฉับกระเฉง โดยไมเ่ หนื่อยล้าจนเกินไปและยังมีพลงั งานสารองมากพอ ๓. เนอื้ หา/สาระการเรียนรู้ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๓.๑ ช่ังนาหนกั ๓.๒ วดั สว่ นสงู ๓.๓ ดนั พืน ผชู้ าย - ให้ผู้ทดสอบนอนคว่ากบั พืนราบ มือทงั สองวางดนั พนื และแยกห่างกนั ประมาณชว่ งหวั ไหลน่ อนควา่ กบั พนื ราบ มือทงั สองวางดันพนื และแยกห่างกันประมาณช่วง หัวไหล่หันปลายนวิ ไปข้างหน้าแขนเหยยี ดตรง ผ้หู ญิง - ให้ผทู้ ดสอบนอนควา่ กับพนื ราบ มือทงั สองวางดนั พนื และแยกหา่ งกนั ประมาณช่วงหวั ไหล่ เพ่ือยกลาตวั ส่วนบน-อก- ขึนมือทังสองวางดนั พนื และแยกหา่ งกัน ประมาณช่วงหัวไหลห่ นั ปลายนิวไปขา้ งหนา้ แขนเหยยี ดตรง อนญุ าตใหล้ าตวั ตงั แต่เอวลงมาสมั ผสั พืนได้ ๓.๔ ลกุ -น่งั ผู้ทดสอบนอนหงายเขา่ ทังสองงอเปน็ มมุ ฉาก เท้าทังสอง วางหา่ งกันพอประมาณมือทงั สองข้างประสานกนั ที่ทา้ ยทอย ผชู้ ว่ ยเอามอื ทังสองกดขอ้ เทา้ ของผเู้ ข้ารบั การทดสอบ ให้สน้ เท้าติดพืน เม่ือพร้อมแลว้ ให้สัญญาณ เริ่ม ผู้เข้าทดสอบทาการลกุ ขึนน่ัง ทาเช่นนีตดิ ต่อกนั ไปให้ได้จานวนครงั ทมี่ ากที่สุด ๓.๕ ยืนกระโดดไกล ผูท้ ดสอบ ยนื ดว้ ยปลายเท้าชิดเสน้ เริ่ม เหวี่ยงแขนทงั ๒ ขา้ ง ไปดา้ นหลัง พรอ้ มกับก้มตวั ลง พอไดจ้ งั หวะเหว่ียงแขน ไปข้างหน้าอย่างเร็ว พรอ้ มกบั กระโดดให้ลาตัวไปข้างหนา้ ให้ไกลท่สี ุด ใช้ไม้วัดระยะจากเสน้ เร่มิ ถึงจดุ ท่ีส้นเท้าลงบนพนื ใกลท้ ่ีสุด ทา ๒ ครงั แลว้ บันทึกระยะทางทก่ี ระโดดได้ ไกลทสี่ ดุ ๓.๖ วงิ่ เก็บของ ผู้ทดสอบวิ่งระยะทาง ๑๐ เมตร ท่อน ไม้ ๒ ท่อน การปฏิบัติ วางไม้ ๒ ทอ่ นไวต้ รงกลางวงกลม ยืนโดยเทา้ ชดิ เส้นเรมิ่ เมอื่ ไดย้ นิ สัญญาณ “เรม่ิ ” ให้หยบิ ท่อนไม้ในวง ๑ ท่อน แล้ววิ่งกลบั มาว่างตรงเสน้ เร่ิม โดยห้ามโยนไม้ แลว้ วง่ิ กลับไปนาไมท้ ่อนท่ี ๒ มาวา่ งทีเ่ ส้นเร่มิ จึงบนั ทกึ เวลา ให้ทดสอบ ๒ ครัง บันทกึ เวลาครงั ที่ใชเ้ วลาน้อยทสี่ ุด (ถ้าไมไ้ ม่วางอย่ใู นวงใหว้ ง่ิ ใหม่) จบั เวลาตงั แต่ เริม่ จนกระท่ังวางทอ่ นไม้ท่อนที่ ๒ ลงในวงกลม

