Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฝึกสารคดี

แบบฝึกสารคดี

Published by Rungrutai Sungthong, 2023-01-05 08:40:17

Description: แบบฝึกสารคดี

Search

Read the Text Version

คำนำ ชุดฝึกเสริมทักษะการเขียนสารคดีนี้ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจ และช่วยฝึกทักษะในการเขียนสารคดี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรียะลา จังหวัดยะลา ซึ่งชุดฝึกเสริมทักษะนี้ประกอบด้วย ใบความรู้และกิจกรรม 6 เรื่อง ดังนี้ 1) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสารคดี 2) โวหารที่ใช้ในการเขียนสารคดี 3) การเขียนย่อหน้า และการเขียนขยายความ 4) การวางโครงเรื่อง ในการเขียนสารคดี 5) การเขยี นสารคดีเชงิ ทอ่ งเที่ยว และ 6) การประเมินคณุ คา่ สารคดี โดยชดุ ฝกึ เสริมทกั ษะน้ี จะชว่ ยให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรดู้ ้วยตนเองตามอตั ภาพ เดก็ แตล่ ะคนมีความสามารถ แตกต่างกัน การให้ผู้เรียนได้ทาชุดฝึกทักษะที่เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละคนใช้เวลาที่แตกต่างกัน ออกไปตามลักษณะการเรียนรู้ของแต่ละคนจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ผเู้ รียนเกดิ กาลงั ใจในการเรยี นรู้ นอกจากน้นั ยงั เปน็ การซอ่ มเสริมผเู้ รยี นท่เี รียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ชุดฝึกทักษะช่วยเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่คงทน สามารถให้ผู้เรียนได้ฝึกทันทีหลังจากจบบทเรียนนั้ น ๆ หรือให้มีการฝึกซ้าหลาย ๆ ครั้งเพื่อความแม่นยาในเรื่องที่ต้องการฝึก หรือเน้นย้าให้นักเรียนทาชุดฝึกทักษะ เพม่ิ เติมในเรื่องที่ผิดไดอ้ กี ดว้ ย รุ่งฤทัย สงั ขท์ อง ผู้จัดทา

สำรบัญ หนำ้ เรือ่ ง 1 คาชี้แจง 2 ใบความร้ทู ี่ 1 ความรทู้ ว่ั ไปเกี่ยวกบั สารคดี 5 กิจกรรมที่ 1 ความรู้ท่วั ไปเก่ยี วกบั สารคดี 6 ใบความรู้ที่ 2 โวหารที่ใชใ้ นการเขียนสารคดี 9 กจิ กรรมท่ี 2 โวหารที่ใช้ในการเขียนสารคดี 10 ใบความรทู้ ่ี 3 การเขยี นย่อหน้า และการเขยี นขยายความ 16 กจิ กรรมที่ 3 การเขยี นย่อหน้า และการเขยี นขยายความ 17 ใบความร้ทู ี่ 4 การวางโครงเร่ืองในการเขยี นสารคดี 21 กิจกรรมท่ี 4 การวางโครงเรื่องในการเขยี นสารคดี 22 ใบความรู้ที่ 5 การเขียนสารคดเี ชงิ ท่องเทย่ี ว 29 กิจกรรมที่ 5 สรุปองค์ความรู้ 30 ใบความรทู้ ่ี 6 การประเมินคุณค่าสารคดี 31 กจิ กรรมที่ 6 ประเมนิ ค่าสารคดี

1

2 ใบความรู้ที่ 1 ความร้ทู ว่ั ไปเกยี่ วกบั สารคดี สารคดี เป็นงานเขียนที่ให้ทั้งความรู้ ความคิดและความบันเทิง ช่วยเปิดโลกทัศน์ของผู้อ่านให้ กว้างไกล การฝึกเขียนสารคดจี งึ เป็นการฝึกทักษะกระบวนการคิดให้เป็นระบบ ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลในการ เขียนและใช้ภาษาถา่ ยทอดความคดิ สู่ผู้อ่าน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเลา่ เรียน และเป็นพื้นฐานในการ ใชภ้ าษาเพื่อประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต ความหมายของสารคดี สารคดี หมายถึง งานเขียนที่เรียบเรียงขึ้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ความรู้ ให้ข้อคิด คติเตือนใจและบอก เล่าข้อเท็จจริงบางสิ่งบางอย่าง เนื้อหาสาระของสารคดีอาจเกี่ยวกับความรู้ต่าง ๆ ของโลก เช่น ความรู้ เกี่ยวกับศาสนา ประวัติศาสตร์ สังคมศึกษา เกี่ยวกับบุคคล สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นความ จริง อาจสอดแทรกความคิดเห็นของผู้เขียน หรือวิพากษ์วิจารณ์ลงไปในเนื้อหาก็ได้ เนื้อหาความรู้ในสารคดี ต้องมคี วามถูกตอ้ ง ใชภ้ าษาถกู ต้องตามหลกั การใชภ้ าษา มเี นื้อความตรงไปตรงมา กะทดั รดั เขา้ ใจงา่ ย ลกั ษณะของสารคดี งานเขยี นสารคดีมีลกั ษณะสำคญั ดังน้ี 1. มีเนื้อหาที่เป็นสาร ประโยชน์ มุ่งให้ผู้อ่านเกิดความรู้ ได้รับความคิดเป็นหลัก เช่น วิทยาศาสตร์ ศาสนา ภาษา กีฬา ฯลฯ 2. มีเนอ้ื หานา่ สนใจ อาจเป็นเร่ืองทีก่ ำลังไดร้ ับความนิยม หรือกำลงั เปน็ ทนี่ ่าสนใจในปจั จบุ นั หรืออาจ เป็นการเปิดประเดน็ แง่มมุ ใหม่ ๆ ทีน่ ่าสนใจ 3. ใช้สำนวนภาษาทีด่ ี กระตุ้นความสนใจผู้อ่าน ด้วยการใช้โดวหารบรรยาย พรรณนา ฯลฯ ตลอดจน ใช้ภาพพจน์แบบต่าง ๆ 4. มงุ่ ใหค้ วามรูแ้ ละความเพลิดเพลนิ ควบค่กู ันไป ประเภทของสารคดี สารคดสี ามารถแบ่งไดอ้ ย่างกว้าง ๆ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สารคดที วั่ ไป และสารคดีวิชาการ 1. สารคดที ่วั ไป เป็นสารคดที ่ใี ห้ความรู้ท่ัวไป มีเนือ้ หาหลากหลาย ไมจ่ ำกดั 2. การเขียนสารคดีเกยี่ วกับสตั ว์ เปน็ การเขียนเล่าสภาพธรรมชาติ ลกั ษณะ กิจกรรมหรอื เหตุการณ์ที่ สตั วเ์ ขา้ ไปเก่ียวข้อง หรอื ประวัติความเป็นใของสตั ว์ก็ได้

3 องคป์ ระกอบของสารคดี 1. บทนำ เป็นการเริ่มต้นเรื่อง ความยาวไม่มากนัก ประมาณย่อหน้าเดียว การเขียนบทนำ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความสนใจแก่ผู้อ่าน โดยการเกริ่นนำให้ทราบว่า เรื่องนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีสาระสำคัญอย่างไร มีประโยชน์ต่อผู้อ่านอย่างไร โดยการกล่าวในภาพรวม ๆ และแสดงทรรศนะในภาพ กว้าง ๆ ไม่ละเอยี ด 2. เนื้อเรือ่ ง เปน็ การดำเนนิ เรื่องโดยการขยายรายละเอยี ดเน้ือความท่ีนำเสนอในบทนำ เพ่ือให้ผู้อ่าน เข้าใจ ได้ทราบรายละเอียดข้อมูลตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ โดยอาจแทรกสถิติ รูปภาพ ตัวอย่าง ประกอบ เพื่อความน่าเชื่อถือ เนื้อเรื่องจะสั้นหรือยาวขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของผู้เขียน เมื่ออ่านจบแล้วผู้อ่าน ควรได้รบั ประโยชน์ครบถว้ นตามจุดมุ่งหมายที่ผู้เขียนกำหนดไว้ 3. สรุป เป็นการเขียนข้อความในย่อหน้าสุดท้ายของเรื่อง เป็นการสรุปปิดท้ายเรื่องเมื่อผู้เขียนเห็น ว่าได้กล่าวเนื้อหาครบถ้วนแล้ว โดยผู้เขียนต้องใช้ศิลปะในการเขียนเพื่อสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่าน เช่น มีการสรปุ ทงิ้ ทา้ ยด้วยคำถามทีน่ า่ สนใจ สรุปโดยใช้สำนวน สภุ าษิต คำพังเพย เป็นตน้ หลักการเขยี นสารคดี 1. ตั้งจุดมุ่งหมายในการเขียน เป็นสิ่งสำคัญเบื้องต้นของการเขียนสารคดี เพราะการเขียนสารคดี แต่ละเรื่อง ผู้เขียนย่อมมีจุดมุ่งหมายที่แตกต่างกันออกไป ควรตั้งจุดมุ่งหมายให้ชัดเจนว่าเขียนสำหรับใคร เพือ่ จะไดก้ ล่ันกรองเนื้อหา ภาษาและประเดน็ ในการนำเสนอในประเดน็ ทเ่ี หมาะสมกบั วยั ของผู้อา่ น 2. เลอื กเรื่อง หลังจากการตัง้ จุดมงุ่ หมายแลว้ ข้ันตอนตอ่ มา คือ การเลอื กเร่ืองในการเขยี น ควรเลอื ก เรือ่ งท่มี ีความถนัด และมีความสนใจเป็นพเิ ศษ มปี ระสบการณแ์ ละมีความรู้ หรือเป็นเรื่องที่คนส่วนใหญ่ สนใจ ทนั สมัยและมีประโยชนต์ ่อสังคม 3. รวบรวมข้อมลู เมอื่ เลอื กเร่อื งทีจ่ ะเขียนแล้ว ขั้นต่อไปต้องรวบรวมข้อมลู สำหรับการเขยี น แหล่งความรู้ที่ใช้ประกอบการเขียน ได้แก่ หนังสือ สารนุกรม นิตยสาร วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต การสมั ภาษณ์ การสนทนา และการเก็บข้อมลู ภาคสนาม 4. การวางโครงเรื่อง เป็นการตั้งกรอบความคิดในการเขียนสารคดีว่า สารคดีที่จะเขียนน้ัน จะบรรจุเนื้อหาอะไรให้ผู้อ่านได้อ่านบ้าง เพราะเนื้อหาบางอย่างมีแง่มุมที่หลากหลาย ซึ่งบางแง่มุมอาจไม่ จำเปน็ ตอ้ งเขียนถงึ ก็ได้

4 5. การลงมือเขียนเรื่อง เมื่อรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ได้พร้อมแล้ว ก็ลงมือเขียนโดยตั้งชื่อเรื่อง เขียนโครงเรื่อง และลงมือเขียนรายละเอียดของเรื่องด้วยความตั้งใจ ใช้ภาษาที่ชัดเจน ไม่คลุมเครือ เร้าใจให้ ผ้อู ่านเกดิ ความประทบั ใจ และจูงใจให้ผ้อู า่ นสนใจตดิ ตามต่อไป 6. การทบทวนเร่ืองที่เขียน ควรทบทวนสาระของเรื่องว่า ตรงกบั ช่ือเรอ่ื งและจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้ หรือไม่ ตลอดจนควรพิจารณาความถูกต้อง สมบูรณ์ ความเหมาะสมของเนื้อหา รวมทั้งการใช้ภาษาและ สัมพนั ธภาพของเร่ืองดว้ ย 7. การตงั้ ชือ่ เร่ือง ควรตัง้ ใหม้ ลี กั ษณะ คือ เหมาะแก่กาลเทศะ แปลกใหม่และคมขำ จำง่าย และคลุม ถึงเนื้อเรื่องได้ดีที่สุด ชื่อเรื่องเป็นสิ่งที่จำเป็นและต้องพิถีพิถัน เพราะหากเนื้อเรื่องดีแต่ชื่อเรื่องไม่ดี ก็จะไมส่ ามารถดงึ ดูดความสนใจผู้อา่ น

5 กิจกรรมท่ี 1 ความรู้ทัว่ ไปเกย่ี วกบั สารคดี คำชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านข้อความที่กำหนดให้แล้วทำเครื่องหมาย / หากข้อความนั้นถูกต้อง และทำเครอื่ งหมาย X หากขอ้ ความนัน้ ไมถ่ กู ตอ้ ง ในชอ่ งคำตอบ ขอ้ ข้อความ คำตอบ 1. สารคดี เป็นงานเขยี นท่ีเน้นจินตนาการของผเู้ ขยี นเป็นหลัก 2. สารคดีแบง่ อยา่ งกว้าง ๆ ได้ 2 ประเภท ได้แก่ สารคดที ่วั ไป และสารคดวี ิชาการ 3. สว่ นสรปุ ในการเขยี นสารคดตี ้องอาศยั ศิลปะในการเขยี น เพื่อสร้างความประทับใจ ใหแ้ กผ่ ูอ้ ่าน 4. สารคดีเป็นงานเขยี นทใี่ ห้ท้ังความรู้ ความคิด และความบันเทงิ 5. การยกตวั อย่างประกอบในการเขียนสารคดนี ้นั ตอ้ งเขยี นในส่วนของบทนำ 6. การต้งั ชื่อเรื่องของสารคดตี อ้ งมีความแปลกใหม่ และเขา้ ใจไดง้ ่าย 7. ขน้ั ตอนแรกในการเขยี นสารคดีคือการรวบรวมเนอื้ หาสำหรับเขียนสารคดี 8. การตงั้ กรอบแนวคิดในการเขียนสารคดี คอื การวางโครงเร่ือง 9. เน้อื หาของสารคดีควรเลือกเร่ืองทมี่ ีคนทำมาแลว้ จำนวนมาก เพราะจะเป็นท่รี จู้ ัก ของผู้อ่านมากอ่ นแลว้ 10. การเขียนบทนำ เป็นการดำเนินเร่ืองโดยละเอียด ช่อื ..........................................นามสกุล....................................ชน้ั ม.5/......เลขท.่ี ......