๓.๗ ว่ิง ๕๐ เมตร ผู้ทดสอบยนื หลังเสน้ เร่ิม ใหป้ ลายเท้าข้างใดข้างหน่ึงชดิ เสน้ เมื่อสญั ญาณดัง ใหอ้ อกวิ่งเตม็ ท่ีจนถงึ เสน้ ชัยทรี่ ะยะ ๕๐ เมตร ใหว้ ่ิง ๑ รอบ แลว้ บนั ทกึ เวลาท่ดี ีท่ีสดุ ๔. สรรรถนะสาคัญของผ้เู รียน ๔.๑ ความสามารถในการสอ่ื สาร ๔.๒ ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการสร้างองค์ความรู้ - ทกั ษะการเชอ่ื มโยง - ทกั ษะการตคี วาม ๔.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ - กระบวนการปฏบิ ัติ - กระบวนการทางานกลุ่ม ๕. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มวี นิ ยั ๕.๒ ใฝเ่ รยี นรู้ ๕.๓ ม่งุ มั่นในการทางาน ๖. การบรู ณาการ ไดน้ าเอาสารการเรยี นรตู้ า่ งๆ มาบูรณาการดังตอ่ ไปนี้ ๗. ช้นิ งาน/หลกั ฐานการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น แบบบันทกึ สมรรถภาพทางกาย

๘. กระบวนการจัดเรียนรู้ วิธสี อน ส่อื /อปุ กรณ์ การวัดและ -ถาม-ตอบ ประเมินผล กจิ กรรม -การใหค้ วามสนใจ ขัน้ เตรยี ม -อธบิ าย -นกหวดี -การใหค้ วามสนใจ ๑.ให้นักเรียนเข้าแถวหนา้ กระดาน ๔ แถว -สาธิต -แบบบันทกึ -เบาะ xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรยี น , O : ครู ๒. เชค็ ช่ือ/สารวจสุขภาพ/เคร่ืองแตง่ กาย ๓. ทาการบรหิ ารกาย ขนั้ สอนและสาธิต ๑.ให้นักเรยี นเข้าแถวหนา้ กระดาน ๔ แถว xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นักเรียน , O : ครู ๒. อธิบายความหมายของสมรรถภาพทางกาย ๓. อธิบายและสาธติ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย - ชัง่ น้าหนกั - วัดส่วนสูง - ดันพนื้ - ลุก - นง่ั - ยืนกระโดดไกล - วง่ิ เก็บของ - วิง่ ๕๐ เมตร

ขั้นนาไปใช้ -ปฏบิ ตั ิ -นกหวีด -สงั เกตพฤตกิ รรม -แบบบันทึก ๑. แบ่งกลุม่ นกั เรยี นออกเป็น ๕ กลุ่ม แต่ละกลุ่มทดสอบ -นาฬิกาจบั เวลา สมรรถภาพทางกายตามฐานท่ีกาหนด -เบาะ กลมุ่ ท่ี ๑ เข้าสถานที ี่ ๑ กลุ่มท่ี ๒ เขา้ สถานีท่ี ๒ กลุม่ ที่ ๓ เขา้ สถานีท่ี ๓ กลุ่มที่ ๔ เข้าสถานีที่ ๔ กลุ่มท่ี ๕ เขา้ สถานีที่ ๕ แต่ละกลุ่มทาการทดสอบในแต่ละฐานท่กี าหมดเสร็จแลว้ ให้ หมนุ เวียนเปล่ียนสถานีตามแผนผังสถานีท่กี าหนดให้อยา่ งเปน็ ระเบยี บ ๒. นักเรยี นบันทึกค่าที่ไดล้ งในแบบบันทึก ขัน้ สรุป -ถาม-ตอบ -การให้ความสนใจ ๑.ให้นกั เรียนเข้าแถวหน้ากระดาน ๔ แถว xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรียน , O : ครู ๒. ครูสรุป อธิบายขอ้ บกพร่องของนักเรียนและชมเชยนักเรียน ทีป่ ฏิบตั ไิ ด้ดี ๓. ครูเปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้ซักถาม

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ......................................................... (นายวีรวิชญ์ สถิตทา่ ผาพัฒนา) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื .......................................................... (นายวรี วชิ ญ์ สถิตท่าผาพัฒนา) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ชิ าสขุ ศึกษาแลพลศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ .......................................................... ( นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง ทกั ษะการเล่นกฬี าเทเบลิ เทนนิส จานวน 5 ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 เรือ่ ง การสรา้ งความคุ้นเคย จานวน 5 ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ครูผู้สอน นายวีรวิชญ์ สถิตทา่ ผาพฒั นา สอนวนั ........ ที่ .. เดือน ........ พ.ศ. 2563 เวลา ……. น. - ……. น. ๑. สาระ/มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด สาระท่ี ๓ การเคลอื่ นไหวการ ออกกาลงั กาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มที ักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกมและกีฬา ตัวชีวดั ม. ๑/๒ เล่นกีฬาไทยและกฬี าสากลประเภทบคุ คลและทมี โดยใช้ทกั ษะพนื ฐานตามชนดิ กีฬา อย่างละ ๑ ชนดิ ม. ๑/๓ รว่ มกิจกรรมนนั ทนาการอยา่ งนอ้ ย ๑ กจิ กรรมและนาหลักความรู้ทไ่ี ด้ไปเชอื่ มโยง สัมพนั ธก์ บั วิชาอน่ื มาตรฐาน พ ๓.๒ การออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเล่นกฬี า ปฏบิ ตั เิ ป็นประจาอยา่ งสมา่ เสมอ มี วนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มนี าใจนักกฬี า มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและช่ืนชม ในสุนทรียภาพ ของการกฬี า ตวั ชวี ดั ม. ๑/๑ ออกกาลงั กายและเลอื กเขา้ รว่ มเลน่ กฬี าตามความถนดั ความสนใจอยา่ งเตม็ ความสามารถ พร้อมทังมีการประเมนิ การเล่นของตนและผอู้ ่ืน ม. ๑/๓ ปฏิบัตติ ามกฎ กตกิ า และขอ้ ตกลงตามชนดิ กีฬาทเ่ี ลือกเล่น ม. ๑/๕ ร่วมมือในการเลน่ กีฬา และการทางานเปน็ ทีมอย่างสนุกสนาน

๒. สาระสาคญั การจบั ไมเ้ ทเบิลเทนนิสเปน็ ปัจจยั สาคญั ในการเล่นเทเบิลเทนนสิ ผ้เู ล่นจาเป็นตอ้ งศึกษาและเรยี นรวู้ ิธกี าร จับไม้ตีให้ถกู วธิ ี มีความชานาญ มคี วามถนดั สามารถตีและบงั คบั ทิศทางของลูกไดอ้ ย่างแมน่ ยา แน่นอนในทกุ ลกั ษณะ ซึง่ จะทาใหก้ ารเลน่ มปี ระสทิ ธภิ าพดี ๓. เนอ้ื หา/สาระการเรียนรู้ การจับไม้ปิงปอง ๓.๑ หลกั การและวิธีการจับไม้เทเบิลเทนนิส - การจับไม้แบบธรรมดา การจบั ไม้เทเบิลเทนนสิ วิธีนีเปน็ ท่นี ยิ มกันทวั่ โลก มวี ธิ ีการจับไม้ท่ีคล้ายกบั การจบั มอื ทักทายกนั ของชาว ยุโรป สาหรับการจบั ไม้แบบนจี ะเหมาะสาหรับนักกฬี าที่ถนดั ทงั ในการเลน่ ด้านโฟร์แฮนด์ Fore hand (หน้ามือ) และ ดา้ นแบคแฮนด์ Back hand (หลงั มอื ) การจบั ไม้แบบสากลนจี ะเหมาะสาหรบั การเลน่ ลกู ตา่ งๆ ไดง้ า่ ย โดยเฉพาะลกู TOP SPIN, BACK SPIN, SIDE SPIN ซึ่งการตีลูกต่างๆ นันจะไม่ฝนื ธรรมชาติเหมือนกบั การจับไม้ แบบไมจ้ นี แตก่ ารจับไมแ้ บบนมี ักจะมจี ดุ อ่อนอยูท่ ก่ี ลางลาตวั เพราะเมอื่ คตู่ อ่ สู้ตีเข้ากลางตัว หากเพราะหากฝกึ มา ไม่ดีจะทาให้ตัดสินใจไดย้ ากว่าจะใชด้ ้านใดในการตลี ูก - การจบั ไม้แบบจับปากกา การจบั ไมแ้ บบนจี ะเปน็ ท่นี ิยมกนั มากในนักกฬี าแถบทวปี เอเชียของเรา ได้แก่ จีน , ญ่ีปนุ่ , เกาหลี สาหรับ นกั กฬี าท่ีใชว้ ิธกี ารจบั ไม้แบบนจี ะถนดั ในการเล่นดา้ นโฟร์แฮนดไ์ ดด้ เี ปน็ พเิ ศษ อกี ทงั จะต้องมีการเคลือ่ นทไี่ ด้ รวดเรว็ ซึ่งชาวเอเชียเราสว่ นใหญต่ วั เล็กและเคลื่อนท่ไี ดร้ วดเร็ว การจบั ไม้แบบไม้จีน จงึ เปน็ ทนี่ ิยมกนั แถบเอเชีย สาหรับในยุโรปแล้วมนี กั กีฬาที่ใช้วิธกี ารจับไม้แบบนีกนั นอ้ ยมาก เพราะนักกฬี ายโุ รปมกั จะเคลอื่ นทไ่ี ดช้ า้ และการ จบั ไมแ้ บบไม้จีนจะมจี ดุ ออ่ นอยทู่ ่ดี ้าน Back hand เพราะไม่สามารถเลน่ ลูก TOP SPIN ไดส้ ะดวก แต่ปจั จุบันนี ประเทศจนี ได้คิดคน้ วธิ กี ารตีแบบใหม่ ซ่งึ ทาใหว้ ธิ ีการจับไม้แบบไมจ้ ีนมยี ทุ ธวธิ ีในการตลี กู ได้รนุ แรงและหลากหลาย มากยงิ่ ขึน คอื การใชด้ ้านหลังมือตี ซึ่งอดตี ท่ีผา่ นมาดา้ นนีจะไมค่ ่อยได้ใชใ้ นการตีลกู นักกีฬาจีนยคุ ใหมจ่ ะถนัดใน การเล่นลกู หลงั มือนีมากขึน เพราะสามารถเลน่ ได้ลกู TOP SPIN และ ลกู ตบไดด้ ีอีกด้วย นับเป็นอาวธุ ใหมส่ าหรับ นักกีฬาจนี ไว้ปราบนกั กีฬาทจ่ี บั ไม้แบบสากลโดยเฉพาะ ๓.๒ ขอ้ ดขี ้อเสยี ของการจบั ไม้แบบธรรมดาและแบบจับปากกา ๓.๓ การสรา้ งความคนุ้ เคยกับลูกและไม้เทเบิลเทนนสิ ๔. สรรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ๔.๑ ความสามารถในการสอ่ื สาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการสรา้ งองคค์ วามรู้ - ทักษะการเชื่อมโยง - ทกั ษะการตีความ ๔.๓ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต - กระบวนการปฏิบัติ - กระบวนการทางานกลมุ่