6 ใบความรทู้ ่ี 2 โวหารท่ีใช้ในการเขยี นสารคดี บรรยายโวหาร บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่องหรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลำกับเหตุการณ์ การเขียน บรรยายโวหาร มุ่งความชัดเจน เขียนตรงไปตรงมา รวบรัด กล่าวเฉพาะสาระสำคัญ ไม่จำเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไป มักใช้บรรยายโวหาร เพราะเหมาะกับการติดต่อสื่อสาร เนื่องจากสำนวนประเภทนี้มุ่งเขียนสาระอย่างสั้น ๆ ได้ความชัดเจนงานเขียนที่ใช้บรรยายโวหาร ได้แก่ การเขียนอธิบายประเภทตา่ ง ๆ ตัวอย่าง มิ้ม คือ ผึ้งชนิดเล็ก รังโตขนาดจานข้าว ชอบจับอยู่ตามกอไผ่และป่าละเมาะรก ๆ คอนที่มิ้มจับ จะไม่โตเกินนิ้วมือ มันจะพอกน้ำหวานไว้รอบคอน ใต้คอนทารังต่อย้อยลงมาสำหรับเป็นที่เกิดของตัวอ่อน ตวั มิ้มจับหมุ้ รังจนแน่นมองไม่เห็นรังสเี หลืองข้างใน ปกติมนั จะเกาะกันนิ่งเงยี บเหมือนไม่มีชีวิต มองเห็นเป็น สีดาเลื่อม แต่ถา้ มอี ะไรไปรบกวน ตวั ม้ิมจะไหวตัวยั้วเย้ีย บา้ งเตรยี มออกจากรังเพือ่ ต่อสู้และป้องกนั ( เรอื่ ง เรือ่ งสั้นชนบท ของ นิมติ ร ภมู ิถาวร ) พรรณนาโวหาร พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่างละเอียด สอดแทรกอารมณ์ ความรู้สึกลงไปเพื่อโน้มน้าวใจ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ เกิดอารมณ์คล้อยตามไปด้วย ใช้ในการพูดโน้มน้าว อารมณ์ของผู้ฟัง หรือเขียนสดุดี ชมเมือง ชมความงามของบุคคล สถานที่และแสดง อารมณค์ วามรู้สึกตา่ ง ๆ เป็นตน้ การใช้พรรณนาโวหาร ควรมีความประณีตในการเลือกใช้ถ้อยคำสำนวนที่ไพเราะเพราะพริ้ง เล่นคำ เล่นอักษร ใช้ถ้อยคำทั้งเสียงและความหมายให้ตรงกับความรู้สึกที่ต้องการพรรณนา รู้จักปรุงแต่งถ้อยคำ ให้ผู้รับสารเกิดภาพพจน์ ใช้โวหารเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจน รู้จักเลือกเฟ้นเนื้อหาว่าส่วนใดควรนำมา พรรณนา ต้องเข้าใจเนอื้ หาท่ีจะพรรณนา

7 ตัวอยา่ ง เขาใช้แขนยันพื้นดิน อาการเหนื่อยอ่อน กลิ่นน้ำฝนบนใบหญ้าและกลิ่นไอดินโซนเข้าจมูกวาบหวิว อยากให้มีใครซักคนผ่านมาพบ เพื่อพาเขากลับไปหาหมอในหมู่บ้าน มดหลายตัวเดินสวนขบวนผ่านไปมา มนั ไม่มีทที า่ จะสนใจเขาเลยแม้แต่น้อย เขามองดูมนั อยา่ งเล่ือนลอยทำไมมัน จงึ เฉยเมยกับฉัน มนั คงรู้แน่ ฉัน อยากให้มนั เป็นคนจรงิ ๆ ฉนั จะตอ้ งกลบั บา้ นใหไ้ ด้ เขาคิดพลางเหม่งมองดูยอดสนของหมู่บา้ น หาดเสีย้ วเห็น อยไู่ มไ่ กล ดวงอาทิตย์สแี ดงเขม้ กำลังคล้อยลงเหนอื ยอดไม้ทางทศิ ตะวันตก (นคิ ม รายวา: คนบนตน้ ไม)้ เทศนาโวหาร เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มีจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจ กล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่าน คิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็นของผู้เขียน เทศนาโวหารจึงยากกว่าโวหาร ทก่ี ลา่ วมา เพราะตอ้ งใชก้ ลวิธใี นการชักจงู ใจ เทศนาโวหาร แปลว่า โวหารที่มุ่งสั่งสอน โดยตีความคาว่าเทศนา ว่าสั่งสอนความจริงเทศนา ในที่นี้ หมายถึง แสดง กล่าวคือ แสดงอย่างแจ่มแจ้งเพื่อให้เห็นคล้อยตาม รูปแบบงานเขียนที่ควรใช้เทศนา โวหาร คอื งานเขียนประเภทบทความชักจูงใจ หรอื บทความแสดงความคิดเห็น ความเรียง เปน็ ตน้ ตวั อยา่ ง 1. ความสามัคคี คือ ความพร้อมเพียงกัน การร่วมแรงร่วมใจ เป็นอันหนึ่งอันเดยี วกันในการทางาน เพื่อให้งาน สำเร็จเรียบร้อยลุล่วงไปได้ด้วยดี และการอยู่ร่วมกันอย่างปรองดอง อย่างมีความสุขความ เจริญก้าวหนา้ ความ 2. ขยันหมั่นเพียร คือ ความมุ่งหมัน่ ไม่เกียจคร้าน ต่อการทำสิ่งต่างๆ ผู้ที่มีความขยันหมั่นเพียรจะ นำมาซึ่งความสำเร็จในชีวิต ดังนั้นเพื่อความสำเร็จในชีวิตถึงแม้จะเหนื่อยยากอย่างไรก็ไม่ควรท้อถอย ตอ้ งอดทนเพ่อื อนาคตท่ดี ใี นวันขา้ งหน้า สาธกโวหาร สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพือ่ อธิบายให้แจม่ แจ้งหรือสนับสนนุ ความคิดเห็นที่เสนอให้หนักแน่น น่าเชื่อถือ สาธกโวหารเป็นโวหารเสริมบรรยายโวหาร พรรณนาโวหารและ เทศนาโวหาร เช่น การเลือกยกตัวอย่างมีหลักที่ควรเลือกให้เข้ากับเนื้อความ อาจยกตัวอย่างสั้น ๆ

8 หลักการเขยี นสาธกโวหาร ควรรู้จกั เลอื กใชโ้ วหารให้เหมาะกับจุดมุ่งหมายในการเขยี นและเน้ือหาในบางโอกาส อาจต้องใช้โวหารหลายชนิดในงานเขียนชิ้นหนึ่งก็ได้ หลักสำคัญอยู่ที่ว่าต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับโอกา ส ตวั อย่าง …แต่ถ้าผู้ใช้อำนาจในทางเห็นแก่ตัว เพื่อประโยชน์ของตัวฝ่ายเดียว และผลแห่งการกระทำนั้นไม่เป็นคุณ กับใคร แม้แก่ประเทศชาติบ้านเมืองของตัว เช่นนี้เราก็ไม่น่าจะยอมรับเป็นความยิ่งใหญ่ ตัวอย่างใน ประวตั ิศาสตร์ไทยของเราเองก็มีอยู่เป็นอันมากไม่มีใครจะปฏิเสธได้ว่า พระเพทราชาหรือพระเจ้าเสือไม่เป็น ผู้ยิ่งใหญ่ทางอำนาจวาสนา ท่านได้สร้างอำนาจขึ้นมาด้วยความฉลาดเฉียบแหลมด้วยเล่ห์เหลี่ยมกุศโลบาย นานาประการ ด้วยความสามารถในการทำรัฐประหารแย่งราชสมบัติทางทายาทโดยชอบธรรมของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช ถืออำนาจเต็มเปี่ยมอยู่ในมือ การกระทำดังกล่าวเป็นตัวอย่างแห่งความยิ่งใหญ่ทาง การเมืองแท้ คือ ไม่ต้องนึกถึงศีลธรรมหรือความผูกพันทางจิตใจ ฆ่าได้ไม่เฉพาะแต่ศัตรู และมิตรก็ฆ่าได้ ถา้ มติ รน้ันไม่มีประโยชน์อะไรตอ่ ไปอีก อุปมาโวหาร อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรยี บเทียบ โดยยกตัวอยา่ ง ส่งิ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กันมาเปรียบเพื่อให้เกิด ความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น โดยอาจเปรียบเทียบอย่างสั้น ๆ หรอื เปรียบเทยี บอย่างละเอยี ดก็ได้ ทั้งนขี้ ึน้ อยู่กับอปุ มาโวหารนน้ั จะนำไปเสรมิ โวหารประเภทใด ตัวอยา่ ง ถ้าแม้เจ้าอาลัยอยู่ด้วยลูกจริงๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้ามาแต่วี่วันไม่ทันรอน เออนี่เจ้าเที่ยว พเนจรนอนตามสนุกใจ ชมนกชมไม้ในไพรวัน สารพันก็มี ทั้งฤๅษีสิทธิ์วิทยาธรคนธรรพ์ เทพารักษ์ผู้มีพักตร์ อันเจรญิ เหน็ แลว้ ก็น่าเพลิดเพลนิ ไมเ่ มนิ ได้ หรอื เจา้ ปะผลไมป้ ระหลาดรสสดสกุ ทรามเสวยไม่เคยกิน เจา้ ฉวย ชิมชอบลิ้นก็หลงฉันอยู่จึ่งช้าอุปมาเสมือนหนึ่งภุมรินบินวะวินว่อน เที่ยวซับซาบเอาเกสรสุคนธมาเลศ พบดอกไท้อันวิเศษต้องประสงค์หลงเคล้าคลึงรสจนลืมรัง เข้าเถื่อนเจ้าลืมพร้าได้หน้าแล้วลืมหลังไม่แล เหลยี วเที่ยวทอดประทับมากลางทาง (มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์ชูชก : เจา้ พระยาพระคลัง หน)

9 กิจกรรมท่ี 2 โวหารที่ใชใ้ นการเขยี นสารคดี คำช้แี จง : นกั เรียนเลือกข้อความที่กำหนดให้มาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้อง บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อปุ มาโวหาร 1. ………………………………… คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่องหรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลำดับเหตุการณ์มุ่งความ ชดั เจน เขยี นตรงไปตรงมา 2. ………………………………… คือ มุ่งให้ความแจ่มแจ้ง ละเอียดเพื่อเห็นภาพและอารมณ์ มีการการเล่นคำ เลน่ เสียง ใช้ภาพพจน์ 3. ………………………………… คือ มีจุดมุ่งหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่า ชกั จงู ให้ผ้อู า่ น คิดเห็นหรือคลอ้ ยตามความคิดเห็นของผู้เขียน 4. ………………………………… คือเปรียบเทยี บโดยยกตวั อยา่ งสง่ิ ท่คี ลา้ ยคลงึ กนั มาเปรยี บเทียบ 5. ………………………………… คือมุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบายให้แจ่มแจ้งหรือสนับสนุน ความคิดเห็นทเ่ี สนอให้หนักแนน่ น่าเชือ่ ถอื 6. “แดดในยามเย็นกำลังลงสู่สมัยใกลว้ ิกาล ทอแสงแผ่ซ่านกระทบทิวเขาเป็นรัศมีสะท้อนแสงเบื้องมีกลุ่มเมฆ เป็นคล่นื ซับซอ้ นสลับกนั เป็นทิวแถว ต้องแสงแดดจบั เปน็ สรี ะยับวะวบั แวว” ขอ้ ความนีเ้ ป็น............................... 7. “ด้ายสายสิญจน์ที่นักท่องเที่ยวได้รับหลังจากที่รดน้ำมนต์แล้วเปรียบเสมือนผ้ายันต์ ปกป้องภยันตรายทั้ง ปวงตลอดระเวลาในการเดิน” ขอ้ ความน้เี ป็น...................................... 8. “เยาวชนผู้ที่จะเป็นกำลังของชาติควรจะประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนใฝ่รู้ในขณะเดียวกันควรจะ อนรุ ักษว์ ฒั นธรรมของชาติให้เปน็ สมบัติของแผน่ ดนิ สบื ไป” ข้อความน้ีเปน็ .................................. 9. “วิถีชีวิตของชาวบ้านบริเวณอำเภอเมือง จังหวัดยะลา ชาวบ้านส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำสวนยางพารา ทำนา ทำไร่เพาะปลูก ทุเรียน เงาะ ลองกอง ใช้ชีวิตเรยี บงา่ ยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง คอื พอประมาณ มีเหตุผล และมภี มู คิ มุ้ กัน” ขอ้ ความนเ้ี ปน็ ....................................... 10. “ การแข่งขันนกเขาชวาเสียงที่ยิ่งใหญ่และเป็นที่สนใจของผู้นิยมเลี้ยงนกมากที่สุด คือ การแข่งขันนกเขา ชวาเสียงชิงถ้วยพระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำในช่วงต้น เดือนธันวาคมของทกุ ปี ณ สวนขวญั เมอื งยะลา อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา” ขอ้ ความน้เี ปน็ ............................ ช่อื ..........................................นามสกลุ ....................................ชั้นม.5/......เลขท่.ี ......