๕. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๕.๑ มวี นิ ยั ๕.๒ ใฝเ่ รยี นรู้ ๕.๓ มุ่งม่นั ในการทางาน ๖. การบรู ณาการ ไดน้ าเอาสารการเรยี นรู้ต่างๆ มาบูรณาการดงั ตอ่ ไปน้ี ๗. ชนิ้ งาน/หลกั ฐานการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น ปฏิบตั ิการเดาะลกู หนา้ มอื และหลงั มอื ๘. การวัดและประเมินผล ลาดบั ช่ือ – สกลุ ความถูกต้อง การทางาน การใหค้ วามร่วมมือ รวม ๑๐- ๘-๗ ๖-๕ ๑๐- ๘-๗ ๖-๕ ๑๐- ๘-๗ ๖-๕ ๙๙๙ ๑ ๒ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ * รวมคะแนนแล้ว หารดว้ ย ๓

๙. กระบวนการจัดเรียนรู้ กิจกรรม วิธสี อน ส่ือ/อปุ กรณ์ การวดั และประเมนิ ผล -การให้ความสนใจ ขน้ั เตรยี ม -ถาม-ตอบ ๑. ให้นกั เรียนเข้าแถวหนา้ กระดาน ๔ แถว xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรียน , O : ครู ๒. เชค็ ชื่อ/สารวจสุขภาพ/เครอื่ งแต่งกาย ๓. ทาการบริหารกาย ขั้นสอนและสาธติ -อธบิ าย -นกหวดี -การให้ความสนใจ ๑. ใหน้ กั เรยี นเขา้ แถวหนา้ กระดาน ๔ แถว -สาธิต -ลกู เทเบลิ เทนนิส xxxxxxxx -ไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรยี น , O : ครู ๒. การจับไม้เทเบิลเทนนิส ๓. ขอ้ ดขี อ้ เสียของการจับไมแ้ บบธรรมดาและแบบจับ ปากกา ๔. การสร้างความคุน้ เคยกบั ลกู และไมเ้ ทเบิลเทนนิส ขั้นฝึก -ปฏิบัติ -นกหวีด -สังเกตพฤตกิ รรม ให้นกั เรยี นเขา้ แถวหน้ากระดาน ๔ แถว เดาะลกู ทีละแถว -ลูกเทเบลิ เทนนิส - โยนลกู ขน้ึ กลางอากาศดว้ ยมือขวาและรับดว้ ยมอื ขาว -ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส ระดบั ตา่ ไปสงู - โยนลูกขนึ้ กลางอากาศด้วยมือซา้ ยและรับดว้ ยมือซ้าย ระดับต่าไปสูง