10 ใบความรู้ที่ 3 การเขยี นย่อหน้า และการเขียนขยายความ การเขียนยอ่ หนา้ ย่อหน้า คือประโยคหลาย ๆ ประโยค วางเรียงกันเป็นข้อความตอนหนึ่ง แต่ละประโยคจะมี ความสมั พันธก์ ัน โดยมีประโยคสำคัญหนึง่ ประโยค ประโยคอน่ื ๆ เปน็ ประโยคขยายความหรอื รายละเอียดของ ประโยคสำคัญ ในหนงึ่ ยอ่ หนา้ จงึ มใี จความสำคัญเพียงประการเดียว โดยจะมอี งคป์ ระกอบด้วยประโยค 2 ชนิด คอื 1) ประโยคใจความเดียว 2) ประโยคใจความสำคญั รูปแบบของย่อหน้า รูปแบบของย่อหน้าจะพิจารณาจากตำแหน่งของประโยคใจความสำคัญว่าปรากฏอยู่ที่ใดในย่อหน้า แบ่งได้เปน็ 5 ประเภท ดังน้ี ➢ ประโยคใจความสำคญั อยูต่ อนตน้ ยอ่ หนา้ การเขียนย่อหน้าวิธีน้ีเป็นการเขียนทีง่ ่ายที่สุด ผู้อ่านสามารถจับประเด็นสำคัญของเรื่องได้ เหมาะสม กับการเขยี นอธิบายใหค้ วามรู้ เช่น การปฏิวัติที่แท้จริงนั้น มีลักษณะไม่เหมือนกับที่คนนึกกันอยู่โดยทั่วไป กล่าวคือ มิได้เกิดมาจากประชาชนที่ถูกกดขี่และมิได้เกิดขึ้นเฉย ๆ ได้กะทันหัน การปฏิวัตินั้นที่จริง เกิดขึ้นมาจากปัญหาความคิดของชนชั้นกลางหรือชนชั้นสูง มีระยะเวลาการฟักตัว ท่ียาวนาน บางทีก็เปน็ เวลาต้ังร้อย ๆ ปกี อ่ นที่ความคดิ น้ันจะปรากฏรูปกายออกมาเป็นการ ปฏวิ ัติกลางทาง ➢ ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนทา้ ยยอ่ หนา้ การเขียนย่อหน้าวิธีนจ้ี ะมีประโยคขยายความกล่าวนามาก่อนแล้ว สรปุ ความคิดไว้ในตอนท้าย เชน่ ในความกว้างใหญข่ องผืนน้ำแห่งมหาสมุทรทั้งห้าที่มีอาณาเขตมากกว่า 3 ใน 4 ส่วนของ โลกนั้นได้ซุกซ่อนเรื่องราวแห่งอดีตเอาไว้มากมาย นับแต่สมัยโบราณมนุษย์ได้ใช้ผืนน้าอันกว้าง ใหญ่นี้เป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงดินแดนในส่วนต่าง ๆ ของโลกเข้าไว้ด้วยกัน จากการค้นหา สำรวจ ใหม่ การอพยพย้ายถิ่นฐานไปจนถึงการติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยนศิลปวิทยาการ จนกระท่ัง นำไปสู่ความขัดแย้งและการทาสงคราม สิ่งเหล่านี้เป็นเหตุให้ประวัติศาสตร์บางส่วนของ มนษุ ยชาตถิ ูกเกบ็ รกั ษาเอาไว้ในหว้ งลกึ แห่งท้องทะเล

11 ➢ ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนต้นและทา้ ยย่อหน้า การเขียนย่อหน้าวิธีนี้จะเริ่มต้นจากประโยคใจความสำคัญ แล้วตามด้วยประโยคขยายความ จากนัน้ สรปุ เน้นความคดิ สำคญั อีกครัง้ ในชว่ งทา้ ยของย่อหน้า เชน่ ในสมัยรัตนโกสินทร์ การแสดงหุ่นยังคงเป็นที่นิยมต่อเนื่องมาจากสมัยกรุงธนบุรี เพราะการแสดงอย่างอ่ืนยังมีไมม่ าก โดยเฉพาะงานศพก็มโี ขนกับหนุ่ เปน็ พน้ื เมื่อกรมพระราชวัง บวรมหาสุรสิงหนาท ในสมัยรัชกาลที่ 1 ทรงสร้างเมรุและสร้างที่วัดสุวรรณาราม บางกอกน้อย ถวายเป็นของพระบรมมหาราชวังก็ได้โปรดให้สร้างโรงโขนและโรงหุ่นด้วย แสดงว่าการละเล่น ทั้งสองอย่างนี้เป็นที่นิยมในครั้งนั้นมาก แม้ภายหลังเมื่อสร้างเมรุปูนที่วัดสระเกศในรัชกาลที่ 3 ก็ยังคงมีโรงโขน โรงหุ่นอยู่เช่นเดิม ส่อให้เห็นว่าการแสดงหุ่นยังเป็นที่นิยมติดต่อกันเรื่อยมาไม่ ขาดระยะ ➢ ประโยคใจความสำคัญอยู่ตอนกลางย่อหนา้ การเขียนยอ่ หน้าวธิ นี ้จี ะยากกว่าวิธีอ่นื ๆ โดยเริม่ ต้นดว้ ยประโยคขยายความ แลว้ สรปุ ใจความสำคัญ ไวก้ ลางยอ่ หน้า ต่อจากนั้นก็ขยายความต่อไป จนจบยอ่ หน้า เชน่ ความสุขของชาวนาที่ต้นข้าวเขียวขจีไปตลอดทั้งทุ่ง และเมื่อข้าวตกรวงดูเหลืองอร่าม ไปทุกหนทุกแห่ง ซึ่งหมายถึงความเป็นอยู่ของชาวนาจะดีขึ้น เวลาที่เก็บเกี่ยวข้าวจึงเป็นเวลา ท่ีชาวนาอ่มิ เอบิ การรอ้ งรำทำเพลงทเี่ รยี กวา่ เพลงเก่ยี วขา้ วจึงได้เกิดขึน้ เพราะเป็นเวลาทีช่ าวนา เบิกบานใจนัน่ เอง เมือ่ ชาวนาเปน็ สุขมีกินมีใชช้ าวนาก็คดิ ถงึ การบุญการกศุ ล ดังนนั้ ประเพณีและ วัฒนธรรมหลายอย่างดำรงอยูไ่ ด้เพราะชาวนาเป็นกำลังสำคัญ เมื่อชาวนาได้ข้าวก็นึกถึงบุญคณุ ของแม่โพสพ จึงเกิดประเพณีทำบุญต่าง ๆ เช่น ทำบุญลานนวดข้าว ทำบุญกลางทุ่ง ฯลฯ การ ทาบุญเหล่านี้นอกจากจะทาให้เกิดขวัญและกำลังใจแล้ว ก็ยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงความร่วม ใจสมัครสมานสามัคคขี องเพ่อื นบ้านท่ีเต็มใจและมาร่วมทำบญุ โดยพรอ้ มเพรียงกนั ➢ ย่อหนา้ ท่ไี มป่ รากฏประโยคใจความสำคญั การเขียนย่อหน้าวิธีนี้จะประกอบด้วยประโยคขยายความที่ให้รายละเอียดต่าง ๆ ต่อเนื่องกันไป แต่ไม่ปรากฏประโยคใจความสำคัญที่ชัดเจน ผู้อ่านจะทราบถึงความคิดส ำคัญที่แฝงอยู่ในย่อหน้า แต่ไม่สามารถช้ีชดั ไดว้ า่ ปรากฏชดั เจนอยูต่ ำแหนง่ ใด เช่น

12 คนที่ถกู งูพิษกัดจะเห็นเป็นรอยเข้ียว รอยลึก 1 หรือ 2 รอย แลว้ แต่วา่ จะกัดถนัดหรือไม่ ส่วนงูไม่มีพิษกัดจะมีรอยฟันเป็นแถวเรียงกัน เมื่อถูกงูกัดให้ใช้ผ้าแผ่นเล็ก ๆ พันที่แผล โดยพัน จากส่วนล่างของแผลให้แน่นพอประมาณ แล้วพันทับเลยแผลขึ้นไป จากนั้นหาแผ่นไม้หรือ กระดาษแข็งมาทาบแล้วพันทับดว้ ยผา้ อีกครง้ั ให้ผู้ป่วยยกสว่ นทถ่ี ูกกดั อยู่เหนือแนวระนาบ แล้ว ส่งโรงพยาบาลที่อยู่ใกล้ท่ีสุด ทั้งนี้ห้ามให้ทานยาหรือเครื่องดืม่ แอลกอฮอลแ์ ก้ปวดให้ใชย้ าพารา เซตามอลเทา่ น้ัน ใจความสำคญั คอื เม่อื ถกู งกู ัดให้สงั เกตรอยเข้ยี วและทำการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นใหถ้ ูกวิธี วิธขี ยายความในยอ่ หน้า การเขียนย่อหน้าให้มีความชัดเจน แจ่มแจ้ง ผู้เขียนต้องขยายความคิดจากความคิดหลักทีม่ ีอยู่ การขยายความมหี ลายวิธี ดังน้ี 1. ขยำยควำมดว้ ยกำรใหร้ ำยละเอียด ตวั อยา่ ง การพัฒนาคนให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าต่อประเทศชาติต้องเริ่มต้นตั้งแต่วัยเด็ก โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่น เด็กวัยนี้ต้องการมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพและ กิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เพื่อให้ก้าวทันโลก การเปิด โอกาสให้วัยรุ่นได้พิจารณาตนเองตามความถนัด และความสนใจจะช่วยเสริมสร้างทักษะ ความสามารถเฉพาะตัวที่มีความเป็นตัวของตัวเอง รู้จักคิดและเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง อัน นำไปสู่การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ดังนั้นเราควรพัฒนาวัยรุ่นอย่างจริงจังเพื่อ สรา้ งทรพั ยากรมนษุ ย์ที่มีคุณภาพสำหรับประเทศต่อไปสร้างทรัพยากรมนุษยท์ ่ีมีคุณภาพสำหรับ ประเทศตอ่ ไป 2. ขยำยควำมต้องกำรให้คำจำกดั ควำม ตัวอย่าง คำว ่า “ Unofficial Translation” แปลว ่า “การแปลอย่างไม่เป็นทางการ” ซึ่งจะหมายถึงบรรดาข้อความใดก็แล้วแต่ ที่แปลขึ้นมาแล้ว ไม่อาจรับประกันได้เต็มร้อย เปอร์เซ็นต์ว่าผู้แปลจะแปลถูกต้องทั้งหมด ส่วนอีกความหมายหนึ่งก็คือว่า เป็นข้อความที่แปล แล้ว แต่ไม่ถือว่าแปลได้ดมี าก ใช้ได้พอเป็นบรรทดั ฐานเท่านั้น หากต้องการนาข้อความดงั กลา่ ว ไปใช้เป็นภาษาทางการหรือพิธีการก็จะต้องมีการนำสำนวนการแปลนั้ นมาตรวจสอบความ ถูกตอ้ งในการแปลอีกคร้งั

13 3. ขยำยควำมต้องกำรยกตวั อย่ำง ตัวอย่าง วธิ ีการรักษารอยฟกชา้ มีหลายวธิ ีข้ึนอยู่กบั บริเวณที่ฟกช้า เชน่ ถ้าเกิดอาการฟกช้าบริเวณ ลำตัว แขน ขา ให้ใช้วิธีการเปิดก๊อกน้ำให้น้ำไหลผ่านแรง ๆ ถูกบริเวณฟกช้าเพื่อรักษาอาการ เลือดออกใต้ผิวหนัง นอกจากนี้หากมีรอยช้ำรุนแรงที่แขนหรือขา ก็ให้ยกแขน ยกขาให้สูงกว่า ระดบั หัวใจเพอื่ ลดอาการบวม แต่ถา้ รอยฟกช้าเกดิ บรเิ วณอวยั วะท่บี อบบาง เช่น ใบหน้า ดวงตา ก็ให้ใช้น้าเย็นประคบให้เร็วที่สุด และนานอย่างน้อย 30 นาที ต่อไปนี้เกิดรอยฟกช้ำในร่างกาย เราจะเลือกใช้วธิ ใี ดในการรกั ษานั้นก็ข้ึนอยู่กับบรเิ วณที่ฟกช้ำเปน็ สำคัญ 4. ขยำยควำมด้วยกำรเปรยี บเทียบ ตวั อย่าง ดอกมะลิเป็นดอกไมท้ ี่ถูกรับรองแล้วว่าเป็นดอกไมท้ ี่หอมเย็นชืน่ ใจท่ีสุดและขาวที่สุดใน บรรดาดอกไมท้ ั้งหลาย ชวี ิตของมนุษย์ทเ่ี ปน็ อยู่กเ็ ชน่ เดียวกับการเลน่ ละคร ขอให้เป็นตัวเอกท่ีมี ชื่อเสียงที่สุดเช่นเดียวหรือลกั ษณะเดียวกับดอกมะลิ อย่าเป็นตัวผู้ร้ายที่เลวที่สุด และให้เห็นว่า ดอกมะลินจ้ี ะบานเต็มท่เี พียงสองสามวันก็จะเหี่ยวเฉาไป ฉะน้ันขอใหท้ ำตัวเราให้ดที สี่ ดุ เมื่อยังมี ชีวติ อยูใ่ หห้ อมท่สี ดุ เหมือนดอกมะลทิ เ่ี ริ่มแยม้ บาน 5. ขยำยควำมด้วยกำรใหเ้ หตุผล ตัวอย่าง หญ้าไผ่นับว่ามีประโยชน์มหาศาลแทบทัง้ ส้ิน เพราะหน่อไม้ก็ใช้รับประทานเป็นอาหารได้ ลำตน้ ของไผ่ใชท้ าภาชนะใช้รองแพใช้ในการประกอบอตุ สาหกรรมหลายชนดิ และท่ีสำคัญไม้ไผ่ ใช้เกี่ยวกับสุขภาพได้ด้วย สุขภาพที่พูดถึงนี้เป็นสุขภาพที่เกิดจากการนวด และมีไม้ไผ่เข้าไปมี บทบาทอย่ดู ้วย ลกั ษณะของยอ่ หนา้ ท่ีดี การเขียนยอ่ หน้าทดี่ ีจะต้องประกอบดว้ ยส่วนสำคญั 4 ส่วนดงั น้ี 1. ความมีเอกภาพ ในแตล่ ะย่อหน้าจะต้องเขยี นให้มีความคิดสำคญั เพียงประการเดยี ว 2. ความสมบรู ณ์ ในแตล่ ะยอ่ หนา้ จะต้องเขียนให้มจี ดุ มงุ่ หมาย เนอื้ หาสาระรายละเอียด ชัดเจน เนอ้ื ความครบบรบิ ูรณ์ 3. มีสารัตถภาพ การเขียนย่อหน้าที่ดีต้องมีการเน้นย้ำความคิดสำคัญ ซึ่งอาจทาได้ด้วยการกล่าวซ้ำ หรือกาหนดสัดส่วน ของเรอื่ งที่เนน้ ใหม้ ากขึน้ 4. มสี ัมพนั ธภาพ เปน็ การเรียบเรยี งขอ้ ความใหต้ อ่ เนื่องสัมพนั ธ์กัน เปน็ การจัดลำดับความคิดเพื่อใหผ้ อู้ า่ นเข้าใจเร่ืองได้ง่ายข้นึ