- โยนลกู ขึ้นกลางอากาศดว้ ยมอื ขวาและรบั ดว้ ยมือ ซา้ ย/โยนลูกขึน้ กลางอากาศดว้ ยมือซา้ ยและรับด้วยมือ ขวา ระดับต่าไปสงู - โยนลูกขนานกบั ลาตัวสลับซ้ายขวา - ปาลกู ด้วยมอื ขวากระทบพ้นื เมอื่ ลูกกระดอนข้นึ มา จบั ดว้ ยมอื ขวา - ปาลกู ดว้ ยมือซา้ ยกระทบพื้น เมื่อลกู กระดอนข้นึ มา จับดว้ ยมอื ซา้ ย - ปาลกู ด้วยมอื ขวากระทบพนื้ เมอ่ื ลูกกระดอนขน้ึ มา จบั ด้วยมอื ซ้าย/ปาลูกดว้ ยมอื ซ้ายกระทบพืน้ เม่ือลกู กระดอนขน้ึ มา จับดว้ ยมอื ขวา - จบั คู่หนั หน้าเข้าหากัน ยืนหา่ งงกนั ประมาณ ๓ – ๔ เมตรโยนลูกโดยไม่ใหล้ กู กระทบพน้ื รับ – สง่ กบั คู่ สลับกนั ไปมา - มอื ทีไ่ ม่ถนัด ถือลูก มอื ท่ีถนดั จับไม้ โยนลกู ข้ึนแลว้ ใช้ ไม้ตลี กู ขึ้นกลางอากาศ เม่ือลูกตกลงใชม้ อื จบั - เดาะลูกหนา้ มอื - เดาะลกู หลงั มือ - เดาะลูกสลับหน้ามือหลงั มอื - ตลี ูกกระทบพ้นื ดว้ ยหนา้ มือ - ตลี กู กระทบพ้ืนดว้ ยหลังมอื - ตีลูกกระทบพน้ื ดว้ ยหน้ามือสลับหลงั มือ - เดาะลูกรอบสนาม - เดาะลกู ตามอิสระ - ตลี กู กระทบผนงั - ตลี ูกแบบโตค้ ู่

ข้นั นาไปใช้ -ปฏิบตั ิ -นกหวดี -การปฏิบัตทิ ี่ถูกต้อง ๑. ให้นักเรียนเข้าแถวตอนลกึ ๔ แถว นกั เรยี นแตล่ ะแถว เดาะลูกอ้อมหลกั แถวไหนเสร็จกอ่ นถือเปน็ ผูช้ นะ -ลกู เทเบิลเทนนิส ของทกั ษะ xxxx -ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส xx x x wwww X : นกั เรยี น , O : ครู , W : กรวย ๒. ให้นักเรยี นเดาะลูกสลับหนา้ มือหลังรอบสนาม บาสเกตบอล ๓. ใหน้ กั เรียนตีลูกแบบโต้คู่ เกณฑก์ ารให้คะแนน ความถกู ต้องในการ ขนั้ สรุป -ถาม-ตอบ การจับไม้ การตลี ูก ๑. ให้นกั เรียนเข้าแถวหนา้ กระดาน ๔ แถว ๑๐ คะแนน xxxxxxxx เกณฑก์ ารให้คะแนน xxxxxxxx ความถูกต้องในการ xxxxxxxx การจบั ไม้ การตลี กู xxxxxxxx ๑๐ คะแนน -การใหค้ วามสนใจ O X : นกั เรยี น , O : ครู ๒. ครูสรุป อธิบายข้อบกพร่องของนักเรียนและชมเชย นักเรยี นทปี่ ฏิบัตไิ ดด้ ี ๓. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรยี นไดซ้ กั ถาม