14 การเขยี นขยายความ การเขียนขยายความเปน็ ทักษะพื้นฐานในงานเขียนสารคดี โดยเฉพาะผู้ที่เริ่มฝึกหัดควรให้ความสนใจ และฝึกฝนให้คล่องเพื่อนาไปใช้ในงานเขียนของตนเอง งานเขียนสารคดีมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งนาเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง เป็นหลัก เราจาเป็นต้องขยายความเพื่อให้ข้อมูลที่ต้องการนาเสนอกระจ่างยิ่งขึ้น เช่น ให้ภูมิหลัง ของเร่ือง กระบวนการคน้ ควา้ ยกตัวอย่างเพอื่ สนับสนุนข้อมูลทีน่ าเสนอ เป็นตน้ โดยปกติเนื้อความหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ใจความ กับพลความ ใจความแทนด้วยประโยค หลักหรือประโยคใจความสาคัญ พลความคือรายละเอียดของเรื่อง เป็นข้อความสาหรับขยายเรื่องนั่นเอง รายละเอียดที่เราจะนามาใช้ขยายความนั้น เราอาจหาได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น จากประสบการณ์ตรง จากการลงพื้นที่ ฟังคาบอกเล่า สังเกต สัมภาษณ์ หรือจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เป็นความคิดของผู้อ่ืน ดังปรากฎในหนังสือ วารสาร ตารา สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นต้น เมื่อเรามีข้อมูลประกอบมากพอ เราก็สามารถนาสิ่ง เหล่านั้นมาเขียนขยายความเพ่ิมเติมจากเนือ้ เรื่องหลกั ซึ่งจะทาให้งานเขียนสารคดขี องเราน่าอ่านและน่าสนใจ มากขึ้นนั่นเอง ทั้งนี้เทคนิควิธีการเขียนขยายความมีหลากหลายวิธีแต่จะหยิบยกวิธีที่นักเขียนสารคดีนิยม นามาใช้ เพอ่ื เป็นแนวทางใหน้ ักเรยี นฝึกหดั ในเบ้อื งตน้ เพยี งบางสว่ น วิธีการเขยี นขยายความ วิธกี ารเขียนขยายความนน้ั มีหลายวธิ ี เบือ้ งต้นควรฝึกขยายความ 4 วิธี ดงั นี้ 1. ขยายโดยการใหค้ าจากัดความ การให้คาจากัดความ คือ การบอกความหมายของคาหรือข้อความสาคัญเพื่อให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจ หรอื รเู้ ร่ืองราวนั้นๆไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ ตัวอย่าง สปา ควิซีน คือ อาหารที่มีจุดเน้นในเรื่องของการรักษาสมดุลภายในร่างกาย เป็นการทำให้ อาหารที่รับประทานเข้าไปแต่ละวันนั้น มีความสมดุลในอัตราส่วนที่เหมาะสมไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สารอาหารและพลงั านที่จะไดร้ ับหรือรสชาตอิ าหารและการจัดแตง่ จานท่ีสวยงาม 2. ขยายโดยการให้รายละเอียด การให้รายละเอยี ด คือ การอธบิ ายข้อความใหช้ ัดเจนและครอบคลมุ ข้อความทต่ี ้องการ ตวั อยา่ ง ประเพณีลอยกระทง ตามธรรมเนียมของไทยแต่โบราณ เมื่อถึงวันเพ็ญ กล่าวคือเป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 จะมีประเพณีลอยกระทง สมัยนั้นมีคติความเชื่อถือที่แตกต่างกันออกไป บ้างก็เชื่อว่า เป็นการบูชาพระพุทธบาทที่แม่น้ำนัมทานที บ้างก็ว่าเป็นการขอขมาโทษแม่น้ำคงคาที่เราทำให้ท่าน สกปรกหรือได้รบั ประโยชนจ์ ากทา่ น คือไดอ้ าบ ได้กนิ เปน็ ตน้

15 3. ขยายโดยการยกตวั อย่าง การยกตัวอย่างเป็นการขยายโดยวิธีการยกตัวอย่างมาประกอบใจความสำคัญ ทำให้ผู้อ่านเข้าใจ หรือเห็นด้วยกับเรื่องราวนั้น ๆ ง่ายขึ้น ตัวอย่างที่ยกควรให้ตรงตามเนื้อเรื่องไม่ยากหรือซับซ้อนเกินไปควร สนบั สนุนขอ้ ความนั้นๆ ให้ผอู้ ่านเหน็ จริงและเขา้ ใจ ควรบอกด้วยวา่ ตวั อยา่ งนั้นเป็นเรือ่ งจรงิ หรือสมมตุ ิหรือเคย พบเหน็ ดว้ ยตนเอง สง่ิ หน่ึงท่ผี ู้ฝึกฝนควรนึกถึงเสมอ คือ จะยกตัวอย่างประกอบเฉพาะเรื่องท่ีเข้าใจยากหรือไม่ เข้าใจชัดแจง้ ตวั อย่าง สงขลามสี ถานท่ที ่องเที่ยวทนี่ ่าสนใจอยหู่ ลายท่ี ไม่ว่าจะเป็น หาดใหญ่ แหลง่ รวมสนิ คา้ นานาชนิด น้ำตกโตนงาข้าง น้ำตกที่รายล้อมด้วยทัศนยี ภาพผืนป่าใหญ่ ตัวอำเภอ เมืองสงขลา แหล่งรวมวฒั นธรรม ชนพนื้ เมืองของสงขลา เช่น ถนนนางงาม เขาตงั กวน แหลมสมหิ ลา ประตูเมอื ง เป็นต้นหรอื ได้รบั ประโยชนจ์ ากท่าน คอื ไดอ้ าบ ได้กนิ เป็นต้น 4. ขยายโดยการเปรยี บเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การเทียบเคียงให้เห็นลักษณะที่เหมือนหรือต่างกันเพื่อให้เห็นชัดเจนข้ึน เช่น ขาวกับดาหรือการเปรียบเทียบเทียบทานองอุปมาอุปไมย เปรียบสิ่งที่รู้กับไม่รู้ เปรียบนามธรรม กบั รูปธรรม ตวั อย่าง แมลงตัวจิ๋วที่ร้ายกาจใกลัเคียงกับปลวกก็คือ มอดถึงแม้ว่าปลวกกับมอดจะทำลายไม้เหมือนกัน แต่ก็แตกต่างกันตรงที่ปลวกเป็นสัตว์ทีอ่ ยู่ในพื้นดิน จึงทำลายไม้จากด้านนอกเข้าสูด่ ้านใน แต่มอดนั้นมา กบั ไม้ เกิดจากนำไม้มาใช้งาน โดยที่ไม้ยงั อบ ไมแ่ หง้ พอ มอดท่ีอยู่ในเน้ือไม้จึงทำลายไม้จากด้านในออกสู่ ด้านนอก

16 กิจกรรมที่ 3 การเขยี นยอ่ หนา้ และการเขียนขยายความ ตอนที่ 1 : ใหน้ กั เรียนอ่านข้อความท่ีกาหนดให้ แลว้ บอกตาแหน่งของใจความสาคญั พร้อมทั้งใจความสาคญั ของข้อความนนั้ ความสมบูรณข์ องชีวิตมาจากความเขา้ ใจชวี ติ เป็นพืน้ ฐาน คือ เข้าใจธรรมชาติ เข้าใจความเป็น มนุษย์ และความสัมพันธ์ทีเ่ ก้ือกูลกันระหว่างมนุษยก์ ับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติ มีความรัก ความ เมตตาต่อเพื่อนมนุษยแ์ ละธรรมชาติอยา่ งจรงิ ใจ 1. ใจความสาคญั อย่ตู าแหน่ง................................................................................................................................ ใจความสาคัญคือ............................................................................................................... ............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. โดยท่วั ไปผักทข่ี ายตามท้องตลาดสว่ นใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจดั ศตั รูพชื หากไม่มีความ รอบคอบในการใช้ จะทาใหเ้ กิดสารตกคา้ ง ทาให้มีปญั หาต่อสขุ ภาพ ฉะนั้นเมื่อซื้อผักไปรับประทานจึงควร ลา้ งผกั ด้วยนา้ หลายๆคร้ัง เพราะจะชว่ ยกาจัดสารตกค้างไปไดบ้ ้าง บางคนอาจแชผ่ ักโดยใชน้ ้าผสม 2.โซใจเดคียวมามไบสคาคารัญ์บออยเตู่นาตแกห็ไดน้ง่ แ..ต..่อ...า..จ..ท..า..ใ..ห...้ว..ิต..า..ม...ิน..ล..ด...ล..ง.......................................................................................... ใจความสาคญั คือ.............................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตอนที่ 2 : ให้นกั เรียนเขียนขยายความโดยเลอื กวิธจี ากที่เรียนมาจานวน 1 วิธี (ขยายโดยการให้คาจากัดความ ขยายโดยการใหร้ ายละเอยี ด ขยายโดยการยกตวั อยา่ ง และขยายโดยการเปรียบเทียบ) เขียนขยายความโดยวธิ .ี ........................................................................................................................................ เนอ้ื หา................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. ................ ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ชอื่ .................................................สกลุ ...............................................ชน้ั ม.5/......เลขท.ี่ .......

17 ใบความร้ทู ี่ 4 การวางโ4ครงเรื่องในการเขยี นสารคดี การกำหนดโครงเรอ่ื ง คอื การตั้งกรอบความคดิ ว่าสารคดที ี่เขียนนนั้ ตอ้ งการเสนอเนื้อหาอะไรบ้าง ต้องการให้ผู้อา่ นได้รับรใู้ นเร่ืองใด เปรียบเสมือนการวางแผนการเขียนทร่ี ัดกุม เลอื กสรรสิ่งทีด่ ที สี่ ุดเพอื่ ให้ ผ้อู ่านได้ประโยชน์จากการอ่านสารคดเี ร่อื งน้ัน ๆ อยา่ งแท้จริง โครงเร่ืองประกอบด้วย 3 ส่วน ดังน้ี ความนำ ความนำ (Introduction) ในการเขียนสารคดีแต่ละครั้ง ความนำนับว่ามีความสำคัญมาก และเปน็ การเขียนที่ยากที่สุด เพราะเปน็ การเรม่ิ ต้นความคิดท่จี ะเขียน ต้องพยายามเขียนให้ดที ส่ี ุด และมีกลวิธี ชักชวนให้ผู้อ่านสนใจอ่านสารคดีตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง ลักษณะของความนำที่ดีคือ ต้องสร้างความสนใจ และดึงดูดใจผู้อ่าน ท้าทายผู้อ่านให้อยากรู้อยากอ่านข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นที่เสนอ เหมาะสมกับกาลเทศะ และกล่มุ ผอู้ า่ น รวมท้งั สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ของเรอ่ื งท่ีเขียนด้วย หลักการเขียนความนำมีหลายรูปแบบ เช่น ความนำที่เป็นข่าว ความนำแบบพรรณนา ความนำแบบ สรุปความสำคัญ ความนำที่เป็นคำถาม ความนำที่เป็นสุภาษิตหรือบทกวี ความนำแบบให้คำจำกัดความ ความนำด้วยคำขวัญ ความนำด้วยบทเพลง ความนำที่เป็นเรื่องเล่า ความนำด้วยบทร้อยกรอง ความนำด้วย การอธิบายความเป็นมาของเรื่อง ความนำด้วยการบอกจุดประสงค์ของการเขียน ฯลฯ ในแบบฝึกนี้จะขอ กล่าวถึงความนำท่ีเป็นท่นี ยิ ม ดังนี้ 1.1 ความนำที่เป็นคำถาม ผู้เขียนต้องตั้งคำถามให้น่าสนใจ ชวนให้ผู้อ่านติดตามหาคำตอบ เช่น การเขียนเรื่อง “ตำรวจกับความเป็นนักปราชญ์” ผู้เขียนอาจเกริ่นนำด้วย “ในรอบทศวรรษที่ผ่านมาวงการ ตำรวจไทยมีตำรวจกี่นายที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วคนที่จะเป็นนักปราชญ์ จำเปน็ ตอ้ งเป็นนักวิชาการเสมอไปหรือไม่” 1.2 ความนำที่เป็นสุภาษิตหรือบทกวี การเขียนสารคดีเรื่องใดก็แล้วแต่ ถ้าผู้เขียนสามารถเชื่อมโยง กบั สุภาษติ คำพงั เพย สำนวน หรือบทกวีได้ แลว้ นำมาเขียนเป็นความนำกจ็ ะชว่ ยดึงดดู ความสนใจของผ้อู ่านได้ เปน็ อย่างดี เชน่ “ในอดีตเม่ือกล่าวถึงครู หรอื ค้นหาคุณคา่ ของครหู ลายคน คงนึกถึงความเปรียบท้ังหลายท่ีมัก ได้ยินจนชินหูไม่ว่าจะเป็นความเปรียบที่ว่า “ครูคือเรือจ้าง”“ครูคือ ปูชนียบุคคล” หรือ“ครูคือผู้ให้แสงสว่าง ทางปญั ญา” ฯลฯ 1.3 ความนำแบบให้คำจำกัดความ เป็นการเขียนแบบให้ความหมาย ของคำใด คำหนึ่ง เช่น “พ่อ คอื พรหมของลูก” คำกลา่ วนหี้ ลายคนอาจตคี วามหมายวา่ พอ่ คอื บุคคลท่คี วรยกย่อง บชู าดจุ พระพรหม