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ......................................................... (นายวีรวิชญ์ สถิตท่าผาพฒั นา) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื .......................................................... (นายวรี วชิ ญ์ สถิตท่าผาพัฒนา) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ชิ าสุขศกึ ษาแลพลศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ .......................................................... ( นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่อื ง ทกั ษะการเล่นกฬี าเทเบลิ เทนนสิ จานวน 5 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง การเสริ ฟ์ ลูกเทเบิลเทนนสิ จานวน 5 ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ครูผู้สอน นายวรี วิชญ์ สถิตทา่ ผาพัฒนา สอนวนั ........ ท่ี .. เดือน ........ พ.ศ. 2563 เวลา ……. น. - ……. น. ๑. สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวดั สาระที่ ๓ การเคล่อื นไหวการ ออกกาลังกาย การเลน่ เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลอื่ นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกฬี า ตวั ชีวัด ม. ๑/๒ เลน่ กฬี าไทยและกฬี าสากลประเภทบคุ คลและทมี โดยใชท้ กั ษะพนื ฐานตามชนิด กฬี า อยา่ งละ ๑ ชนดิ มาตรฐาน พ ๓.๒ การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกฬี า ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มี วนิ ยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีนาใจนกั กฬี า มีจิตวิญญาณในการแขง่ ขันและช่ืนชม ในสุนทรยี ภาพ ของการกฬี า ตัวชีวัด ม. ๑/๑ ออกกาลังกายและเลือกเขา้ ร่วมเล่นกีฬาตามความถนดั ความสนใจอยา่ งเต็ม ความสามารถ พรอ้ มทังมีการประเมนิ การเล่นของตนและผอู้ ่ืน ม. ๑/๓ ปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกา และข้อตกลงตามชนิดกฬี าทเ่ี ลอื กเล่น ม. ๑/๕ ร่วมมอื ในการเลน่ กีฬา และการทางานเปน็ ทีมอยา่ งสนกุ สนาน

๒. สาระสาคัญ การเสิรฟ์ ลกู เป็นกลวธิ กี ารเล่นอันดบั แรกสดุ ของการเล่นเทเบลิ เทนนิส การเสริ ฟ์ ลูกที่ดี ถูกตอ้ งถามกตกิ า แนน่ อน รุนแรงและลงตามจุดทีต่ อ้ งการ จะนาชัยชนะมาส่ผู ู้เลน่ ไดง้ ่าย ในทางตรงกนั ขา้ ม การเสิรฟ์ ลกู ทไี่ มด่ ี จะ เป็นการเพมิ่ คะแนนให้ฝ่ายตรงขา้ ม ฉะนนั ผเู้ ล่นทุกคนควรฝึกการเสริ ฟ์ ลูกให้ชานาญ จากทา่ งา่ ยไปหาทา่ ยาก ตามลาดับ ๓. เนอื้ หา/สาระการเรียนรู้ ๓.๑ หลกั การและวธิ ีการเสริ ์ฟลกู หนา้ มือ - ยนื ในทา่ เตรยี ม - โยนลูกขึนพร้อมกับเหว่ียงไมไ้ ปด้านหลัง - เหวี่ยงไมไ้ ปกระทบลกู - กลับอยใู่ นท่าเตรียม ๓.๒ หลกั การและวิธีการเสิรฟ์ ลูกหลงั มือ - ยืนในทา่ เตรียม - โยนลูกขึนพร้อมกับเหวย่ี งไม้ไปดา้ นหลงั - เหวยี่ งไมไ้ ปกระทบลกู - กลบั อยู่ในทา่ เตรยี ม ๓.๓ การสง่ ลูกทีถ่ กู ต้อง ๑. เม่ือเร่มิ ส่งลกู ลูกเทเบิลเทนนสิ ตอ้ งวางเปน็ อิสระอยูบ่ นฝ่ามอื ของมืออสิ ระ โดยแบบฝา่ มือออกและลกู ต้องหยดุ น่ิง โดยลูกนนั ต้องอยหู่ ลังเสน้ สกดั และอย่เู หนือระดับพืนผิวโตะ๊ ๒. ในการส่งลกู ผสู้ ่งจะตอ้ งโยนลกู ขึนข้างบนดว้ ยมอื ให้ใกลเ้ คียงกับเสน้ ตงั ฉากและใหส้ งู จากจดุ ท่ีลกู ออก จากฝ่ามือไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ เซนติเมตร โดยลกู ทโ่ี ยนขึนไปนนั จะต้องไมเ่ ป็นลูกทถ่ี กู ทาใหห้ มนุ ดว้ ยความตังใจ ๓. ผู้สง่ จะตลี กู ได้ขณะที่ลกู เทเบลิ เทนนิสได้ลดระดบั ลงจากจุดสูงสดุ แลว้ เพื่อให้ลูกกระทบแดนของผสู้ ง่ ก่อนแล้วข้ามหรอื อ้อมตาข่ายไปกระทบแดนของฝ่ายรบั สาหรบั ประเภทคู่ ลกู เทเบลิ เทนนสิ จะต้องกระทบครง่ึ แดน ขวาของผ้สู ่งกอ่ นแล้วข้ามตาข่ายไปกระทบคร่ึงแดนขวาของฝ่ายรบั ๔. ทังลูกเทเบิลเทนนสิ และไมเ้ ทเบิลเทนนิสจะต้องอยเู่ หรือพนื ผิวโตะ๊ ตลอดเวลาที่เร่มิ ทาการสง่ ลกู จนกระท่งั ไมไ้ ดก้ ระทบลูกแล้ว ๕. ในการส่งลูก ขณะที่ลูกกระทบหน้าไม้จะต้องอยู่นอกเสน้ สกัดทางด้านผสู้ ง่ หรอื นอกอาณาเขตเส้นสมมตุ ิ ท่ีต่อออกไปจากเสน้ สกัด และต้องไม่เลยสว่ นทไ่ี กลทส่ี ุดของลาตัวออกไปทางด้านหลงั โดยวดั จากเส้นสกดั ยกเว้น แขน ศรษี ะ หรอื ขา ๖. เป็นความรับผิดชอบของเล่นท่ีจะต้องส่งลูกให้ผู้ตดั สินหรอื ผู้ช่วยผตู้ ัดสินเห็น และตรวจสอบถงึ การส่ง ลกู นันวา่ ถูกต้องตามกตกิ าหรือไม่