18 แต่อีกความหมายหนึ่ง อาจหมายถึง พ่อ คือบุคคลที่มีพรหมวิหารสี่ ตามหลักของพุทธศาสนา คือ มีความ เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา 1.4 ความนำด้วยคำขวัญ เป็นการนำคำขวัญที่เกี่ยวกับเรื่องที่เราจะเขียนถึงมาเป็นความนำ เช่น “ วดั ถำ้ สวย รวยไมย้ างพารา ล้ำคา่ หินอ่อน กระทอ้ นรสดี ” เปน็ คำขวญั ประจำอำเภอเมือง จังหวัดยะลา คำขวัญนีก้ ล่าวถงึ ส่ิงดี ๆ ของอำเภอเมือง จงั หวดั ยะลา ซึง่ เป็นอำเภอท่ีมชี ่ือเสียงไม่แพ้อำเภอใด ๆ ของจังหวัด ยะลาเลย 1.5 ความนำดว้ ยบทเพลง โดยการนำเนื้อเพลงตอนใดตอนหนึ่งทไ่ี พเราะกนิ ใจและสอดคล้องกับเน้ือ เรื่องมาเขียนความนำ เช่น “ ใครหนอรักเราเท่าชีวี ใครหนอปรานีไม่มีเสื่อมคลาย ใครหนอรักเราใช้เพียง รปู กายรักเขาไมห่ น่าย มคิ ิดทำลาย ใครหนอ ” 1.6 ความนำด้วยบทร้อยกรอง เช่น “ ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาให้มืดมน ไม่ยินและไม่ยล อุปสรรคคะใดใด ความรักเหมือนโคถึก กำลังคึกผิขังไว้ก็โลดจากคอกไป มิยอมอยู่ ณ ที่ขัง ถ้าหากจะปล่อยไว้ ก็ดึงไปด้วยกำลัง ยิ่งห้ามก็ยิ่งคลั่ง บ่หวนคิดถึงเจ็บกาย ” (จากบทละครเรื่อง “มัธทนพาธา” ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั ) 1.7 ความนำด้วยการอธิบายความเป็นมาของเรื่อง เช่น “ เมื่อสัปดาห์ที่แล้วข้าพเจ้าได้ไปร่วมงาน พระราชทานเพลิงศพของผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง ท่านเป็นอดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือ ศพของท่านได้รับการบรรจุไว้ในโกศศพพระราชทาน เห็นดังนั้นแล้วทำให้ข้าพเจ้านึกถึงเมื่อครั้งยังเป็นเด็ก ข้าพเจ้าจำได้ว่า ตอนข้าพเจ้าไปเผาศพคุณตา คุณยายที่บ้านสวนจังหวัดสมุทรสงคราม ศพของท่านทั้งสอง ก็ได้รับการบรรจุไว้ในโกศเช่นกันซึ่งท่านทั้งสองก็เป็นพลเรือนธรรมดา ๆ ไม่ได้เป็นข้าราชการผู้ใหญ่ เรื่องนี้คงมีหลายคนสงสัยว่าทำไมพลเรือนธรรมดา ๆ ถึงมีโกศใส่ศพกับเขาด้วยดังนั้นเพื่อทำความกระจ่าง แก่เยาวชนและผู้สนใจในปัจจุบันนี้อาจจะไม่เคยเห็นศพชาวบ้านที่บรรจุในโกศ ข้าพเจ้าจึงได้ค้นคว้าเรื่องนี้ มาเพอ่ื เปน็ ความร้แู ก่ผ้สู นใจท่ัวไป ” 1.8 ความนำด้วยการบอกจุดประสงคข์ องการเขยี น เช่น “ สามก๊กที่ผู้อ่านทั้งในประเทศจีนและใน ประเทศไทยรจู้ ักกนั ดีนัน้ เป็นนวนยิ ายเพอ่ื เล่าถงึ ประวัตศิ าสตรข์ องประเทศจีน ” ขอ้ ควรระวงั ในการเขียนความนำ การเขยี นความนำเปน็ สิ่งทีส่ ำคญั มาก เพราะเปน็ ส่งิ ท่ีดึงดดู ความสนใจของผู้อ่านให้อยากเข้าสู่เน้ือหา ของเรื่อง ผู้เขียนจึงต้องเขียนความนำด้วยความพิถีพิถัน รอบคอบและระมัดระวัง ความนำบางประเภท ควรละเว้น ไม่นำมาใช้เขียนความนำสารคดี ดังนี้ความนำที่เป็นการกลา่ วคำขอโทษ คำทุกข์ และการระบาย ความอึดอัดของผู้เขียน ความนำที่กล่าวถึงเหตุการณ์ในอดีตที่ไม่ทราบแน่ชัด ความนำที่เป็นสิ่งลี้ลับเฉพาะ บุคคล หรือเกี่ยวกับความเชื่อของคนบางกลุ่ม ความนำที่เป็นการกระตุ้นมากเกินไป เช่น อ้างบุคคล หรอื หนังสอื อ้างอิงในการให้ความหมายของคำ หรอื ส่ิงต่าง ๆ ซึ่งจะทำใหผ้ อู้ ่านมองว่าเป็นวชิ าการมากเกินไป ทำให้ไมอ่ ยากอ่าน

19 เน้ือเรอื่ ง เนื้อเรื่อง (Body or Text) เป็นส่วนที่ผู้เขียนนาเสนอความรู้อย่างละเอียดและเป็นส่วนที่ยาวที่สุด ของการเขียนสารคดี การเขียนเนื้อเรื่องให้มีสาระน่าอ่านนั้นต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริงรายละเอียด ความคิดเห็น ซึ่งได้มาจากการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ต้องมีหลักฐานสามารถอ้างอิงได้ เนื้อเรื่องนอกจากจะให้ความรู้แก่ผู้อ่านแล้ว จะต้องทาให้ผู้อ่านเกิดความสนใจและความเพลิดเพลินด้วย และในขณะเดียวกนั ก็ตอ้ งระมัดระวงั ไม่ให้เขียนออกนอกเรอื่ งด้วย ลกั ษณะของการเขียนเน้ือเร่ืองทดี่ ี 1. มีเอกภาพ คอื ในย่อหนา้ แต่ละยอ่ หน้าตอ้ งมีใจความสาคญั เพยี งใจความเดยี ว นอกนน้ั เปน็ ขอ้ ความ ขยายหรือส่วนเสริม ซึ่งอาจเป็นการให้รายละเอียด แสดงตัวอย่างเปรียบเทียบหรือแสดงเหตุผลข้อสนับสนุน เพื่อขยายให้ประโยคใจความสาคัญมีความสมบูรณ์ ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยข้อความขยายหรือเสริมนั้ น ต้องมีความสมั พันธเ์ ป็นเรื่องเดยี วกับประโยคใจความสาคัญ 2. มีสารัตถภาพ คือ การเน้นใจความสาคัญ แต่ละย่อหน้าเพื่อให้ผู้อ่านทราบ ความคิดสาคัญ หรอื เจตนาของผู้เขยี นวา่ ต้องการใหอ้ ะไรกบั ผอู้ ่าน 3. มีสมั พนั ธภาพ คือ ย่อหนา้ แต่ละย่อหน้า มใี จความต่อเน่ืองสัมพนั ธ์เป็นเรื่องเดียวกัน เม่ืออ่านแล้ว ก่อให้เกิดความกลมกลืน เข้าใจง่าย ไม่สับสน การที่จะทาให้ย่อหน้ามีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน ผู้เขียนต้อง จัดลาดับความคิดให้เป็นระเบียบ เช่น จากเหตุไปหาผล จากข้อสรุปสู่รายละเอียด ลาดับตามเวลา เป็นต้น นอกจากผู้เขียนจะต้องสร้างสัมพันธภาพให้เกิดขั้น ในระหว่างย่อหน้าแล้ว ควรให้ข้อเขียนแต่ละย่อหน้า มคี วามสมั พนั ธต์ อ่ เนอ่ื งกนั เพอื่ เชือ่ มโยงความคดิ ใหเ้ ปน็ เรอื่ งเดยี วกัน และจะนาไปสสู่ ัมพนั ธภาพของงานเขียน ทง้ั เรอื่ งด้วย 4. มีความสมบูรณ์ คือ มีส่วนต่าง ๆ ประสานเข้าด้วยกันโดยไมม่ ีส่วนใดขาดตกบกพร่อง ในแต่ละย่อ หนา้ มีประโยคใจความสาคัญ มีเนอ้ื หาสาระชัดเจนสัมพนั ธ์กนั ไม่ออกนอกเรอ่ื ง เปน็ ต้น สรปุ เร่ือง การสรุปเรื่อง (Conclusion) การเขียนสรุปเรื่อง ก็มีความส าคัญไม่แพ้ส่วนอื่นของเรื่อง เป็นตอนที่มีการจากลาระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน จึงควรสร้างความประทับใจ ผู้อ่านควรได้รับความพอใจ วา่ เรอ่ื งทอ่ี ่านน้ันสนิ้ สดุ ลงแล้ว และใหส้ าระและความเพลิดเพลนิ แกต่ น ซึ่งมหี ลักดงั น้ี 1. สรุปใหเ้ หน็ ความสาคัญของเน้อื เร่ืองทน่ี าเสนอ 2. สรปุ ความคิดเห็นว่าเนอื้ เรอื่ งเปน็ ประโยชน์กบั ชีวิตและสังคม

20 3. สรุปเนอื้ หาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ 4. สรปุ เรื่องเพ่อื ให้เกิดความตระหนัก การสรุปเรื่องหรือการปิดเรื่องเป็นส่วนที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับเนื้อหาส่วนอื่น ๆ โดยตลอด และเปน็ ส่วนทบ่ี อกผู้อ่านว่าเรื่องราวที่เสนอมาน้ันไดส้ ้นิ สดุ ลงแลว้ วธิ ีการเขียนสรปุ เรื่องมีหลายวธิ ี เช่น เน้นย้า ประเด็นหลัก เสนอคาถามหรือข้อคิด สรุปเรื่อง เสนอความคิดของผู้เขียนขยายจุดประสงค์ของผู้เขียน หรอื สรุปด้วยสุภาษติ คาคม สานวนโวหารค าพงั เพย อา้ งคาพูดของบคุ คล อ้างทฤษฎี หลกั ศาสนา หรือคาสอน และ บทร้อยกรอง ฯลฯ • เน้นย้าประเด็นหลัก เช่น หน่วยงานของเราจะทาหน้าที่เป็นผู้ให้บริการที่รวดเร็ว ที่ซื่อตรง โปร่งใส ตรวจสอบได้เช่นนี้ต่อไป แมก้ ารปฏริ ปู ระบบราชการจะส่งผลใหห้ น่วยงานของเราต้องเปล่ียนสังกัดไป อยา่ งไรก็ตาม นั่นเพราะเราตระหนักในบทบาทของเราในฐานะ “ขา้ ราชการ” แม้ว่าปจั จุบันเราจะถูก เรียกวา่ “เจ้าหน้าทข่ี องรัฐ” กต็ าม • เสนอคาถามหรือข้อคิดให้ผู้อ่านใช้วิจารณญาณ เช่น เคราะห์กรรมทั้งหลาย อันเกิดกับญาติพี่น้อง และลูกหลานของผู้คนในบ้านเมืองของเรา อันเกิดจากความอามหิต มักได้ของผู้ผลิตและผู้ค้ายา เสพติดเหล่านี้เป็นสิ่งสมควรหรือไม่ กับคาว่า “วิสามัญฆาตกรรม” ท่านที่อ่านบทความนี้จบลง คงมคี าตอบใหก้ ับตวั เองแล้ว • สรุปเรื่อง เช่น การกินอาหารจืด ร่างกายได้รับเกลือเล็กนอ้ ย จะทาให้ชีวติ จติ ใจร่าเริงแจ่มใส น้าหนัก ตัวจะลดลง หัวใจไม่ต้องทาหน้าที่หนัก ไตทาหน้าที่ได้ดีไม่มีบวมตามอวัยวะต่าง ๆ และเปน็ การปอ้ งกันโรคหัวใจ โรคไต หลอดเลอื ดแข็งความดันโลหิตสูงข้ออักเสบ แผลกระเพาะอาหาร และจะมอี ายยุ นื ดว้ ย • เสนอความคิดเห็นของผู้เรียน เช่น การปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอน จะประสบผลสาเร็จ หรือไม่คงมิใช่แค่การเข้ารับการอบรมเทคนิค วิธีการสอนเพียงอย่างเดียวยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ อันสาคัญยิ่งกว่าสิ่งใดคือ ตัวผู้สอนถ้าผู้สอนมีใจและพร้อมจะรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กับความกระตือรือร้นที่จะพัฒนาตนเองเพื่อกลุ่มเป้าหมาย คือผู้เรียนการปฏิรูปกระบวนการเรียน การสอนกจ็ ะประสบความสาเรจ็ ได้

21 กิจกรรมท่ี 4 เขียนโครงเร่ืองสารคดี คำช้ีแจง : ให้นกั เรียนฝกึ เขยี นโครงเรื่องสารคดโี ดยเลือกเรื่องท่นี ักเรยี นสนใจ บทนำ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เน้ือเร่อื ง (ยอ่ หน้าท่ี 1) ……………………………………………………………………………………………............................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ย่อหนา้ ที่ 2) ..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ยอ่ หนา้ ที่ 3) ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ย่อหน้าที่ 4) ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. (ยอ่ หนา้ ท่ี 5) ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สรุป ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ชือ่ .......................................สกลุ ................................ชนั้ ม.5/.......เลขท่ี........

22 ใบความรูท้ ่ี 5 การเขียนสารคดเี ชิงท่องเทย่ี ว 4 หลกั ในการเขยี นสารคดี • กลวิธีในการนำเสนอเรื่อง • กลวธิ ีในการดำเนินเรอื่ งและการลำดบั ความ • กลวิธแี ละศิลปะในการใช้ภาษา • กลวิธใี นการใช้กระบวนความ • การแทรกคำพดู และเสริมเกร็ดที่นา่ สนใจ • การอา้ งอิง กลวิธใี นการนำเสนอเรื่อง สารคดีแนวใหม่เป็นงานเขียนที่มีชีวิตชีวา มีสีสัน มีการปรุงแต่งจินตนาการประกอบการใช้เหตุผล หลักฐานและความรู้สึก ดังนั้นนักเขียนสารคดีนอกจากจะต้องเป็นนักสังเกตการณ์ ความเป็นไปของชีวิตโลก และสรรพสิ่งแล้วยังต้องเป็นนักเล่าเรื่อง คือ มีความเข้าใจในเรื่องที่ตนจะเล่า รู้จักเลือกวิธีการเล่า มีความสามารถในการใช้ภาษาเลา่ เรอื่ งหรืออธิบายใหค้ นอ่านเกิดภาพท่ีใกล้เคียงกบั ความจรงิ ไดม้ ากทสี่ ุด • การเล่าเรอ่ื งอยา่ งตรงไปตรงมา เป็นวิธีการที่เรียบง่าย คือเล่าเรื่องไปตามลำดับโครงเรื่องและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( Chronological Order) ลักษณะการเขียนจะเป็นแบบบรรยายหรืออธิบายเรื่องจะเรียบง่าย ไม่มีสีสันบรรยากาศการนำเสนอ โดยการเลา่ เรือ่ งแบบตรงไปตรงมานี้ เป็นวธิ ีการเขียนท่ีธรรมดาทีส่ ดุ เหมาะสำหรบั เขยี นสารคดที มี่ ีลักษณะเน้น สาระข้อเท็จจริงมากกว่าการสร้างสีสันบรรยากาศ เช่น สารคดีเชิงประวัติศาสตร์ สารคดีเกี่ยวกับธรรมชาติ สารคดีเกย่ี วกบั เทคโนโลยแี ละวิทยาการใหม่ ๆ เป็นตน้ • การเล่าเร่อื งโดยใช้ลลี าแบบเรื่องส้นั การนาเสนอโดยใช้วธิ ีการน้ี เป็นการประยุกต์เอาลลี าการเล่าเรอ่ื งแบบวรรณกรรมมาใช้ มกี าร กาหนดตัวละครให้เป็นผ้ดู าเนินเรอื่ งเน้นการสรา้ งสสี ันบรรยากาศดว้ ยการให้รายละเอียดในการพรรณนาฉาก สถานที่ บรรยากาศ อารมณ์และความร้สู ึกของตัวละคร การใช้ภาษาทม่ี สี ีสันและก่อใหเ้ กิดจนิ ตนาการแกผ่ ู้อา่ น

23 นอกจากนี้แล้วยงั สลับกบั การสอดแทรกหรอื การอ้างอิงคาพูดตลอดจนการอธบิ ายความเพ่อื ให้มีความสมจริง และน่าเช่ือถอื มากยิง่ ข้นึ เชน่ ถนนเล็กแคบทอดเหยยี ดยาวไปตามแนวโคง้ ของไหล่เขา ฉันนงั่ ปะปนอยู่กบั ชาวบา้ นโวโนโซ โบ ผ้คู นแถบนเ้ี ปน็ มสุ ลมิ แทบทั้งหมด เช่นเดยี วกบั ประชาชนส่วนใหญใ่ นอนิ โดนีเซยี เราสองคนจงึ นั่ง เปน็ สาวหน้าขาวป๋อหลออย่กู ลางหมคู่ นผวิ คล้ำจมูกโดง่ และตาคมเฉียบ ท่ามกลางหมู่คนท่จี ดจอ้ งฉัน ควกั ข้าวโพดป้งิ แข็งออกมาแทะอยา่ งไมเ่ กรงใจ สายตาหนุ่มแขกเจ้าเจี๊ยบยน่ จมูกถามเสียงเบา \"กินลง ไดไ้ งพี่ แข็งยงั กบั หวั ไอ้โจร\" ฉนั ยิ้มขณะก้มมองข้าวโพดสีซีดในมอื เจา้ เจย๊ี บไม่ได้พดู เกนิ จรงิ เลยแตล่ ะเม็ดกวา่ จะขบออกจากฝัก ไดเ้ ลน่ เอาเหงอื กสัน่ สำหรับคนทเี่ คยได้สัมผสั รสชาติอ่อนละมนุ ของขา้ วโพด \"สาลแี มงดา\" หรอื ข้าวโพดพ้นื บ้านอกี หลายชนดิ มาแล้ว ข้าวโพดในโวโนโซโบก็พอจะเปรยี บได้กบั ขา้ วโพดเลีย้ งสัตวข์ อง ชาวเขาเมอื งไทยเราดี ๆน่ีเอง แต่คนอนิ โดนีเซยี ดูจะไมย่ หี่ ระอะไรนัก... เดียงพลาโต ดินแดนแหง่ เทพเจ้า : นิพัทธ์พร เพง็ แกว้ จากตัวอย่าง เป็นการเล่าเรื่องโดยใช้มุมมองของสรรพนามบุรุษที่ 1 คือ ฉัน ซึ่งแสดงว่าผู้เขียน ให้ \"ฉัน\" เป็นคนเล่าเรื่อง ฉันในที่นี้ก็คงหมายถึงผู้เขียนนั่นเอง ลักษณะการเล่าเรื่องจึงเป็นการเล่าเรื่องราว ที่ตัวเองได้ประสบพบเห็นมา ผู้เขียนสามารถบอกเล่าถึงความรู้สึกนึกคิดและแทรกความเห็นของตนได้อย่าง อิสระ ทำใหเ้ รือ่ งทเี่ ล่ามนี ้ำหนกั ดูน่าเช่อื ถอื • การนำเสนอในรปู แบบของการเขียนจดหมาย การนาเสนอแบบนี้ผู้เขียนจะใช้วิธีการเล่าเรื่องในรูปแบบของการเขียนจดหมาย คนเขียนจดหมาย จะเป็นผู้เล่าเรื่องราวต่าง ๆ ในเนื้อความของจดหมาย ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกันอีกวิธีหนึ่ง โดยเฉพาะในสารคดีที่ เก่ยี วกับการท่องเท่ียวหรือเน้นการเล่าเร่ืองเป็นสาคัญ ดงั เช่นสารคดี เร่อื ง \"กลอ่ งไปรษณีย์สแี ดง\" ของ อภิชาต เพชรลีลา เปน็ สารคดที อ่ งเท่ียวเล่าเร่ืองการเดนิ ทางไปเทยี่ วหมู่เกาะในอ่าวไทย แตผ่ ู้เขยี นนาเสนอเร่ืองราวของ เขาในลักษณะจดหมายจาก \"ไขย่ ้อย\" ถึง \"ดากานดา\" ตัวอย่างบางตอนของสารคดีเรื่องนี้ แสงแดดโพล้เพล้ วนั นมี้ เี รื่องราวของความรักมาเลา่ ให้ฟัง เกาะนางยวน ฉนั ออกจากทรายนวลกลับไปยังแม่หาด คิดเอาไวว้ า่ คืนน้ีจะขา้ มไปนอนบนเกาะนางยวน เกาะนาง ยวนเป็นเกาะเลก็ ๆ อยเู่ คยี งข้างกับเกาะเต่า ฉนั ออกจากทรายนวลมากเ็ กือบเยน็ เที่ยวเรือระหว่าง เกาะเปน็ เรือหางยาวตดิ เครอื่ งยนตธ์ รรมดา ถ้าฉันจะข้ามไป เกาะนางยวนในตอนนี้ต้องเหมาลำไป แตฉ่ ันตอ้ งประหยดั เงนิ สำหรบั การเดินทางในวนั ตอ่ ๆ ไป... กลอ่ งไปรษณียส์ แี ดง ตอน เด็กทเ่ี กดิ มาจากเม็ดทราย : อภิชาต เพชรลลี า

24 กลวธิ ีในการดำเนินเรื่องและการลำดบั ความ การดาเนินเรื่องและการลาดบั ความในการเขยี นเนื้อเรือ่ งสารคดนี บั ว่ามีความสาคัญมาก เพราะการ ดาเนนิ เรอ่ื งคือการทาให้เรื่องท่เี ขยี นดาเนินไปตามโครงเรอ่ื งท่ีเรากาหนด ทาให้เรอื่ งมคี วามสมั พันธ์กนั ไปโดย ตลอด กลวิธีในการดาเนินเร่ืองสามารถใช้กลวธิ ไี ด้หลายวิธี ดังนี้ 1. ใช้ตัวผู้เขียนเองเป็นตัวเดินเรื่อง การเดินเรื่องแบบนี้จะมีตัวผู้เขียนเป็นศูนย์กลางในการเล่าเรื่อง นาเสนอเรอื่ งราวผา่ นอารมณ์ ความรูส้ กึ นึกคดิ ของผเู้ ขยี นซึง่ อาจจะเหมาะกับสารคดปี ระเภทเดนิ ทางท่องเที่ยว หรอื สารคดีรายงานเหตุการณ์ ดังตวั อยา่ ง 2. ใช้ตัวบุคคลในพ้นื ทเ่ี ป็นตวั ดาเนนิ เรื่อง หมายถงึ การท่ีผู้เขียนสารคดใี ชบ้ ุคคลทเ่ี กี่ยวข้องกับเนื้อเร่ือง เปน็ ตัวดาเนินเร่อื ง อาจทาหนา้ ท่เี ป็นผ้เู ล่าเรอื่ งหรือไมผ่ ูเ้ ขียนกเ็ ลือกการเลา่ เรือ่ งโดยผา่ นมุมมองของบุคคล 3. ใช้บุคคลในประวัติศาสตร์เป็นตัวดาเนินเรื่อง วิธีการนี้ก็เหมือนกับวิธีการข้างตันที่ใช้ตัวบุคคลที่ เกย่ี วขอ้ งกับเนอื้ เร่อื งเป็นตวั ดาเนินเรอื่ ง เพยี งแตเ่ รื่องราวเหตุการณ์และบุคคลดังกล่าวเป็นสง่ิ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในอดตี กลวิธแี ละศลิ ปะในการใช้ภาษา การใชภ้ าษาเป็นหวั ใจสาคญั ของการเขียนทุกประเภท โดยเฉพาะการใชค้ า การใช้ประโยคและสานวน โวหาร การใช้ภาษาเขียนที่ดีผู้เขียนจะต้องมีความรู้ในกฎเกณฑ์ของภาษาและต้องอาศัยศิลปะในการใช้ด้วย การใช้ภาษาเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้ผู้อ่านได้รับ \"รส\" ในการอ่านพอ ๆ กับได้รับสาระหรือเนื้อหาการใช้ ภาษาในการเขียนสารคดีก็มีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกับการใช้ภาษาในการเขียนประเภทอื่น 1 สิ่งที่ผู้เขียนควร คานึงก็คอื “การใช้คา” • ข้อท่คี วรพิจารณาในการใชค้ าในการเขยี นสารคดี มีดังน้ี 1. ใช้คาใหต้ รงกบั ความหมายท่ีต้องการ เช่น \"ข้าพเจ้าขอวิงวอนให้ทา่ นทั้งหลายรว่ มกันสมานฉันท์กับ ขา้ พเจ้าในอันจะตั้งสตั ย์อธิษฐานขอคุณพระศรีรัตนตรัยได้ช่วยอภบิ าลประเทศชาติของเรา\" ในประโยคน้ีการใช้ คาว่า วงิ วอน เป็นคาที่ไม่ตรงกับความหมาย ควรใช้คาวา่ เชิญชวน มากกวา่ 2. ใช้คาท่ีคนส่วนมากเข้าใจ คอื คาทนี่ ิยมใช้กนั อยใู่ นปจั จุบัน ไม่ใชค้ าพันสมัยหรอื คาท่ีใหมเ่ กินไป 3. อย่าใช้คาพุ่มเฟือยโดยไม่จาเป็น การใช้คาพุ่มเฟือยคือการใช้คามากแต่กินความน้อย เช่น \"เขามีความปีติยินดปี รดี าเปน็ อยา่ งมากกับความสาเรจ็ ในครั้งนี\"้ จะเห็นได้วา่ คาว่า \"ปีติ ยนิ ดี ประดา\" สามคา น้มี คี วามหมายเพียงอยา่ งเดียวว่าดใี จหรอื ปล้มื ใจผเู้ ขยี นเลอื กคาใดคาหน่ึงมาใช้กพ็ อ อนึ่ง มักมีความเข้าใจผิดอยู่เสมอว่า ภาษาในการประพันธ์ที่สละสลวยเกิดจากการใช้ คามาก และแสดงถึงความสามารถในการสรรหาถ้อยคามาใช้อย่างหรูหรา แท้จริงแล้ว ความสละสลวยในการใชค้ าขึ้นอยกู่ บั ความหมายทก่ี ระชบั และกนิ ความต่างหาก