๖.๑ ถ้าผู้ตัดสนิ สงสยั ในลักษณะการส่งลกู แต่ทังเขาและผู้ชว่ ยผตู้ ัดสินไมม่ น่ั ใจว่าผู้ส่งได้ส่งลกู ถกู ตามกติกา ในโอกาสแรกของแมทซน์ ันจะเตอื นผูส้ ง่ โดยยงั ไมไ่ ดต้ ัดคะแนน ๖.๒ สาหรบั ในครงั ต่อไปในแมทซเ์ ดยี วกนั นัน หากผู้ส่งคนเดิมยงั คงสง่ ลูกทเี่ ปน็ ขอ้ สงสยั ใน ทานองเดียวกนั หรือลกั ษณะน่าสงสยั อื่นๆ อกี ผู้ส่งจะเสียคะแนนทันทโี ดยไมม่ ีการเตอื น ๖.๓ หากผู้สง่ ไดส้ ่งลกู ผดิ กตกิ าอย่างชัดเจน ผู้ส่งจะเสยี คะแนนทนั ทีโดยไม่มีการเตอื น ๗. ผูส้ ง่ ลูกอาจได้รบั การอนโุ ลมได้บ้าง หากผู้ส่งคนนันแจ้งใหผ้ ู้ตัดสนิ ทราบถงึ การหย่อนสมรรถภาพทาง รา่ งกาย จนเป็นเหตใุ หไ้ ม่สามารถสง่ ลูกได้ถกู ต้องตามกตกิ า ทังนตี อ้ งแจง้ ใหผ้ ้ตู ัดสนิ ทราบกอ่ นการแขง่ ขันทกุ ครงั ๔. สรรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการสอื่ สาร ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการสร้างองค์ความรู้ - ทักษะการเช่อื มโยง - ทักษะการตคี วาม ๔.๓ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ - กระบวนการปฏิบตั ิ - กระบวนการทางานกล่มุ ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.๑ มวี นิ ยั ๕.๒ ใฝเ่ รยี นรู้ ๕.๓ ม่งุ ม่ันในการทางาน ๖. การบรู ณาการ ได้นาเอาสารการเรยี นร้ตู ่างๆ มาบูรณาการดังตอ่ ไปนี้ ๗. ชน้ิ งาน/หลกั ฐานการเรียนรู้ของผเู้ รียน ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการเสิร์ฟลูกเทเบิลเทนนสิ

๘. การวัดและประเมินผล ลาดับ ชื่อ – สกลุ ความถูกต้อง การทางาน การให้ความ รวม รว่ มมอื ๑๐- ๘- ๖- ๑๐- ๘- ๖- ๑๐- ๘- ๖- ๙๗๕๙๗๕๙๗๕ ๑ ๒ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ * รวมคะแนนแลว้ หารด้วย ๓ วธิ สี อน สือ่ / การวัดและ -ถาม-ตอบ อุปกรณ์ ประเมนิ ผล ๙. กระบวนการจัดเรยี นรู้ -การใหค้ วาม สนใจ กจิ กรรม ขัน้ เตรียม ๑. ให้นกั เรียนเข้าแถวหน้ากระดาน ๔ แถว xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรียน , O : ครู ๒. เช็คช่ือ/สารวจสุขภาพ/เคร่ืองแตง่ กาย ๓. ทาการบริหารกาย

ขนั้ สอนและสาธติ -อธบิ าย -นกหวีด -การใหค้ วาม ๑. ใหน้ กั เรียนเขา้ แถวหน้ากระดาน ๔ แถว -สาธิต -ลูกเทเบลิ สนใจ เทนนสิ xxxxxxxx -ไมเ้ ทเบลิ xxxxxxxx เทนนิส xxxxxxxx -โต๊ะเทเบิล xxxxxxxx เทนนสิ -ตาข่ายเท O เบลิ เทนนสิ X : นักเรยี น , O : ครู ๒. หลักการและวธิ กี ารเสิร์ฟลูก หน้ามอื – หลงั มอื ของการเลน่ -นกหวดี -สงั เกตพฤตกิ รรม ประเภทเดย่ี วและประเภทคู่ -ลกู เทเบิล ๓. ขน้ั ตอนในการเสิร์ฟลูก หน้ามือ – หลังมือ ของการเลน่ ประเภท เทนนิส เดี่ยวและประเภทคู่ -ไม้เทเบิล เทนนสิ ขั้นฝึก -ปฏบิ ัติ -โตะ๊ เทเบิล ๑. การเสริ ์ฟลูกหนา้ มือ แนวตรง เทนนิส ๒. การเสริ ฟ์ ลูกหลงั มอื แนวตรง -ตาขา่ ยเท ๓. การเสริ ฟ์ ลูกหนา้ มือ แนวทแยงมมุ เบลิ เทนนสิ ๔. การเสริ ์ฟลูกหลงั มือ แนวทแยงมุม -นกหวดี -การปฏิบตั ิที่ -ลกู เทเบลิ ถกู ตอ้ งของทักษะ ข้นั นาไปใช้ -ปฏบิ ัติ เทนนสิ ๑. การเสิรฟ์ ลูกหน้ามือ แนวทแยงมุมให้ลงตามเป้าหมาดทก่ี าหนด -ไมเ้ ทเบลิ เกณฑ์การให้ ไว้ คนละ ๕ ลกู เทนนิส คะแนน -โต๊ะเทเบิล เสิร์ฟลูกหน้ามือ ๑๒ เทนนิส ลูกละ ๒ คะแนน x -ตาขา่ ยเท เบลิ เทนนิส X : นกั เรียน

๒. การเสิร์ฟลกู หลังมือ แนวทแยงมุมให้ลงตามเป้าหมาดทก่ี าหนดไว้ เกณฑก์ ารให้ คนละ ๕ ลกู คะแนน เสริ ฟ์ ลกู หลงั มอื x ลูกละ ๒ คะแนน ๑๒ -การใหค้ วาม X : นกั เรยี น สนใจ ขั้นสรุป -ถาม-ตอบ ๑. ให้นกั เรียนเข้าแถวหน้ากระดาน ๔ แถว xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx xxxxxxxx O X : นกั เรยี น , O : ครู ๒. ครูสรปุ อธิบายขอ้ บกพร่องของนกั เรยี นและชมเชยนกั เรียนที่ ปฏิบตั ิไดด้ ี ๓. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนได้ซกั ถาม

บนั ทกึ ผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ......................................................... (นายวีรวิชญ์ สถิตท่าผาพฒั นา) ครูผู้สอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื .......................................................... (นายวรี วชิ ญ์ สถิตท่าผาพัฒนา) หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ชิ าสุขศกึ ษาแลพลศกึ ษา ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ .......................................................... ( นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31