25 4. ใช้คาให้ถูกต้องตามหลักภาษาและความนิยม ภาษาในการเขียนสารคดีอาจไม่เคร่งครัดและเป็น แบบแผนเหมือนภาษาทางวิชาการ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้เขียนจะไม่ใสใจต่อกฎเกณฑ์ภาษาเสียทีเดียว อย่าลมื วา่ ภาษาท่งี ดงามและสร้างสรรค์น้นั ไมจ่ าเป็นตอ้ งเขยี นผิดหลักไวยากรณ์ 5. เลี่ยงการใช้คาซ้า ๆ กันแต่ใช้หลักการ \"หลากคา\" แทน การหลากคา คือการใช้คาที่มีความหมาย คล้ายคลึงกันมาสับเปลี่ยนกัน เช่น ถ้าเขียนสารคดีเกี่ยวกับชีวิตบุคคลก็มีความจาเป็นต้องเอ่ยชื่อบุคคลผู้นั้น บ่อย ๆ ซึ่งทาให้ไม่ไพเราะ ผู้เขียนอาจใช้สรรพนามแทนหรือไม่ก็เปลี่ยนไปใช้คาอ่ืนบ้าง เช่น \"ในวัยเยาว์ชีวิต ของสมพรมีแต่ความยากลาบาก แต่เด็กชายก็ไม่ท้อแท้และสิ้นหวัง ตรงกันข้ามความยากขนกลับทาให้เขามี ความมานะพยายามมากขึ้น\" ประโยคขา้ งตน้ คาวา่ \"เขา\" และ \"เด็กชาย\" เปน็ คาท่ีใชแ้ ทน \"สมพร\" 6. ใช้คาถูกหลักไวยากรณ์ ไวยากรณ์คือหลักแห่งภาษาไวยากรณ์ได้วางระเบียบวิธีการใช้คาไว้หลาย อย่างนักประพันธพ์ งึ ตอ้ งระวัง อาทิ (1) การใช้อาการนาม ซึ่งขึ้นต้นด้วย \"การ\" หรือ \"ความ\" นาหน้าควรใช้ให้ถูกตามหลัก คือ เมื่อจะเปลี่ยนคากริยาเป็นอาการนาม ให้ใช้ การ นาหน้า เช่น การเดิน, การกิน, การดารงชีพ ถ้าเปลี่ยนคา วิเศษณเ์ ปน็ อาการนาม ให้ใช้ ความ นาหนา้ เชน่ ความเดือดร้อน ความเสอื่ ม ความเรว็ เป็นตน้ (2) การใช้ลักษณนาม ควรใช้ให้ถูกต้องตามข้อกาหนด เช่น คัน ใช้กับ รถ แร้ว คันไถ เบ็ด ปาก ใช้กบั แห อวน สวงิ ตน ใชก้ ับยักษ์ อสุรกาย ฯลฯ (3) การใช้คาบุพบท แก่ แด่ แต่ จะต้องใชใ้ ห้ถูก ไม่เช่นน้ันอาจทาใหค้ วามหมายคลาดเคลื่อน (4) การใช้คาราชาศพั ท์ ตอ้ งใชใ้ ห้ถกู ตอ้ งเหมาะสมรวมไปถงึ การใชค้ าสภุ าพ 7. พยายามตดั คา ที่ ซงึ่ อัน ใหม้ ากทสี่ ดุ อย่าใช้คาเหล่านโ้ี ดยไม่จาเป็น ตอ้ งพิจารณาดูว่าหากตัดออก แล้วไม่ทาให้ความเสียหายก็ควรตัด เพราะนอกจากจะทาให้รกรุงรังแล้ว อาจทาให้ความหมายไม่ชัดเจนด้วย ในเรื่องของการใช้คา ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมาก นักเขียนสารคดีจต้องระมัดระวังและฝึกใช้คา ให้ เหมาะสม เพราะการใชค้ าทด่ี ยี งั ชว่ ยใหเ้ กดิ จินตภาพและทาใหส้ ารคดีมคี วามสละสลวยนา่ อ่านมากย่ิงข้นึ กลวธิ ีในการใชก้ ระบวนความ คาว่ากระบวนความ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถานให้ความหมายว่า \"แบบแผนของเนื้อความ หรือเรื่องราว\" ซึ่งหมายถึงการใช้ภาษาอย่างมีชั้นเชิง เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดีมีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟงั ในการเขยี นเร่ืองผูเ้ ขียนอาจใช้กระบวนความหรือ โวหารตา่ ง ๆ กนั ตามลักษณะของเน้ือความ ในแตล่ ะตอน ดังจะนาเสนอแนวทางในการใชก้ ระบวนความต่าง ๆ ท่ีจาเปน็ สาหรับการเขียนสารคดี ดังน้ี • กระบวนควำมบรรยำย เป็นกระบนความที่ใช้ในการเล่าเรื่อง บอกเล่าหรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลาดับเหตุการณ์หรือ ตามขั้นตอน การเขียนบรรยายความจะเน้นรายละเอียดใช้ภาษาที่นาเสนอเนื้อความ ไม่นาเอา ความรู้สกึ ของผู้เขยี นเข้าไปเกี่ยวข้อง โดยมีหลกั การบรรยายความ ดงั นี้

26 1. ใช้ภาษาง่าย ๆ 2. มีความร้ใู นเรือ่ งทบ่ี รรยายดี 3. กลา่ วแต่เรื่องทเ่ี ป็นความจรงิ เหมาะแก่เหตกุ ารณ์และเวลา 4. รจู้ ักเลือกเฟน้ เรือ่ งทจ่ี ะเลา่ อะไรทคี่ วรพดู เลา่ อยา่ งละเอียด อะไรท่ีไมส่ าคัญเล่าเพยี งสน้ั ๆ 5. เรยี บเรยี งความคดิ ใหล้ าดบั ตอ่ เน่อื งกนั ไม่สับสน 6. ยกตัวอย่างหรอื เปรยี บเทียบเพือ่ ให้เร่อื งเด่นข้ึน 7. พดู ใหต้ รงจดุ ไมอ่ ้อมค้อมวกวน • กระบวนความพรรณนา กระบวนความพรรณนาหรือพรรณนาโวหาร มลี กั ษณะคล้ายกระบวนความบรรยายแต่ต้องสอดแทรก อารมณ์ ความรู้สึกให้ผู้อ่านเห็นคล้อยตามไป และก่อให้เกิดจินตภาพในใจของผู้อ่าน เนื่องจากการพรรณนา เน้นการเล่าให้เห็นภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้อยคาที่นามาใช้จะต้องเป็นคาที่ก่อให้เกิดจินตภาพในลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง เช่น รูปร่าง ลักษณะที่สัมผัสได้ทางกาย หรืออาจกล่าวได้ว่า กระบวนความแบบพรรณนาโวหาร กค็ ือ การเขยี นเนื้อความใหเ้ กดิ รปู รส กลน่ิ เสียง และสมั ผัส โดยจะต้องคานงึ ในสง่ิ ต่อไปน้ี 1.เลือกใชค้ าใหต้ รงกับความรู้สกึ ที่จะพรรณนา 2. เขยี นให้ผอู้ า่ นสนใจและประทับใจ 3. เลือกเฟ้นสงิ่ ที่จาเปน็ ขึ้นมากลา่ ว 4. เขยี นใหผ้ ูอ้ า่ นเขา้ ใจข้อความที่พรรณนาอย่างชดั เจน 5. เล่นสานวนได้อย่างไพเราะเพราะพรง้ิ 6. เขียนตามความรู้สกึ ของตนเอง การเขียนสารคดีแนวใหม่ ที่เน้น \"รส\" ในการอ่านกระบวนความแบบพรรณนาจึงเหมาะที่จะใช้ ในการเขียนที่เกี่ยวกับการให้รายละเอียดของฉาก บรรยากาศ การวาดภาพบุคคล ( Profile) การกล่าวถึงสภาพอารมณ์ ความรู้สึกเพือ่ ที่จะให้ผู้อา่ นเกิดจินตนาการและรูส้ กึ ร่วมไปกับผู้เขียนเสมือน ได้เหน็ และรู้สกึ ด้วยตนเอง • การบวนความอธิบาย กระบวนความเชิงอธิบาย เป็นศิลปะการเรียบเรียงข้อความเพื่ออธิบายหรือขี้แจงให้ผู้อ่านได้เข้าใจใน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง กระบวนความอธิบายมีลักษณะใกล้เคียงกระบวนความบรรยาย แต่ต่างกันตรงที่การ บรรยายมักจะใช้ในการเล่าเร่ือง สว่ นการอธิบายเป็นการใชข้ ้อเท็จจริงหรือสาระความรู้ในเร่ืองใดเรื่องหน่ึง เช่น การอธิบายกฎเกณฑ์ การอธิบายข้ันตอนและวิธีการสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นต้น ในการเขียนสารคดที ี่มีแก่น เรื่องเน้นวิชาการ ซึ่งมุ่งนาเสนอสาระความรู้เป็นหลักลักษณะสาคัญของกระบวนความเชิงอธิบาย ประกอบดว้ ย

27 1.เรอื่ ง เม่ือจะพดู เรื่องใดก็ต้องเพง่ เฉพาะเร่ืองนัน้ ๆ ไมค่ วรเอาเรือ่ งอื่นมาปน 2. ความคิดเห็น ต้องเป็นไปตามความรู้ความเข้าใจของผู้เขียนเอง ไม่ควรไปยืมความคิดของผู้อื่นมาพูดแทน แตอ่ าจนามาอา้ งองิ ไดบ้ า้ งแต่อย่าใหค้ วามคิดคนอื่นมาอย่เู หนอื ความคิดเราเอง 3. ความรู้ เมื่อจะพูดถึงเรื่องใดต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นอย่างถี่ถ้วน เพราะหากไม่รู้แจ่มแจ้งก็จะเขียนอธิบาย เรอ่ื งนนั้ ไมไ่ ด้ หากมีความรูไ้ ม่พอกต็ อ้ งคนั ควา้ เพิม่ เตมิ และซึมชาบเขา้ ใจเรือ่ งน้ัน ๆ เสยี ก่อน 4. ความน่าอ่าน น่าฟัง ต้องเรียบเรยี งความและใช้ถ้อยคาใหเ้ ป็นท่ีสนใจของคนอ่าน พงึ หลีกเล่ยี งศพั ทเ์ ทคนิค 5. ต้องให้เขา้ ใจงา่ ย 6. ต้องมีความเป็นลาดับตดิ ต่อกนั การแทรกคำพดู และเสรมิ เกร็ดทนี่ ่าสนใจ การสร้างความน่าเชื่อถือทาได้โดยการอา้ งองิ หรือการสอดแทรกคาพูดของบคุ คลท่ีเกย่ี วข้องลงในเนื้อ เรื่องของสารคดี ส่วนการสร้างสีสันบรรยากาศ ได้แก่ การเพิ่มเติมรายละเอียดบางอย่างที่ทาให้สารคดีมี อรรถรสเพ่ิมมากขึ้น เป็นต้นว่า การเสรมิ เกร็ดเล็กเกร็ดน้อย นิทาน ตานานปรมั ปรา ซ่ึงจะชว่ ยเสริมแต่งให้เน้ือ เรอ่ื งมีสสี ันนา่ อ่าน • การอ้างหรอื แทรกคาพูด การอ้างคาพูด หมายถึงการหยิบยกเอาคาพูดของแหล่งข้อมูลหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องมาสอดแทรกใน เนื้อเรื่องของสารคดี เพื่อให้สารคดีนั้นมีความน่าเชื่อถือ สมจริงและเป็นหลักฐานว่าผู้เขียนไม่ได้สมมุติหรือ จินตนาการเอาเอง เช่น เมื่อเขียนถึงชวี ิตของแม่ค้าหาบเร่ ก็อาจนาเอาคาพดู ของแม่คา้ หาบเร่คนหนึ่งมาแทรก ลงในเนื้อหาประกอบกับคาบรรยายหรือพรรณนาการอ้างคาพูดในเนื้อเรื่องของสารคดี นอกจากจะทาให้เน้ือ เร่อื งมคี วามสดสมจริงและนา่ เช่ือถือแล้ว ยงั มบี ทบาทตอ่ เน้อื เรื่องอีกหลายประการ อาทิ 1. ช่วยในการดาเนินเรื่อง การดาเนินเรื่องในสารคดีมักใช้กระบวนความบรรยายและการพรรณนา เป็นหลัก ในบางครั้งผู้เขียนอาจสลับการบรรยายด้วยการแทรกคาพูดของบุคคลให้ช่วยดาเนินเรื่องหรือ ทาหนา้ ท่ีเล่าเรอ่ื งแทน 2. ช่วยให้รายละเอียดแทนการอธิบายของผู้เขียน เนื้อเรื่องสารคดีบางตอนมีประเด็นบางอย่าง ท่ีตอ้ งอธิบายขยายความ ซ่งึ โดยปกตผิ ูเ้ ขยี นใช้กระบวนความอธิบายเพ่ือไขความกระจ่าง แต่บางคร้ังการแทรก คาพดู ของบคุ คลจะชว่ ยทาหนา้ ที่แทนได้ 3. ช่วยสร้างบรรยากาศและอารมณ์ บางครงั้ การแทรกคาพูดของบคุ คลหรือตวั ละคนในเน้ือเรื่องจะทา ให้ได้บรรยากาศหรอื มีสีสนั มากกวา่ ท่ีผู้เขยี นเป็นคนเลา่ หรือพรรณนาเอง เช่น สารคดีเรื่องหนง่ึ ต้องการ

28 การอ้างอิง การอ้างอิง หมายถึงการที่ผู้เขียนนาเอาข้อมูลจากเอกสารมาสอดแทรกและเรียบเรียงลงในเนื้อเรื่อง ของสารคดี เพื่อนาเสนอข้อเท็จจรงิ สาระความรู้ทีเ่ กีย่ วข้องกับเนือ้ เรือ่ งและประเด็นที่นาเสนอ เพื่อให้สารคดี ที่เขียนมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น การอ้างอิงในสารคดีก็เช่นเดียวกับการอ้างอิงในงานเขียนทางวิชาการ แต่ต่างกันตรงที่การอ้างอิงเชิงอรรถหรือบรรณานุกรม ในขณะที่การเขียนสารคดีไม่จาเป็นต้องเขียนแบบ เชงิ อรรถหากแต่ให้ระบุลงในเน้อื หาไดเ้ ลยหรอื ไม่ก็เขยี นอยา่ งคร่าว ๆ ว่ามาจากหนงั สอื อะไร ใครเปน็ คนเขียน (1) อย่างไรก็ตาม การแบ่งแยกเขตแดนออกเป็นประเทศไทยประเทศลาวใน ประวัติศาสตร์ ยุคหลังได้ทาให้เกิดความเข้าใจผิดว่าชาวไทยกับลาวมีความแตกต่างทางชาติพันธ์ุ ในเรื่องนี้ เดิม วิภาคย์พจนกิจ นักประวัติศาสตร์อีสานบันทึกไว้ในหนังสือ \"ประวัติศาสตร์ลาว\" ตอนหน่งึ วา่ ...\"อนั ท่ีจรงิ ดนิ แกนที่เป็นพื้นกาเนิดของแมน่ า้ เจ้าพระยาแมน่ า้ โขงก็ดี...\" ไทยลาว หลวงพระบาง : ธีรภาพ โลหติ กลุ (2) จากบทความ \"แบบพฤติกรรมของผู้ต้องขังในเรือนจา\" โดยนัทธี จิตสว่างแบ่ง ประเภทผู้ต้องขังตามพฤติกรรมได้ถึง 11 ประเภทคือ พวกเก๋คุก พวกขาใหญ่ พวกเบาปัญญา พวกเพ้ยี น พวกหวั หมอ พวกอทิ ธิพล พวกแทก็ ชี พวกขี้ยา พวกพอ่ คา้ พวกน้อง พวกเสือเดียว... คกุ บางขวาง : อรสม สทุ ธิสาคร

29 กจิ กรรมที่ 5 สรปุ องค์ความรู้ คำชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปความรู้เรื่อง “กำรเขียนสำรคดีเชิงท่องเที่ยว” ในรูปแบบผังมโนทัศน์ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม ชื่อ........................................สกลุ ........................................ชนั้ ม.5/..........เลขที่.........

30 ใบความรทู้ ่ี 6 กำรประเมินคณุ ค่ำสำรคดี 4 ❖ การประเมินคุณค่าสารคดี ควรพิจารณาประเมนิ ใหค้ รอบคลุม 4 ประเด็นใหญ่ๆ ดงั นี้ 1. เนื้อหา มีเนือ้ หาสะท้อนแนวคิดสร้างสรรค์ท่เี ปน็ สากล และแนวคิดเฉพาะตน รวมทัง้ พิจารณาความ ถูกตอ้ งของเน้ือหาทน่ี าเสนอ มกี ารอ้างองิ แหลง่ ทมี่ าของข้อมลู ท่นี ่าเชอ่ื ถอื 2. วิธีการนาเสนอ พิจารณาชื่อเรื่องต้องมีความน่าสนใจ กระชับตรงประเด็น เปิดเรื่องอย่างมีศิลปะ ลาดับเรื่องชวนติดตาม ปิดเรื่องอย่างน่าประทับใจ กลวิธีในการนาเสนอเหมาะสมกับเนื้อหาและน่าสนใจ กลั่นกรองข้อมลู และนาเสนอในรปู แบบท่ีเหมาะสมถูกต้อง นาเสนอขอ้ เท็จจริงที่ผู้อา่ นควรรู้และเกิดประโยชน์ ต่อสังคม ไม่สอดแทรกความคดิ เหน็ ส่วนตัว 3. การใช้ภาษา ใช้ภาษาถูกต้องชัดเจน การใช้สานวนภาษามีพลังในการส่งสาร ใช้ภาษาที่ส่ือ ความหมายได้อยา่ งตรงไปตรงมา รวมทัง้ เลือกใช้ศัพท์เฉพาะหรือศัพท์บัญญัติได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมกับเร่ือง หากจาเป็นตอ้ งใชภ้ าษาตา่ งประเทศควรมกี ารอธิบายใหช้ ัดเจนดว้ ย เพือ่ ให้ผอู้ ่านซ่งึ มคี วามรพู้ ้ืนฐานแตกต่างกัน เข้าใจเร่อื งที่อ่านได้ตรงกัน 4. คุณค่าของสารคดี เป็นงานที่เรียบเรียงขึ้นจากเรื่องจริงที่ให้ทั้งความรู้ ความคิด และสอดแทรก ความบันเทิงไว้ด้วย ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความคิดให้กับผู้อ่าน รวมทั้งช่วยเปิดโลกทัศน์ของผู้อ่านให้กว้างไกล ทาใหเ้ ป็นคนที่มคี วามรู้ทีท่ ันสมัยทันโลกตลอดเวลา

31 กจิ กรรมที่ 6 ประเมนิ ค่าสารคดี คำชแ้ี จง : ให้นักเรียนอ่านสารคดที ่ีกาหนดให้ จากน้ันประเมินคุณค่าของสารคดีในหัวข้อท่ีกาหนด สารคดเี รอ่ื ง นกหลากหลายรมิ สายนำ้ โขง ด้วยความที่ผมเป็นคนชอบดูนกน้ำ Waterbrids เป็นพิเศษ ผมจึงให้ความสนใจกับแหล่งน้ำอันเป็น ที่อยู่อาศยั ของนกทุกรูปแบบ ไม่วา่ จะเป็นทะเล ชายหาด ทะเลสาบ แม่นำ้ หว้ ย หนอง คลอง บงึ เมื่อจุดหมาย ปลายทางของการทำงานในคร้งั นอ้ี ยูท่ ี่ผาแต้ม ผาแต้ม ถอื เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติแหง่ แรกในบ้านเราทใี่ ช้สายนำ้ โขงเป็นเส้นกันพรมแดนไทยลาว ซึ่งยาว เหยียดติดต่อกันถึง 3 อำเภอ ตัง้ แต่ โพธ์ิไทร ศรีเชียงใหม่ ไลล่ งไปจนถงึ โขงเจียม ตลอดแนวลำน้ำโขงท่ีไหลลด เลี้ยวเคีย้ วคดไปมานั้น นอกจากจะงดงามด้วยแอ่งหนิ น้อยใหญ่มากมายแล้ว หาดทรายยังขาวสวยเนื้อละเอยี ด ไม่แพ้ที่ไหน ๆ เหนือหาดทรายชายน้ำก็เป็นปา่ ดบิ แล้งท่ีค่อนข้างสมบรู ณ์ (เฉพาะฝั่งลาวโน้น) จึงเป็นชัยภูมิอัน เยย่ี มยอดของนกประจำถิ่นและนกเดนิ ทางท่ีจะมาใชเ้ ป็นแหลง่ พกั พงิ ในชว่ งฤดหู นาว เมื่อได้ส่องไปสำรวจมาแล้วก็ไม่ผิดหวังดังคาดจริง ๆ ครับ เพราะผาแต้มมีจุดดูนกน้ำที่น่าสนใจ มากมายหลายแห่งครับ หากคนหัวใจนกท่านใดมีโอกาสไปเยือนเมืองอุบลฯ อย่าลืมไปยลผาแต้มและเตรียม กลอ้ งสองตาไปดูนกกนั ทีผ่ าชนั กบั บ้านท่าล้งนะครบั จุดแรกทม่ี ชี อ่ื วา่ “ผาชัน” นนั้ อยู่ไปทางตอนบนของอทุ ยานผาแต้ม ในเขตอำเภอโพธิ์ไทร แมว้ า่ จะอยู่ ค่อนข้างไกลและเข้าไปลึกหน่อย แต่ถนนหนทางสะดวกไปมาง่าย ถ้าค้นหาดูจากสาระบบแหล่งท่องเที่ยวของ อุทยานฯ แห่งนี้แล้วก็จำ ไม่พบครับ เพราะเป็นจุดท่องเที่ยวใหม่เอี่ยม ล่าสุดที่นี่มีทิวทัศน์งดงามแปลกตา คาดว่านา่ จะโดง่ ดังแข่งกบั สามพนั โบกในเร็ววนั นี้ ผาชัน เป็นช่วงที่ค่อนข้างแคบสุดช่วงหนึ่งของน้ำโขง เป็นร่องน้ำลึกร่วมร้อยเมตร ซึ่งถูกกระหนยาบ ด้วยแนวหินผาตึก 90 องศา ตลอดแนวความยาว 3 กิโลเมตร ป่าสีเขียวสบายตา นกที่พบบริเวณผาชันน้ัน หลายชนิดอาจจะธรรมดา ๆ ในสายตาของนักดูนกที่ช่ำชองและส่องกล้องมาแล้วอย่างโชกโน เช่น เหยี่ยวดง เหยี่ยวขาว ยางควาย โพระดกธรรมดา ขมิ้นหัวดำใหญ่ ขุนทอง ยอดหญ้าสีดำ จาบคาหัวเขียว กระจิบหญ้า ท้องเหลือง แต่ด้วยบรรยากาศสวย ๆ ของสายน้ำกับม่านหินผาตระการตาก็ทำใหน้ ักง่าย ๆ เหล่านี้สวยขึ้นอกี เยอะแยะเลยครับ ส่วนตัวผมที่เห็นว่าน่าสนใจและไม่คิดว่าจะเจอได้ที่นี่ ก็คือ เจ้าแขกเต้า เจ้ากระแตหาด และเจ้านางแอน่ หางลวดทพ่ี บอย่ดู ้วยกันเป็นคู่ ๆ ส่วน “ท่าล้ง” นั้นเกือบจะอยูต่ อนล่างสุดของอุทยานฯ บนเส้นทางไปชมหาดวิจิตรา แต่อยู่เลยลกึ เข้า ไปอีกประมาณ 4 กิโลเมตร (ถ้าจำไม่ผิด) ถนนเป็นลูกรังสลับกับลาดยางเป็นบางชว่ งรถเก๋งก็เข้าได้ครับ ท่าลัง

32 เป็นชุมชนชาวบรู ที่มีเชื้อสายลาว - กัมพูชา มีภาษาพูด การแต่งกาย และขนบธรรมเนียมเป็นเอกลักษณ์ ไมเ่ หมอื นท่ไี หน ๆ ในเมืองอบุ ลฯ นอกจากผู้คนจะมีอัธยาศัยที่น่ารักแล้ว ท่าล้งยังเป็นจุดที่มีทิวทัศน์งดงามด้วยทิวเทือกเขาของฝั่งลาว เป็นฉากหลัง ในขณะที่ฉากหน้าเป็นสนั ทรายชายฝัง่ นำ้ สลับกับพงกก พงอ้อ และไม้พุ่มที่ชื้นเป็นหย่อม ๆ ส่วน ตรงกลางคือแอ่งหินสวยที่โอบล้อมด้วยสีฟ้าครามของสายน้ำโขง ใครที่ชอบดูนกและชอบถ่ายภาพจะต้อง ประทับใจและป้วนเปี้ยนดูกัน ได้สนุกตลอดวัน จุดที่เป็นไม้พุ่มเตี้ยแซมสลับกับพงกกหญ้าสูงท่วมหัวนั้น เป็นที่ซ่อนตัวชั้นดีของนกตัวเล็ก ๆ มากมาย ทั้งกระติ๊ด กระจิบ กระจิ๊ด กระจ้อย ไปจนถึงนกพงและนกจาบ ปีกออ่ น แตเ่ ดด็ สดุ ต้องเปน็ ริมหาดทรายกับแก่งหินกลางน้ำโขง น่ันแหละครับ สารพัดท่ีจะเจอไดท้ ัง้ กระสานวล ปากซอ่ น ทะเลขาแดง อุ่มบาตร และเจ้าลมหวั เหลืองน้นั มใี หเ้ ห็นแนน่ อน เจ้าแอน่ ทงุ่ เล็กกบั หวั โตเลก็ ขาเหลือง ก็ทำรังวางไขท่ ่นี ด่ี ว้ ย แต่ที่ผมตื่นเต้นสดุ ๆ ก็เป็นเป็นเจ้ากระแตผีใหญ่ทีม่ ีตวั ให้เห็นเปน็ ขวัญตาด้วย ซึ่งผมค่อนข้างมัน่ ใจวา่ หากได้มาเยือนท่าล้ง ในช่วงจังหวะและเวลาเหมาะเหม็ง คงไม่พลาดที่จะได้ยลโฉมเจ้ากระแตหงอน หัวโต ปากยาว หัวโตขาสีสม้ รวมทัง้ กระเต็นเฮอควิ ลสิ ไดอ้ กี ด้วยครบั ฤดูกาลใหม่ของการส่องนกที่เริ่มต้นขึ้นอีกคร้ังในปลายปี 2553 นี้ ถ้ามีผาชัน - ท่าล้ง คือจุดที่ผมต้อง กลบั ลยุ อีกครง้ั อยา่ งแน่นอนครับ (กมั พล สุขมุ าลนิ ท์ : อ.ส.ท. มถิ ุนายน 2553 หน้า 76-79) กำรประเมินคณุ คำ่ สำรคดีเรอ่ื ง นกหลำกหลำยริมสำยน้ำโขง ดำ้ นเน้อื หำ............................................................................................................................. ............................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดำ้ นวิธกี ำรนำเสนอ............................................................................................................................. ................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. กำรใชภ้ ำษำ............................................................................................................................ ............................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. คุณคำ่ ของสำรคดี................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ชอื่ .............................................สกลุ ......................................ช้นั ม.5/.........เลขที่.........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook