Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมศึกษา สค11001 ประถม

สังคมศึกษา สค11001 ประถม

Description: สังคมศึกษา สค11001 ประถม

Search

Read the Text Version

45 “เจา ราม” ซ่งึ ตอ มาไดพ ระราชทานนามใหมวา “เจารามคําแหง” หลังจากตีทัพขุนสามชนเจาเมืองฉอดแตก พา ยไป (พระราชบิดาจงึ ทรงขนานพระนามวา พระรามคําแหง ซึ่งแปลวา พระรามผูกลา หาญ) พอขนุ รามคาํ แหงราช เสดจ็ ข้นึ ครองราชสมบัติเปน กษตั ริยองคที่สามแหงราชวงศพระรว ง พ.ศ. 1826 ปรากฏในศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง (ศิลาจารึกสุโขทัยหลักท่ี 1) ในยุคพอขุนรามคําแหงมหาราชเปนยุคท่ี กรุงสุโขทัยเฟองฟูและเจริญข้ึนกวาเดิมมาก ระบบการปกครองมีประสิทธิภาพ มีการติดตอสัมพันธกับ ตา งประเทศ ในดานเศรษฐกิจและการเมือง ประชาชนอยดู ีกนิ ดี ทรงเปนนกั รบทเี่ กง กลา มาก ทรงทําสงคราม และปราบปรามเมอื งตา ง ๆ จนเปน ทีเ่ กรงขามของอาณาจกั รอนื่ สง ผลใหอาณาจกั รสโุ ขทยั สงบสุขตลอดมา พระราชกรณยี กิจท่สี ําคญั ของพอขนุ รามคําแหง 1. ดา นการเมืองการปกครองมีการขยายอาณาเขตอยางกวางขวางมากท่ีสุดในสมัยสุโขทัย โดยทิศ- ตะวันออกไดล าว ทศิ ใตไ ดด นิ แดนแหลมมลายู ทิศตะวนั ตกไดห ัวเมอื งมอญ 2. เอาใจใสดูแลทุกขสุขของราษฎร โดยใหผูที่ไดรับความเดือดรอนมาสั่นกระดิ่งกราบทูลความ เดอื ดรอนใหทรงทราบ พระองคจ ะทรงชวยตัดสินใหความชวยเหลอื เสมอื น “พอปกครองลูก” 3. จดั สรา งพระแทน มนงั ศิลาบาตร ไวสาํ หรบั พระสงฆข นึ้ แสดงธรรม และทรงรบั เอาพระพุทธศาสนา จากลังกาเขามาเปนศาสนาประจําชาติ ทําใหเปนการวางรากฐานใหพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติไทย มาจนถึงทกุ วนั นี้ 4. มีการสรางทํานบกั้นนํ้าสําหรับใชในการเพาะปลูก และปองกันการขาดแคลนนํ้าโดยอาศัย แนวคันดนิ ท่เี รียกกวา “เข่อื นพระรว ง” 5. ดานวฒั ธรรมท่สี ําคญั ซงึ่ แสดงความเปนชาติ คือ ภาษา พอขุนรามคําแหงทรงคิดประดิษฐอักษรไทยข้ึน ใชแทนอกั ษรขอม เมือ่ พ.ศ. 1826 เรียก “ลายสือไทย” ซ่ึงทําใหคนไทยในปจจุบันมีอักษรไทยใชมีการจารึก เรือ่ งราวของสโุ ขทัยลงบนแทนหิน ซงึ่ ตอมาเรยี กวา “ศิลาจารกึ หลกั ที่ 1” 6. เครื่องสังคโลก มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศจีน ไดรับความรูเร่ืองการทําถวยชาม เครื่องเคลือบดนิ เผาจากจนี มกี ารตง้ั โรงงานเครอ่ื งเคลอื บดนิ เผาข้นึ ในกรงุ สุโขทยั และเมืองศรีสัชนาลยั ซึ่งเรียก เคร่ืองเคลือบดินเผาทผี่ ลติ ข้ึนในสมัยนั้นวา “เคร่ืองสังคโลก” ปจ จบุ ันเปน สงิ่ ทท่ี รงคุณคา ที่หายากย่ิง จากพระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กจิ ของพอขุนรามคําแหง จงึ ทาํ ใหมหาชนในสมยั ตอมาไดสาํ นกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณ จึงไดถวายสมัญญานามตอ ทา ยพระนามวา “มหาราช” เปนองคแ รกของชาติไทย และเปนทีย่ อมรับในการขานพระนามสืบมาวา พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช อักษรลายสอื ไท มลี กั ษณะคลายตวั อกั ษรของขอม หลกั ศลิ าจารึกหลกั ที่ 1

46 สมัยอยธุ ยา พระนเรศวรมหาราช พระนเรศวรมหาราช เปน พระมหากษัตริยไทยในสมัยอยุธยาทมี่ ชี ่ือเสียงมากท่ีสุดในดานการรบ และการปกครอง เปนผูกอบกูเอกราชของชาติไทย หลังจากตกเปนเมืองข้ึนของพมานานถึง 15 ป ในสมัย พระองค มีการทาํ สงครามทีย่ ิง่ ใหญก ับประเทศพมา คือ สงครามยุทธหัตถี พระบรมราชานุสรณดอนเจดยี  จงั หวัดสุพรรณบุรี ภาพจิตรกรรมพระราชประวัตสิ มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ตอนยุทธหัตถี วดั สุวรรณดาราราม จงั หวัดพระนครอยธุ ยา พระราชประวตั ิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มพี ระนามเดมิ วา พระองคด าํ เปน พระราชโอรสในสมเดจ็ พระมหาธรรม- ราชาและพระวิสุทธิกษัตริย (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพ เมื่อ พ.ศ. 2098 ที่เมอื งพิษณโุ ลก มพี ระเชษฐภคินี คือ พระสพุ รรณกัลยา มพี ระอนุชา คือ สมเด็จพระเอกาทศรถ (องคขาว) ขณะทที่ รงพระเยาวพระองคใชชีวิตอยูในพระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก จนกระทั่งพระเจาบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองพิษณุโลก ในสงครามชางเผือก จึงทําใหเมืองพิษณุโลกตอง แปรสภาพเปน เมืองประเทศราชของหงสาวดี และพระเจาบุเรงนอง ทรงขอพระนเรศวรไปเปนองคประกัน ทห่ี งสาวดี ทาํ ใหพระองคตองจากบานเมืองไปตัง้ แตพ ระชนมม ายุเพยี ง 9 พรรษา ครัน้ พระชนมายุ 15 พรรษา เสด็จกลับมาประทบั ทปี่ ระเทศไทย สมเด็จพระมหาธรรมราชา พระราชทานนามใหพระองคว า “พระนเรศวร” และโปรดเกลาฯ ใหเปน พระมหาอปุ ราชาไปปกครองเมืองพิษณุโลก ทรงฟน ฟูกําลังทหาร สะสมกําลังคนและ อาวธุ ในท่ีสุดกท็ รงกอบกูเ อกราชของกรงุ ศรีอยธุ ยามาได หลังจากท่ไี ทยตกเปน เมืองขน้ึ ของพมานานถึง 15 ป เสด็จสวรรคต วนั ท่ี 25 เมษายน พ.ศ. 2148 พระชนมายุ 48 พรรษา พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ําคัญของสมเด็จพระนเรศวร 1. ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2135 พระองคท รงกระทํายทุ ธหัตถกี ับพระมหาอุปราชของพมา ที่ตําบลหนองสาหราย เมืองสุพรรณบุรี ทรงฟนพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนมบนคอชาง นับเปนชัยชนะ อยางเด็ดขาดเหนือพมา จนทําใหกรงุ ศรอี ยธุ ยาวา งเวน จากการทาํ ศึกสงครามกับพมายาวนานถงึ 160 ป

47 2. ทรงขยายอํานาจไปหัวเมืองตาง ๆ จนทําใหอาณาจักรอยุธยามีอาณาเขตกวางขวาง สามารถยึด ครองลานชาง ลานนา เชยี งใหม ลาํ ปาง เขมร และพมา บางสว นไวได 3. ทรงสง เสรมิ การคาขายกับตา งประเทศ โดยอนุญาตใหพอคาตางชาติมาคาขายภายในอาณาจักร อยุธยาได เชน จีน สเปน และฮอลนั ดา เปนตน ซึง่ บางประเทศท่ีเขา มานั้นไดตัง้ สถานกี ารคา ขน้ึ ดวย ในสมยั พระนเรศวรมหาราช อาณาจักรอยุธยามีอาณาเขตกวางขวางที่สุด และมีความเจริญรุงเรืองมาก ดวยพระปรีชาสามารถของพระองค ทําใหพระองคไดรับพระราชสมัญญาเปน “มหาราช”และในวันที่ 25 มกราคม ซึ่งตรงกับวนั กระทํายุทธหตั ถี รฐั บาลไทยประกาศใหว ันท่ี 25 มกราคม ของทุกป เปนวันกองทพั ไทย สมเด็จพระนเรศมหาราชทรงทาํ ยทุ ธหตั ถกี ับพระมหาอุปราช สมเดจ็ พระนารายณม หาราช สมเด็จพระนารายณมหาราช เปนพระมหากษัตรยิ ท ่มี พี ระปรชี าญาณ ดา นการตา งประเทศและศิลปะ- วรรณคดีอยา งสูง ในราชสํานกั พรอมพร่ังไปดวยนักปราชญ ราชกวีคนสําคัญ ในยุคน้ันไดช่ือวาเปน “ยุคทอง ของวรรณคดไี ทย”

48 พระราชประวัติ สมเด็จพระนารายณม หาราช เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่อื พ.ศ. 2175 เปนพระราชโอรสในสมเด็จ- พระเจา ปราสาททอง กบั พระนางศิรริ าชกัลยา พระนารายณมหาราช เสด็จขึ้นครองราชย เม่ือวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2199 ขณะมีพระชนมายุ 25 พรรษา และไดส รางเมอื งลพบรุ ขี ึ้นเปน ราชธานีแหงที่ 2 พระองคท รงเสด็จสวรรคต เม่ือวนั ท่ี 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 ณ พระทน่ี ั่งสุทธาสวรรย พระนารายณร าชนิเวศน จังหวดั ลพบุรี พระนารายณราชนเิ วศน จงั หวัดลพบรุ ี พระราชกรณียกิจท่ีสําคัญของสมเด็จพระนารายณม หาราช สมเดจ็ พระนารายณมหาราช ทรงเปนพระมหากษัตริยท่ีทรงพระปรีชาสามารถอยางย่ิง ทรงสราง ความเจรญิ รุง เรอื ง และความยงิ่ ใหญใหแ กกรุงศรอี ยธุ ยาเปน อยางมาก มพี ระราชกรณยี กจิ ที่สําคัญ ดงั น้ี 1. ดา นการปกครองขยายดนิ แดนโดยทรงยกทัพไปตเี มืองเชียงใหม และเมืองพมาอีกหลายเมือง เชน มะรดิ ตะนาวศรี และมีพระยาโกษาธิบดี (เหลก็ ) เปน กําลงั สาํ คัญใหสมเด็จพระนารายณสามารถยึดหัวเมือง ของพมาได 2. ดานวรรณคดีไทย ในสมยั พระองคถ ือเปน ยุคทองของวรรณคดี กวที มี่ ชี ือ่ เสยี ง เชน พระมหาราชครู พระศรมี โหสถ ศรปี ราชญ วรรณคดีที่สําคัญไดแก สมุทรโฆษคาํ ฉันท และหนงั สอื จนิ ดามณี ซง่ึ เปนแบบเรียน ภาษาไทยเลมแรกของไทย ฯลฯ 3. ดานการตางประเทศ มีความสัมพันธกับนานาประเทศ ทั้งในยุโรปและเอเชีย ไดมีชาวกรีก ชื่อ คอนสแตนตนิ ฟอลคอน เขามารับราชการดูแลการคา กับชาวตางชาติ การคาก็เจริญรุงเรือง มีรายไดเขา ประเทศมาก สมเดจ็ พระนารายณมหาราช จึงทรงแตงตั้งใหเปน เจาพระยาวิชาเยนทร ฝรั่งเศสเปนชาติที่มี บทบาทมากทั้งในการคาและการเผยแพรศาสนา พระองคไดทรงพระราชทานที่ดินใหปลูกสรางโบสถและ โรงเรยี น 4. ทรงมเี สรีภาพในการนับถือศาสนา ในสมยั พระองค มิชชันนารีจากภาคตะวันตก เขามาเผยแพร ครสิ ตศาสนา พระองคทรงอนุญาตใหตง้ั บานเรอื น สรางโบสถในดินแดนอยุธยาและประชาชนสามารถนับถือ ศาสนาไดอยางเสรี

49 นบั ไดว า ในยคุ ของพระองคทรงสรางความเจริญรุงเรืองท้งั ดา นเศรษฐกิจ การพฒั นาประเทศ และเปน ยุคทองของวรรณคดีไทย พระองคจ ึงไดรับการยอมรบั และไดร ับการยกยอ งเปน “มหาราช” สมเด็จพระนารายณม หาราช ทรงพระปรีชาสามารถในหลาย ๆ ดา น ทําใหบ า นเมืองเขมแข็ง รุงเรือง ทางกวีนิพนธ แกปญหาจากการถูกตางชาติรุกราน จึงสมควรอยางย่ิงท่ีจะไดรับการยกยองถวายพระนาม “มหาราช” ชาวบานบางระจัน ชาวบา นบางระจัน เปนตวั อยางของความสามัคคี ในการรวมตัวกันตอสแู ละรวมพลังสามารถตา นทาน กองทัพพมาไดห ลายครัง้ จนไดช อ่ื วา “เขมแขง็ กวากองทัพของกรุงศรีอยุธยาในสมัยน้ัน” มีกิตติศัพทเลืองลือ ในดา นวีรกรรม ความกลา หาญจารกึ ไวใ นประวตั ศิ าสตร อนุสาวรยี วรี ชนคายบางระจนั อยูท ่จี งั หวัดสิงหบ รุ ี ประวัติความเปนมาและผลงาน การรบที่บางระจัน เปน การรบเพื่อปองกนั ตัวเองของชาวบานเมอื งสงิ หบ ุรีและเมืองตาง ๆ ที่พากันมา หลบภัยของกองทัพพมาทีบ่ างระจนั ในคราวการเสยี กรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ซึ่งสามารถเขาตีกองทัพพมาได หลายคร้งั

50 พ.ศ. 2308 เนเมยี วสหี บดี ไดย กกองทพั พมา รุกเขาสูอาณาจักรอยุธยาจากทางเหนือ ไดมาหยุดอยูท่ี เมืองวเิ ศษชัยชาญ ทหารพมา เท่ยี วกวาดตอ นผูค นและทรพั ยสิน ทําใหราษฎรตางพากันโกรธแคนตอการกดขี่ ขมเหงของทหารพมา จึงมีการแอบคบคิดกันตอสู ชาวเมืองวิเศษชัยชาญ เมืองสิงหบุรี เมืองสรรคบุรีและ ชาวบานใกลเคียงพากันคิดอุบายเพื่อลอลวงทหารพมา มีหัวหนาท่ีเปนผูนําท่ีสําคัญคือ นายแทน นายโชติ นายอนิ นายเมอื ง ลวงทหารพมา ไปเพ่อื ฆาฟนตายประมาณ 20 คน แลว จึงพากันหนีไปยังบางระจัน จึงเปนที่ เลอ่ื งลือไปท่ัว ในขณะเดียวกันชาวเมืองตาง ๆ ท่ีอยูใกลเคียงตางก็เขามาสมทบและหลบอาศัยอยูท่ีบางระจัน เปน จํานวนมาก การพยายามเขา ตีคา ยบางระจันของทหารพมา ไดม ีการสง กองทัพเขารบถงึ 8 ครั้งดว ยกัน ในที่สุด พมา กส็ ามารถตีคา ยใหญบางระจนั ไดในป พ.ศ. 2309 รวมเวลาทไ่ี ทยรบกบั พมาเปน เวลาทง้ั สิน้ 5 เดือน แมวาคายบางระจันจะตองพายแพแกพมาก็ตาม แตวีรกรรมในครั้งน้ันไดรับการจารึกอยูใน ประวัติศาสตรแ ละจติ ใจของประชาชนชาวไทยตลอดมา เพ่อื เปนการรําลึกถงึ วีรกรรมอนั ยง่ิ ใหญค วามกลา หาญ รกั ชาติ จังหวดั สิงหบ รุ ี จงึ ไดก อสรางอนุสาวรยี ใ หก บั ผนู ําคา ยบางระจันทั้ง 11 ทานขนึ้ และกาํ หนดใหทกุ วันท่ี 4 กุมภาพนั ธ ของทกุ ป เปน วันสดดุ ีคายบางระจนั ประวัติหวั หนา ชาวบานบางระจนั ท้ัง 11 ทา น นายทองแกว อยเู มืองวิเศษชยั ชาญ เม่ือถกู กองทัพพมาตีเมืองวิเศษ แตกและยึดเมืองได นายทองแกว จึงรวบรวมชาวบานหลบหนี ไปอยูบานโพธิ์ทะเล ทานหนีออกมาคราวเดียวกับนายดอก ตองแยกกันอยูเ พราะมีชาวบานกนั มาก ตอ มากองทัพพมาทางเหนอื ยกลงมาปลน ขม เหง ชาวบา นมากขึน้ จึงชกั ชวนกนั มาอยูว ัดโพธ์เิ กา ตน บานบางระจนั ทานเปนบุคคลสําคัญอีกคนหน่ึงในการออกรบและ รวมวางแผนในการรบดว ย ทา นไดท าํ การตอ สูก บั กองทพั พมา จนเสียชวี ติ ในท่ีรบ

51 นายดอก ทา นอยเู มอื งวิเศษชัยชาญ เมือ่ กองทพั พมายกมาสมัย กรุงศรีอยุธยา แมทัพพมาส่ังใหกองทัพออกตีหัวเมือง ตา ง ๆ เมืองวิเศษชยั ชาญจึงอยูในกลุมเปาหมาย เม่ือกองทัพ พมา เขาตีเมอื งวเิ ศษชัยชาญแตก นายดอกจึงชักชวนชาวบาน ไปอยบู านตลบั คอื บา นกลับในปจ จุบนั กองทพั พมา เท่ียวออกลาดตระเวนเปนบรเิ วณกวา ง ทาํ ใหชาวบา นเดอื ดรอ นเพราะถูกทหารพมา ขม เหง จึงชักชวน กันหนมี าอยทู ีว่ ดั โพธิ์เกาตน คายบางระจนั นายดอกเปน ผูนาํ ชาวบา นทานไดร ว มรบกบั ชาวบาน บางระจนั กองทพั พมาบกุ เขา ไดแ ลว ทําใหท า นเสียชวี ิต ในสนามรบ ขุนสรรค จากเมืองสรรคบุรี ทานไดรวบรวมชาวบานตอสูกับ ทหารพมา ที่ยกทัพมาทางเมอื งอุทยั ธานี ทา นมีฝม ือในการ ยิงปน เมอ่ื ทา นกบั ชาวบานตอ ตา นทหารพมา ไมไ หว จงึ ชกั ชวนชาวบานมารวมกันทบ่ี างระจันและไดร ว มรบกบั ชาวบานสีบัวทอง ชาวเมืองวิเศษชยั ชาญ ชาวบางระจันทม่ี า รวมกันอยู ณ วัดโพธ์ิเกาตน คายบางระจัน ทา นไดใ หช าวบาน รวบรวมอาวธุ ตา ง ๆ ท่ียึดไดจากทหารพมา ในการรบครง้ั กอ น ๆ ทีไ่ ดร ับชัยชนะ ครั้งหนง่ึ ทานไดรว มกบั นายจันหนวดเขี้ยวทานไดคุมพล 100 คน ตีทพั ของอาคาปนคญีแตกพาย ทานไดรวมรบ อยูใน คายจนกระทง่ั เสยี ชีวติ ในที่รบ

52 นายทองแสงใหญ ทานเปน 1 ใน 11 ทานท่ีเปนผูนําระดับแนวหนา และทานเปนผูที่คิดต้ังคายนอย เพ่ือลวงทหารพมา ทานคัด ชายฉกรรจจาํ นวนหน่งึ ตั้งคายขึ้นอีกคายหน่ึงซ่ึงหางออกจาก คา ยใหญอ อกไป ในคายใหญซ่ึงเต็มไปดวยคนแก ท้ังหญิง ชาย เด็กเล็ก และผปู ว ยท่ีบาดเจบ็ จากการสรู บและมีการเสียชีวิตทกุ วนั ทานตอสูกับทหารพมาดวยกําลังที่มีอยูทั้งหมด จนวาระสดุ ทายทา นก็ไดเ สยี ชีวติ ในสนามรบ นายทองเหมน็ ทานเปนชาวบางระจัน เขารวมในคายบางระจัน และเปน อีกทา นหนง่ึ ท่ีรว มวางแผนในการรบ ในการรบครั้งที่ 4 ทานทําหนาท่ีเปนปกขวารวมกับ นายโชติ นายดอก นายทองแกว คมุ พล 200 คน ไปขามคลอง บานขุนโลกตีโอบหลังขาศึก ผลทําใหทัพพมาแตกพายและ ไดฆาแมทัพพมา คอื สุรินทรจอขอ ง ครั้งสุดทายพมาทําการรบแตในคายโดยยิงปนใหญ ออกมา นายทองเหม็นสุดทจ่ี ะทนรวมกับพวกชาวบานจํานวน หน่งึ โดยนายทองเหมน็ ขี่กระบอื เผอื กตลยุ ผาคายพมา จึงเสีย ทพี มา นายทองเหมน็ ถูกพมา จับฆาตายในทนี่ น้ั

53 พนั เรือง เปนหัวหนาหมูบาน เม่ือถูกพมาเขาปลนหมูบาน หาขาวปลาอาหารใหทหาร ชาวบานถกู ทหารพมารงั แกขมเหง จึงไดรับความเดือดรอน นายพันเรือง นายทองแสงใหญ นายจันหนวดเข้ียว ปรึกษากันใหชาวบานบางระจันท้ังหมด ไปอยูในวัดโพธ์ิเกาตนเปนที่หลบทหารพมา เพราะมีคลอง ธรรมชาติลอมรอบถึง 2 ช้ันและรวมชายฉกรรจในหมูบานได จํานวนหนึ่งจึงแบงกลุมกันออกลาดตระเวนหลอกลอทหาร พมาใหหลงทางเขาตีไมถูกและนายพันเรือง ยังเปนผูออก ความคิดหลอปนใหญเพ่ือยิงทําลายคายพมา จึงชักชวน ชาวบานชวยกันสละทองเหลือง ทองแดง หลอปนขึ้น 2 กระบอก แตใชการไมได อาจเปนเพราะโลหะไมเปนชนิด เดียวกันหรือไมมีความชํานาญการ ชาวบานตองอยูในสภาพ เสียขวัญกําลังใจและทานไดหลบหนีทหารพมาในคราว คา ยแตกไปเสียชีวิตริมฝง คลองหนาวดั ขนุ สงฆหางจากคา ย นายเมอื ง เปนคนบานสีบัวทอง เมืองสิงหบุรี รวมกับ นายอิน นายโชติ นายแทน และชาวบา นอกี จํานวนหนงึ่ ลวงทหารพมา ไปฆาและทานเปนคนไปนมิ นตพระอาจารยธรรมโชตจิ ากแขวง เมอื งสพุ รรณบุรมี าอยูวัดโพธ์ิเกาตน คายบางระจัน นายเมือง เปน 1 ใน 11 ผูนําชาวบานในคายที่คุมคนออกตอสูกับพมา จนกระท่งั เสียชวี ติ ในสนามรบ

54 นายอิน เปน คนบา นสบี วั ทอง ที่มากบั นายแทน นายโชติและ นายเมือง เปน คนหนง่ึ ทร่ี ว มกันฆา ทหารพมาในครง้ั แรกแลว มา รวบรวมกําลังตง้ั คา ยบางระจนั ขนึ้ ณ วัดโพธเ์ิ กา ตน ทา นเปน 1 ใน 11 ผนู าํ ชาวบานทอี่ อกตอสกู ับทหารพมา ดว ยความกลา - หาญจนตวั ตายในสนามรบ นายโชติ เปนคนบานสีบัวทอง แขวงเขตเมืองสิงหบุรีติดตอ เมืองสพุ รรณบรุ ี นายโชติไดรวมชาวบา นที่ถูกกองลาดตระเวน ของทหารพมา ขมเหงและใหส ง หญิงสาวให ในคร้งั นน้ั ทานกบั พรรคพวกไดลวงทหารพมาไปฆาได กวา 20 คน จากน้ันทานและชาวบานจึงมาอยูรวมกัน ณ บางระจัน ทา นไดต อสูกับทหารพมา จนเสยี ชีวิตในสนามรบ

55 นายแทน เปนคนบานศรีบัวทอง แขวงเมืองสิงหบุรี เปนผูท่ีมี ความกลาหาญและมฝี มือในการวางแผนรบ จัดไดว าเปน แมทัพใหญอีกทานหนึ่ง นายแทนคุมพลเขารบกับพมา หลายครั้งไดร บั ชยั ชนะในการรบครง้ั ท่ี 4 ทานคุมพล 200 คน เปน ทัพหลวง ทา นคมุ พลเขาตลี วงพมากอนและใหทัพปกขวา และปกซายเขาตีโอบหลัง สนามรบ คือ ฝงคลองทุงหวย ไผส ะตือ สีต่ น ในการรบครั้งนัน้ ทา นไดรับชัยชนะและสามารถฆา แมทัพพมาได คือ สุรินทรจอของ แตทานก็ตองไดรับความ บาดเจ็บทเี่ ขา เนื่องจากถูกอาวธุ ของขา ศกึ ตองหามกลับคา ย หลังจากนน้ั ทา นตอ งนอนรักษาตัวอยูในคายไดมินาน ก็เสยี ชีวติ เพราะพษิ บาดแผล ทาํ ใหท กุ คนในบางระจันเสยี ขวญั กาํ ลงั ใจเพราะขาดบุคคลซ่ึงเปนท่ีพึ่ง 1 ใน 11 ทานทุกคนใน คา ยตองหลงั่ นาํ้ ตาในการจากไปของทาน พระอาจารยธรรมโชติ เดิมทานจําพรรณนาอยูวัดเขานางบวช แขวงเมือง- สุพรรณบุรี เปนผูมีความรูเร่ืองวิทยาคมตาง ๆ และเร่ืองยา สมุนไพรไทยโบราณเปนอยางดี จึงเปนที่รูจักเคารพนับถือมาก ของประชาชนทัว่ ไป ในเมอื่ ภัยสงครามเกิดขึ้นในบานเมืองทานก็ ยังเปนขวัญกําลังใจใหกับชาวบานตอสูกับขาศึก ซึ่งเหตุการณ เชน นไ้ี มน าจะเกิดขน้ึ กับชาวบา น โดยชาวบา นศรบี วั ทองมนี ายเมอื ง เปนผูนิมนตทานมาอยู ณ วดั โพธเ์ิ กาตน ชาวบานหนที หารพมามาอยูรวมกันเปนจํานวน มาก โรคภัยไขเจ็บก็มีเกิดขึ้น ความตองการยาสมุนไพร นํ้ามนต ก็มากข้ึน พระอาจารยธรรมโชติไมมีภาชนะที่ใหญพอกับความ ตอสงกมาัยรกขรอุงงธชนาวบบรุ าี นโดยเฉพาะนักรบชาวบานท่ีตองการ ความเปนศิริมงคลในการออกรบ พระอาจารยธรรมโชติ จึงทํา น้ํามนตใสส ระ เพือ่ ใหพอกับความตองการของชาวบา น นํ้าในสระ จึงมีความศกั ดส์ิ ิทธ์ิถงึ ปจ จบุ นั สุดทายไมมีใครทราบวาทานมรณภาพในวัดโพธิ์เกาตน หรือหลบหนีไปไหน

56 พระเจา ตากสินมหาราช พระเจา ตากสินมหาราช เปนพระมหากษตั ริยท ีม่ พี ระมหากรณุ าธิคุณตอ ประเทศชาติอยางยง่ิ โดยทรง สรู บกับขา ศึกศตั รู จนสามารถกอบกเู อกราชของชาติไทยกลับคืนมาจากพมา ไดภ ายในระยะเวลาอันสน้ั และต้งั กรุงธนบรุ ีเปน เมืองหลวงของไทยในสมยั นน้ั พระราชประวัติ พระบรมราชานุสาวรยี พ ระเจาตากสิน ท่ีจงั หวัดจนั ทบรุ ี สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช พระราชสมภพ ตรงกับวันท่ี 17 เมษายน พ.ศ. 2277 มี พระนาม เดิมวา สิน พระราชบิดาเปนชาวจีนชื่อ นายไหฮอง หรือ หยง แซแต เปนนายอากรบอน พระราชมารดา เปน คนไทย ช่ือ นางนกเอยี้ ง โดยเมอื่ ทรงพระเยาว เจา พระยาจักรีไดขอสมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราชไปเลย้ี ง เปนบุตรบุญธรรม ต้งั ช่อื วา สนิ เจาพระยาจักรไี ดน าํ ไปถวายตวั เปนมหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจาอยูหัวบรมโกศ ตอมาไดรับความชอบ เปนพระยาตาก เจาเมืองตาก พ.ศ. 2310 กรงุ ศรีอยธุ ยาเสยี แกพมา คร้งั ที่ 2 ในวันที่ 7 เมษายน พระเจา ตากไดยึดเมอื งจันทบุรีเปน ท่ีตัง้ มน่ั ในการรวบรวมคน เพอื่ กอบกเู อกราช และพระยาตากกก็ อบกูก รงุ ศรีอยธุ ยากลับคืนไดภายใน 7 เดือน แลวกค็ ดิ จะปฏิสงั ขรณกรุงศรีอยุธยาขึ้นเปนราชธานีใหม แตเม่ือตรวจสอบความเสียหายแลว เห็นวากรุงศรี- อยุธยามีความเสียหายมาก ยากแกการบูรณะแลว จึงเลือกเมืองธนบุรีเปนราชธานี เจาตาก ทรงทําพิธี ปราบดาภิเษกเปนกษัตริยครองกรุงธนบุรี ตรงกับวันท่ี 28 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2311 ขณะมีพระชนมายุได 34 พรรษา รวมสริ ิราชสมบัติ 15 ป พระราชกรณยี กิจสําคัญ 1. ทรงรวบรวมไพลพ ลจนสามารถกอบกเู อกราชใหชาติไทยไดภายในเวลา 7 เดือน เทาน้ัน นับต้ังแต เสียกรุงศรีอยุธยาครง้ั ท่ี 2 ใหแกพมา 2. ทรงสถาปนากรงุ ธนบรุ ีเปน ราชธานี และปราบดาภิเษกเปน พระมหากษัตริย ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาท่ี 4 หรอื สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช

57 3. ทรงรวบรวมประเทศใหเ ปนปกแผน ไดส ําเรจ็ โดยการปราบปรามชมุ นมุ ตาง ๆ ทีต่ งั้ ตนเปน ใหญ หลายชุมนุม ท่ีสําคัญ ไดแก ชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุมเจาพระฝาง และชุมนุมเจา- นครศรธี รรมราช โดยใชเวลาเพียง 3 ปเ ศษ 4. ทรงมพี ระทัยมงุ ม่ันในการฟนฟูประเทศใหม ีความเจรญิ กาวหนา ในดานตาง ๆ แมวาตลอด ระยะเวลา 15 ป ในชวงสมยั ของพระองคจ ะมีการทําศึกอยตู ลอดเวลากต็ าม เชน การฟน ฟทู างเศรษฐกจิ สังคม และวัฒนธรรม ทําใหสงั คมไทยคืนสภู าวะปกติภายในเวลาอนั รวดเร็ว พระบรมราชานสุ าวรยี ส มเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช ทีว่ งเวยี นใหญ กรุงเทพมหานคร พระองคไดรับการยอมรับและยกยองวาเปน “มหาราช” และเพ่ือใหประชาชนชาวไทยไดรําลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระองค รัฐบาลจึงประกาศใหวันที่ 28 ธันวาคม ของทุกป ซึ่งตรงกับวันท่ีทรง ปราบดาภิเษกข้ึนเปน พระมหากษัตรยิ  เปน วันสมเด็จพระเจา ตากสินมหาราช พระยาพชิ ยั ดาบหกั พระยาพิชยั ดาบหกั เปน ตัวอยา งของบคุ คลท่มี คี วามเสยี สละ กลา หาญ ตอ สูเพื่อประเทศชาติ ยอมเสียสละแมก ระทั่งชีวติ ของตนเอง อนุสาวรียพ ระยาพิชยั ดาบหัก หนาศาลากลางจังหวดั อตุ รดิตถ

58 ประวัติและผลงาน พระยาพิชัยดาบหัก เดิมช่ือ จอย เกิดท่ีบานหวยคา อําเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ เม่ืออายุได 14 ป บิดานําไปฝากกับทานพระครูวัดมหาธาตุหรือวัดใหญ เมืองพิชัย จนสามารถอานออกเขียนไดจนแตกฉาน เพราะเปนคนขยันและเอาใจใสใ นตาํ ราเรียนและคอยรบั ใชอาจารย และขณะเดียวกันก็ซอ มมวยไปดวย ตอมา เจาเมืองพิชัย ไดนําบุตร (ชื่อเฉิด) มาฝากที่วัดเพ่ือรํ่าเรียนวิชา จึงเกิดเร่ืองทะเลาะวิวาทกันกับจอยเสมอ จอ ยจึงตัดสินใจหนีออกจากวัด เดนิ ทางข้นึ ไปทางเหนือโดยมิไดบอกพอ แม และอาจารย จึงไดไปพบกับครูฝก มวยคนหน่ึงชอื่ เที่ยง จึงขอฝากตวั เปนศิษยแลวเปล่ียนช่ือใหมเปน ทองดี ครูเท่ียงรักนายทองดีมาก และมัก เรียกนายทองดี วา นายทองดี ฟนขาว (เนือ่ งจากทานไมเคยี้ วหมากพลูดังคนสมยั นั้น) ทําใหลูกหลานครูอิจฉา จนหาทางกล่ันแกลง ตา ง ๆ นานา จึงทาํ ใหจ อยกราบลาครเู ดินทางขึน้ เหนือตอไป เม่ือทานเดินทางถึงเมืองตาก ขณะนั้นกําลังมีพิธีถือนํ้าพิพัฒนสัตยาท่ีวัดใหญ เจาเมืองตาก (สมเดจ็ พระเจากรงุ ธนบรุ )ี ไดจ ดั ใหมีมวยฉลองดวย นายทองดี ฟนขาว ไดเขาไปเปรียบเทียบมวยกับครูหาว ซึ่งเปนครูมวยมือดีของเจาเมืองตาก นายทองดี ฟนขาว ใชความวองไวใชหมัด ศอก และเตะขากรรไกร จนครูหา วสลบไป เจาเมืองตากพอใจมากจึงใหเงิน 3 ตําลึงและชักชวนใหมาอยูดวย นายทองดี ฟนขาว จึงไดถวายตัว เปน ทหารของเจา เมอื งตาก (สมเดจ็ พระเจากรงุ ธนบรุ ี) ต้งั แตบัดน้ัน รับใชเปนท่ีโปรดปรานมาก ไดรับยศเปน “หลวงพชิ ัยอาสา” สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดข้ึนเปนกษัตริยปกครองกรุงธนบุรี และโปรดเกลาฯ ใหหลวงพิชัยอาสา เปนเจา หมืน่ ไวยวรนาถ เปน ทหารเอกราชองครักษใ นพระองค และตอมาโปรดเกลาฯ เปน “พระยาสหี ราชเดโช” เมอ่ื ปราบชมุ นุมเจา พระฝางไดแลว สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี ไดทรงปูนบําเหน็จความชอบใหทหาร ของพระองคโดยทัว่ หนา กนั สวนพระยาสีหราชเดโช ไดโ ปรดเกลา ฯ ปนู บําเหนจ็ ความชอบ ใหเปน “พระยาพิชัย” ปกครองเมอื งพิชยั ซึง่ เปน บานเกดิ เมื่อสมัยเยาวว ัย ในป พ.ศ. 2313 - 2316 ไดเกิดการสรู บกับพมา อีกหลายคราว และทุกคราวกองทัพพมาไดแตกพายไป พอสิ้นฤดูฝน ปมะเส็ง พ.ศ. 2316 โปสุพลายกกองทัพมาตีเมืองพิชัย ศึกครั้งน้ีพระยาพิชัยจับดาบสองมือ คาดดาย คุมทหารออกตอสไู ลฟ นแทงพมาอยา งชุลมุน ณ สมรภมู ิบรเิ วณวัดเอกา จนเสียการทรงตัวจึงใชดาบ ขา งขวาพยุงตวั ไวจนทําใหดาบขางขวาหกั เปนสองทอ น กองทัพโปสุพลาก็แตกพา ยกลบั ไป เปน ทีเ่ ลืองลือจนได นามวา “พระยาพิชยั ดาบหกั ” ชีวิตราชการของพระยาพิชัยดาบหัก นาจะรุงเรืองและเปนกําลังปองกันบานเมืองไดเปนอยางดี ในแผน ดินตอมา หากแตว า พระยาพชิ ัยดาบหักเห็นวาตัวทา นเปน ขาหลวงเดิมของพระเจา ตากเกรงวา นานวันไป จะเปนที่ระแวงของพระเจา แผน ดนิ และจะหาความสุขไดยาก ประกอบกับมีความโศกเศราอาลัยในพระเจาตาก อยางมาก ไดก ราบทลู วาจะขอตายตามสมเด็จพระเจา ตาก จึงไดถ กู ประหารชวี ติ ตอนอายุ 41 ป พระยาพิชยั ดาบหักไดสรางมรดกอนั ควรแกก ารยกยองสรรเสริญใหสืบทอดมาถึงปจจุบันในเร่ืองของ ความซื่อสัตยสุจริต ความกตัญูกตเวที ความเด็ดเดี่ยวเฉียบขาดกลาหาญ มีความรักชาติตองการใหชาติมี ความเจริญรุงเรืองมั่นคง

59 สมยั รัตนโกสินทร พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช (รชั กาลที่ 1) พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงเปนปฐม- กษัตริยแหงราชวงศจักรี ทรงยายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรี มาต้ังท่ี กรงุ เทพมหานคร ตั้งช่อื วา กรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร เปนเมือง- หลวงของไทย จนถึงปจ จุบันน้ี พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช เสด็จพระราช- สมภพ เมอื่ วันท่ี 21 มนี าคม พ.ศ. 2279 มีพระนามเดมิ วา ทองดว ง ทรงผนวชเมื่อพระชนมายุได 21 พรรษา หลังจากลาสิกขา ไดทรงเขารับ ราชการจนกระทั่งไดดาํ รงตาํ แหนง หลวงยกกระบัตร เมืองราชบุรี หลังเสียกรุงศรีอยธุ ยา พระองคไดทรงกอบกู ราชอาณาจกั รขึน้ มาใหม ในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช พระองคไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปน พระยาจักรี และสมเดจ็ เจา พระยามหากษัตริยศ กึ ตามลําดับ ตอ มา พ.ศ. 2325 สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ไดป ราบดาภเิ ษกเปนปฐมกษัตริยแหงราชวงศจกั รี พระองคเ สด็จสวรรคต เมื่อวนั ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระราชกรณียกจิ สําคญั 1. สรางพระบรมมหาราชวัง พ.ศ. 2327 สรางพระมหาปราสาท และสรา งวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม พรอ มทง้ั อัญเชิญพระแกว มรกตจากกรุงธนบรุ ี มาประดิษฐานอยูภ ายในวดั แหง น้ี วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม 2. ดา นการเมืองการปกครอง 2.1 ทรงสถาปนาราชวงศจักรีและกรุงรัตนโกสินทรใหเปนราชธานีแหงใหม โดยทรงยายราชธานี จากกรุงธนบรุ มี าอยทู ีก่ รุงเทพมหานคร ทรงพระราชทานพระนครใหมนวี้ า“กรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศน มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทตั ติยวิษณุกรรมประสทิ ธ์”ิ หรือที่เรยี กขานกนั โดยทว่ั ๆ ไปวา “กรงุ เทพมหานคร” 2.2 โปรดเกลา ฯ ใหช ําระกฎหมายใหถูกตอ งยตุ ธิ รรม เรียกวา “กฎหมายตราสามดวง” ไดแ ก ตราราชสีหข องสมุหนายก ตราคชสีหข องสมหุ พระกลาโหม และตราบวั แกวของกรมทา

60 เงินพดดว ง 2.3 ทรงเปน จอมทัพในการทําสงครามกับรัฐเพื่อนบาน และทําสงครามเกาทพั กบั พมา ถือวาเปนสงครามครงั้ สาํ คัญ โดยพระองคไดท รงนาํ ทัพออกไปทําศกึ สงครามกับพมาดวยพระองคเอง 3. ดา นเศรษฐกจิ สงครามเกา ทพั 3.1 มกี ารคา ขายกบั จีนเพิ่มมากข้นึ ทาํ ใหเ ศรษฐกิจดขี น้ึ มีเงินใชจ ายในการทาํ นุบาํ รบุ า นเมอื ง สรางพระนคร สรางและบรู ณปฏิสงั ขรณว ดั 3.2 มีการคาขายกับตางประเทศ ไดรับภาษีอากร เชน อากรสุรา อากรบอนเบี้ย อากรขนอน ตลาด ภาษีคาน้ํา 4. ดา นสงั คมและวฒั นธรรม 4.1 โปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชวังและวัดใหมีรูปแบบเหมือนสมัยอยุธยา เพื่อสรางขวัญ กําลงั ใจแกร าษฎรใหเสมอื นอยใู นสมยั อยุธยา เมอ่ื ครงั้ บา นเมืองเจรญิ รุงเรอื ง เชน ลอกแบบพระทนี่ ัง่ สรรเพชญ- ปราสาทข้นึ มาใหม และพระราชทานนามวา “พระท่ีนงั่ ดุสิตมหาปราสาท” และสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือวดั พระแกว ไวใ นเขตพระบรมมหาราชวงั 4.2 ทรงทาํ นบุ าํ รงุ พระพทุ ธศาสนา ดวยการออกแบบกฎหมายคณะสงฆ เพื่อใหพระสงฆอยูใน พระธรรมวินัย มีการสังคายนาพระไตรปฏกใหมีความถูกตองสมบูรณ มีการสรางวัดและบูรณปฏิสังขรณ วดั วาอารามตาง ๆ เชน วัดพระเชตุพนวิมลมงั คลาราม (วัดโพธ์ิ) 4.3 ทรงสงเสริมงานวรรณกรรม โดยมีพระราชนิพนธวรรณคดีหลายเร่ือง เชน กลอนนิราศ ทาดนิ แดง กลอนบทละครเรื่องอิเหนา กลอนบทละครเรอ่ื ง รามเกียรติ์

61 ดวยพระราชกรณียกิจอันทรงคุณคาอยางย่ิงตอชาติไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช จงึ ไดร ับพระราชสมญั ญาวา “มหาราช” ทาวเทพกระษตั รแี ละทาวศรสี นุ ทร ทาวเทพกระษัตรแี ละทาวศรสี ุนทร เปนวีรสตรีท่มี ีชอ่ื เสยี งปกปอ งประเทศชาติและตอ สูกบั ศัตรูอยาง กลา หาญ จนสามารถปกปองพ้นื แผนดิน ใหร อดพน จากเง้อื มมือของศตั รูไวได อนสุ รณส ถานทาวเทพกระษัตรีและทา วศรสี ุนทร อยทู ีจ่ งั หวัดภเู ก็ต ประวัติ ทา วเทพกระษัตรี มีชอ่ื เดิมวา จนั และทาวศรีสุนทร มีชอื่ เดมิ วา มกุ ทานเปนพี่นองรวมบิดามารดา เดยี วกัน บิดาเปนเจาเมืองถลางช่ือ จอมทองคาํ มารดาช่ือ นางหมา เส้ีย มีพีน่ อ งรวมทง้ั หมด 5 คน ถอื กําเนิด ทีบ่ านตะเคยี น เมืองถลาง ปจจบุ ันคอื อาํ เภอหนงึ่ ในจังหวัดภูเกต็ คุณหญงิ จัน เปนภรยิ าของพระยาถลาง ผลงาน ทา วเทพกระษตั รแี ละทาวศรีสุนทร แมจะเกิดเปนสตรี แตมีความกลาหาญเชนเดียวกับบุรุษ และ สามารถใชสติปญญาอนั หลักแหลมรักษาอสิ รภาพของทองถิ่น และชาตบิ านเมืองของเราไวได เหตุการณท ่ีทาํ ให ทานท้ังสองไดรับการยกยองมาจากวีรกรรม ใน พ.ศ. 2328 เม่ือพระเจาปดุง กษัตริยพมายกทัพมาตีไทย ในเหตกุ ารณส งครามเกาทพั ทพั หนึ่งไดย กมาตีเมืองถลาง ซึ่งขณะนั้นพระยาถลางเพิ่งถึงแกอนิจกรรมและยัง ไมไดแ ตง ตัง้ ผใู ดเปนเจา เมอื งแทน คุณหญงิ จนั และคุณหญงิ มุก จงึ ไดใ หผ หู ญงิ ชาวเมืองถลาง แตงกายเปนชาย ปะปนกบั ทหารชายของไทย เพื่อใหพ มา เขาใจวาฝายไทยมีกาํ ลงั มาก ทพั พมาพยายามตเี มืองถลางอยเู ดอื นเศษ แตไมสาํ เร็จ และพมา เริม่ ขาดเสบยี ง ประกอบกับขาววาทัพหลวงของไทยยกมาพมาจึงตัดสินใจถอยทัพกลับ ทาํ ใหคุณหญงิ จนั และคณุ หญิงมกุ รกั ษาเมืองถลางไวไ ด

62 ตอมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงทราบวีรกรรมของคุณหญิงจันและ คณุ หญิงมกุ จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตัง้ ใหค ุณหญิงจันเปน ทาวเทพกระษัตรี และคุณหญิงมุกเปน ทาวศรีสนุ ทร นบั วาประวัติการตอ สูข องวรี สตรเี มืองถลาง คอื ทา วเทพกระษัตรแี ละทาวศรีสุนทรน้ัน เปน แบบอยา ง ท่แี สดงใหเ ห็นวา บทบาทของหญิงไทยนนั้ ตอ งทําหนาทีท่ กุ อยา งได ทง้ั ในยามบานเมืองเปนปกติ หรือในยาม คับขนั เพอื่ เปน การยกยองวีรกรรมของทา วเทพกระษัตรี และทาวศรสี นุ ทรใหจ ารึกในจิตใจลูกหลานเมอื งถลาง และของชาวไทย ทางการไดตั้งนามสถานที่ต้ังเมืองถลาง เมื่อคร้ังศึกพมาวา ตําบลเทพกระษัตรี และใหรวม ตําบลทาเรือกับตําบลลิพอนต้ังเปนตําบลช่ือวา ศรีสุนทร นอกจากน้ีในปพุทธศักราช 2510 ยังไดสราง อนสุ าวรยี ของวีรสตรแี หง เมอื งถลาง ไวท ี่จงั หวัดภเู ก็ต เพ่อื เปน เคร่ืองหมายและอนสุ รณแ หง ความกลาหาญของ สตรใี นประวัตศิ าสตรช าติไทยอกี แหงหนึง่ ทาวสุรนารี (ยาโม) ทาวสรุ นารี เปน วีรสตรีทชี่ าวโคราช หรือชาวจงั หวัดนครราชสมี า ใหค วามเคารพนบั ถอื เปนอยางมาก เปนศูนยรวมจิตใจของชาวโคราช ถึงขนาดเคยมีนโยบายของรัฐบาลหลายสมัยตองการที่จะแบงจังหวัด นครราชสมี า เปนจังหวัดยอย ๆ แตไมสามารถทําได เพราะจิตใจของคนในจังหวัดสวนใหญไมอยากแยกตัว ออกไป เพราะทกุ คนในจังหวดั นเ้ี ปน “หลานยา โม” กนั ทกุ คน ประวตั ิ ทาวสุรนารี เดิมชื่อโม หรือ โม ทานเปนบุคคลสําคัญทางประวัติศาสตรของจังหวัดนครราชสีมา ในฐานะผูกอบกูเมืองนครราชสีมา จากกองทัพของเจาอนุวงศ แหงเวียงจันทร เม่ือ พ.ศ. 2369 คุณหญิงโม เกดิ เมือ่ พ.ศ. 2315 ปเถาะ ในแผน ดินพระเจาตากสินกรุงธนบรุ ี บดิ า มารดา ช่อื นายก่ิม นางบุญมา เม่ืออายุ 25 ป ไดเ ขาพธิ ีสมรสกับเจา พระยามหศิ ราธบิ ดี (ทองคาํ ) ที่ปรึกษาราชการเมอื งนครราชสีมา

63 เม่อื วันท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2524 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ไดเ สด็จพระราชดําเนินทรงวางพวงมาลา ณ อนุสาวรียท า วสรุ นารี จงั หวัดนครราชสีมา ผลงาน ความภาคภูมิใจของชาวนครราชสีมา และประชาชนชาวไทยท่ัวไปน้ันก็คือ เม่ือป พ.ศ. 2349 ในสมัยรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 แหงจักรีวงศ เจาอนุวงศ ผูครองนครเวียงจันทน ไดยกทัพมาตีเมืองนครราชสีมา ซ่ึงขณะน้ันเจาเมืองและพระยาปลัดเมืองไมอยู กองทหารของเจา อนวุ งศ จึงตีเมืองนครราชสีมาไดโดยงาย และไดกวาดตอนครอบครัวชาวเมืองนครราชสีมา ซ่งึ สวนมากเปนผูหญิง เด็กและคนชรา ไปเปนเชลย เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2369 คุณหญิงโม ภริยา พระยาปลัดเมืองก็ถูกคุมตัวไปดวย หัวหนาของทหารเจาอนุวงศ ซ่ึงเปนผูควบคุมเชลยที่กวาดตอนไปนั้น ชื่อเฟยรามพิชัยไดสั่งรับอาวุธทุกชนิดจากชาวเมืองจนหมด คร้ันเดินทางมาถึงทุงสมฤทธ์ิ แขวงเมืองพิมาย (อาํ เภอพมิ ายปจจบุ นั ) ขณะท่ีหยดุ และตั้งคายพักแรม ณ ทน่ี ้นั คุณหญิงโม ไดออกอุบายใหชาวเมืองนําอาหาร และสุราไปเล้ียงทหาร ผูควบคุม ถึงกับเมามายไรสติ หมดความระมัดระวัง คุณหญิงโมจึงไดประกาศใช ชาวเมืองรวมใจกันจบั อาวธุ ตามแตจะหาไดเขา โจมตีกองทหารท่ีควบคุมโดยไมท ันรตู วั แมจ ะมีกําลังนอยกวาก็ ประสบชัยชนะอีก เพราะความสามัคคี และความกลาหาญของชาวนครราชสีมา ซึ่งมีคุณหญิงโมเปน ผูควบคมุ กองทหารเวยี งจนั ทนแ ตกพนิ าศ เจาอนวุ งศถอยทัพกลับในท่ีสุด กองทัพไทยยกตามไปปราบจับตัว เจาอนุวงศได ทานผูหญิงผูกลาหาญไดนามวา เปนวีรสตรี กอบกูอิสรภาพนครราชสีมาเอาไวได ดวย ความสามารถมีคุณตอประเทศชาตอิ ยา งยง่ิ วรี กรรมอันหาวหาญของคุณหญิงโม เปน “ทาวสุรนารี” และทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาปลัดเมืองนครราชสีมา (ทองคํา) ผูเปนสามีทาวสุรนารีเปน “เจาพระยา- มหศิ ราธบิ ด”ี ปรากฏในพงศาวดารมาจรทุกวันน้ี ทาวสุรนารี ถึงแกอสัญกรรม เม่ือ พ.ศ. 2395 รวมสิริอายุ 81 ป

64 อนุสรณสถานวีรกรรมทงุ สมั ฤทธิ์ อาํ เภอพมิ าย จงั หวดั นครราชสีมา ทาวสรุ นารี เปน ผทู ีเ่ สยี สละ เพอ่ื ใหประเทศชาติไดอยรู อดปลอดภยั ควรทีอ่ นุชนรนุ หลังจะไดระลึกถึง คุณงามความดีของทาน บานเมืองทุกวันนี้เปนสิ่งท่ีตองหวงแหน การหวงแหน คือ ตองสามัคคี รูจักหนาท่ี ทกุ ฝา ยตอ งชว ยกนั ชาวนครราชสีมา ไดแสดงพลังตองการความเรียบรอย ความสงบ เปนปจจัยสําคัญทําให ชาติกลับปลอดภัยอีกคร้งั หนึ่ง และเพื่อเปนการระลกึ ถึงคุณความดขี องทา น ชาวเมืองนครราชสีมาไดพรอมใจ กนั จดั งานเฉลมิ ฉลองวนั แหงชยั ชนะของทาวสุรนารีข้ึน ระหวางวันที่ 23 มีนาคม ถึงวนั ท่ี 3 เมษายน ของทกุ ป พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยหู ัว (รชั กาลท่ี 5) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว (รชั กาลที่ 5) เปนพระมหากษตั รยิ ไทยท่นี าํ ความเจริญมา สูประเทศไทยในทุก ๆ ดาน ทรงพัฒนาประเทศใหเจริญรุงเรืองในทุกดาน เพ่ือใหทัดเทียมกับนานา อารยประเทศ ทาํ ใหป ระเทศไทยรอดพน จากภยั ของการลา อาณานคิ มของประเทศมหาอํานาจตะวนั ตก พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูหวั มพี ระนามเดิมวา สมเด็จเจา ฟาจฬุ าลงกรณ ทรงประกาศปลดปลอ ยทาส

65 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู วั มพี ระอคั รมเหสที รงพระนามวา สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทรา บรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว ทรงไดร ับการศกึ ษาจากสํานักพระเจาวรวงศเธอพระองค เจา บุตรี และทรงศึกษาดา นวชิ าการและโบราณราชประเพณีตาง ๆ จากผูมีความรูความเชี่ยวชาญท้ังชาวไทย ชาวตา งชาติ รวมท้ังการส่ังสอนวิชาการดา นตา ง ๆ จากสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ เชน วชิ ารัฐศาสตร โหราศาสตร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั เปน พระมหากษัตรยิ พ ระองคแรกในราชวงศจักรี ท่ีข้ึนครองราชย ในขณะที่ยังทรงพระเยาวและมีผสู ําเรจ็ ราชการแทนพระองค และพระองคไ ดเสด็จเยือนประเทศสิงคโปรและ ชวา (อินโดนีเซีย) ประเทศอินเดียและพมา เพื่อทรงศึกษาขอดี ขอเสีย ของแบบแผนการปกครองอยาง ตะวนั ตก นํามาปรับปรงุ พัฒนาประเทศใหเ จรญิ กาวหนา พระราชกรณยี กิจท่สี าํ คัญ 1. ดา นการเลิกทาส เปนพระราชกรณียกิจท่ีสําคัญท่ีสุดของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยพระองคได ทรงตราพระราชบญั ญตั ทิ าส ร.ศ. 124 โดยใชเวลานานกวา 30 ป ในการปลดปลอ ยทาสมิใหหลงเหลืออยูใน อาณาจักรไทย โดยไมมีการสูญเสียเลือดเน้ือ ดวยวิธีการแบบละมุนละมอมอันตางกับตางชาติท่ีมีเสียเลือด เสยี เนื้อ การเลิกทาส 2. ดานการไปรษณียโทรเลข พระองคทรงเห็นถึงความสําคัญของการส่ือสารในอนาคตโดยโปรดเกลาฯ ใหกระทรวงกลาโหม ดาํ เนินการกอ สรางวางสายโทรเลข สําหรับสายโทรเลขสายแรกของประเทศ โดยเริม่ กอสรา งในป พ.ศ. 2418 จากกรุงเทพฯ - สมุทรปราการ และจัดต้ังการไปรษณียขึ้นเปนคร้ังแรกในป พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จ- พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ไดโปรดเกลาฯ ใหกรมโทรเลขรวมเขากับกรมไปรษณยี ชือ่ วา กรมไปรษณียโ ทรเลข การไปรษณีย

66 3. ดานการโทรศัพท กระทรวงกลาโหม ไดน าํ โทรศพั ทอันเปนวทิ ยาการในการสอ่ื สารทที่ นั สมัย เขา มาทดลองใชเ ปน คร้ังแรก ในป พ.ศ. 2424 จากกรุงเทพฯ - สมทุ รปราการ เพ่ือแจง ขาวเรือ เขา - ออก ทป่ี ากนาํ้ 4. ดา นการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัว ไดท รงวางระเบยี บการปกครองใหมโดยการแยกหนวยราชการ ออกเปน กรมกองตา ง ๆ ใหมหี นา ทรี่ ับผดิ ชอบเฉพาะไมก าวกา ยกนั 12 กรม ไดแก 1. กรมพระคลงั มีหนา ทีด่ ูแลเก่ียวกบั การเก็บภาษรี ายไดจากประชาชน 2. กรมยุติธรรม มหี นา ท่ีดแู ลเกี่ยวกบั คดีความที่ตองตัดสนิ ตา ง ๆ ทั้งคดีอาญาและคดแี พง 3. กรมยุทธนาธิการ มีหนาที่ตรวจตรารักษาการณในกรมทหารบก ทหารเรือ และกิจกรรมที่ เกีย่ วของกับทหาร 4. กรมธรรมการ มหี นา ที่ดูแลเกี่ยวกับกิจการของพระสงฆ คือ หนา ทสี่ ัง่ สอนอบรมพระสงฆแ ละสอน หนังสือใหกบั ประชาชนทวั่ ไป 5. กรมโยธาธกิ าร มหี นา ที่ดูแลตรวจตราการกอสรา ง การทาํ ถนน ขุดลอกคคู ลอง และงานเกี่ยวของ กบั การกอสราง 6. กรมมรุ ธาธิการ มีหนา ที่ดูแลรักษาพระราชลญั จกร พระราชกําหนดกฎหมาย และหนังสือ ท่เี กย่ี วกบั ราชการท้ังหมด 7. กรมมหาดไทย มีหนาทดี่ ูแลบังคับบัญชาหวั เมืองฝายเหนือ และเมอื งลาวประเทศราช 8. กรมพระกลาโหม มีหนา ท่ีบงั คับบัญชาหวั เมืองปก ษใต ฝา ยตะวันออก ตะวันตก และเมอื งมลายู 9. กรมทา มหี นา ท่ดี ูแลงานที่เกีย่ วขอ งกบั การตา งประเทศ 10. กรมวงั มีหนา ทดี่ ูแลรกั ษาการณตาง ๆ ในพระบรมมหาราชวงั 11. กรมเมือง มีหนา ทีด่ ูแลรักษากฎหมายอาญาที่เก่ยี วกับผูก ระทําผิด กรมนี้มีตาํ รวจทาํ หนาทีใ่ นการ ดูแลรักษาความสงบ และจบั กมุ ผกู ระทาํ ผิดมาลงโทษ 12. กรมนา มีหนาทคี่ ลา ยคลงึ กบั กระทรวงเกษตรและสหกรณใ นปจ จบุ นั คอื มหี นา ทห่ี ลักในการดูแล ควบคุมการเพาะปลูก คาขาย และปา ไม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมีพระบรมราชโองการประกาศ ใหยกฐานะกรมขึ้นเปน กระทรวง ในวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2435 และไดยุบ 2 กระทรวงที่ทําหนาท่ีซ้ําซอนกัน คือ กระทรวงมุรธาธิการ ยุบรวมกับกระทรวงวัง และกระทรวงยุทธนาธกิ ารยุบรวมกบั กระทรวงกลาโหม โดยคงเหลอื ไว 10 กระทรวง 5. ดา นการพยาบาลและสาธารณสุข พระองคไ ดโปรดเกลาฯ ใหสรา งโรงพยาบาลเพอื่ รักษาประชาชน ดว ยวธิ ีการแพทยแผนใหมแทนวิธีการ รักษาแบบเดมิ ที่ลาสมยั โดยไดพระราชทานทรพั ยสินสวนพระองคจาํ นวน 16,000 บาท เพือ่ เปน ทุนเร่มิ แรก ในการสรา งโรงพยาบาลชื่อวา โรงพยาบาลวงั หลงั ตอมาไดพระราชทานนามโรงพยาบาลใหมวา โรงพยาบาล ศิริราช

67 โรงพยาบาลศิรริ าช 6. ดา นการกฎหมาย กฎหมายในขณะนั้นมีความลาสมัยอยางมาก ทําใหตางชาติใชเปนขออางในการเอาเปรียบไทย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงทรงโปรดเกลาฯ สรางประมวลกฎหมายอาญาข้ึนใหม เพ่ือให ทันสมัยทัดเทียมกับอารยประเทศโดยอาศยั ผเู ชยี่ วชาญกฎหมายจากตา งประเทศ และบุคคลที่มีความสําคัญใน ดา นน้ีคือ พระเจา บรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ (พระบดิ าแหงกฎหมายไทย) พระราชโอรส การลงโทษ แบบจารตี จงึ ถูกยกเลกิ ไป พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายแหงแรกของ ประเทศไทย โดยมกี รมหลวงราชบรุ ีดิเรกฤทธทิ์ รงเปนผอู าํ นวยการ 7. ดานการขนสง และสือ่ สาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหคณะเสนาบดีและกรมโยธาธิการ สํารวจเสนทาง เพ่ือวางรากฐานการสรางทางรถไฟ เริ่มสรางทางรถไฟสายกรุงเทพ - นครราชสีมา ทําใหมีเกิด รถไฟหลวงแหงแรกของไทย 8. ดา นการเปล่ยี นแปลงระบบเงนิ ตรา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหผ ลติ ธนบตั รขน้ึ ตงั้ แต อัฐ และตั้งกรม ธนบัตรข้ึน ไดมีการผลิตธนบัตรรุนแรกออกมา 5 ชนิด คือ 1,000 บาท 100 บาท 20 บาท 10 บาท 5 บาท มีประกาศยกเลิกใชเงินพดดวง เหรียญเฟอง เบ้ียทองแดง มีการจัดตั้งธนาคารข้ึนคร้ังแรกช่ือ แบงค สยามกัมมาจล ปจจุบันคือ ธนาคารไทยพานิชยจํากดั 9. ดา นการศึกษา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัว ทรงโปรดเกลาฯ ใหต้ังโรงเรียนหลวงแหงแรกขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2444 โดยมีหลวงสารประเสริฐเปนอาจารยใ หญ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหพระยาศรีสุนทรโวหาร (นอย อาจารยางกรู) เปนผูเขียนตําราเรียนข้ึนมาเรียกวา แบบเรียนหลวง จํานวน 6 เลม เม่ือ พ.ศ. 2460

68 โปรดเกลา ฯ ใหจ ัดตั้ง “กรมศึกษาธิการ” ขึ้น เพ่ือดูแลดานการศึกษาของชาติ โรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร แหงแรกท่ีสรา งข้นึ ในวัด คอื โรงเรยี นวัดมหรรณพาราม 10. ดา นศิลปวฒั นธรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนกวีเอกที่ย่ิงใหญพระองคหน่ึงในแผนดินสยาม โดยทรงพระราชนพิ นธว รรณกรรมไวมากมายทีไ่ ดรับความนิยม คือ 1. พระราชพิธสี บิ สองเดือน 2. บทละครเรอื่ ง เงาะปา 3. ไกลบา น ฯลฯ ดวยพระราชกรณยี กิจทกี่ อ ใหเกดิ ประโยชนอยางมหาศาลตอประเทศไทย จึงไดรับพระราชสมัญญา นามวา “สมเด็จพระปยะมหาราช” อันหมายถึง ทรงเปนท่ีเคารพรักของประชาชนทั้งปวง พระองคเสด็จ- สวรรคต เมอื่ วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ประเทศไทยจึงกําหนดใหว นั ที่ 23 ตลุ าคมของทกุ ป เปนวนั ปยมหาราช พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช (รัชกาลที่ 9) พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช เปน พระมหากษัตริยร ชั กาลที่ 9 แหง ราชวงศจักรี และเปน องคที่ 2 ในประวัตศิ าสตรไ ทยถัดจาก พระปย มหาราช ทไ่ี ดร บั การถวายพระนาม “มหาราช” ขณะที่ครองราชย พระองคท รงทาํ นุบํารุงประเทศตามพระบรม ราชโองการวา “เราจะครองแผน ดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนส ขุ แหง มหาชน ชาวสยาม” พระราชประวัติ พระราชสมภพ พระบาทสมเดจ็ ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงเปนพระราช โอรสในสมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี พระองคท รงพระราชสมภพ เมอื่ วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 การศกึ ษา ทรงเขารบั การศกึ ษาทโี่ รงเรยี นมาแตรเดอี กรงุ เทพมหานคร และศกึ ษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนด พระองคทรงรอบรูหลายภาษา ไดแ ก องั กฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน และละตนิ ครองราชย พระองคไดท รงข้ึนครองราชยเ ปนพระมหากษตั รยิ  รชั กาลที่ 9 แหง พระบรมราชจกั รวี งศ

69 พระราชพธิ รี าชาภเิ ษกสมรส ทรงประกอบพธิ รี าชาภเิ ษกสมรส กบั หมอ มราชวงศสิริกิติ์ กติ ิยากร ท่วี งั สระปทุม และไดท รงสถาปนา หมอ มราชวงศส ริ ิกิติ์ ขน้ึ เปน สมเด็จพระราชนิ สี ริ กิ ติ ิ์ ตอมา พระบรมราชาภเิ ษก เมื่อวนั ที่ 5 พฤษภาคม 2493 โดยทรงประกอบ พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ตามโบราณราชประเพณี และในการนีไ้ ดท รงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ สถาปนา เฉลิมพระเกยี รตยิ ศสมเดจ็ พระราชนิ ีสิรกิ ติ ์ิ พระอัครมเหสี เปนสมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ติ พ์ิ ระบรมราชินี มีพระราชธดิ าและพระราชโอรส 4 พระองค ทรงประกาศปฏญิ าณหรือพระปฐมบรมราชโองการวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม พระปฐมบรมราชโองการว่า “เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพือประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” เพอ่ื ประโยชนส ุขแหงมหาชนชาวสยาม” ทรงพระผนวช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ปฏิบตั ิพระศาสนกจิ เปน เวลา 15 วนั พระราชกรณียกจิ ดา นการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ 1. ดา นการจัดการทรัพยากรนํ้า โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ เปน โครงการท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางแผนพัฒนา พระองคทานทรงวางแผนและหาวิธีการจัดการทรัพยากรนํ้า การพัฒนาแหลงน้ํา เพอื่ แกไขภยั แลงใหประชาชนชาวไทยมนี า้ํ ใชใ นการเกษตร และบริโภคอปุ โภคไดอ ยา งสมบรู ณตลอดป 2. ดา นการจัดการทรัพยากรปาไม พระองคทานทรงมุงมั่นท่ีจะแกไข ปรับปรุง และพัฒนาปาใหอยูในสภาพสมบูรณดังเดิม โดยเนน การอนุรักษแ ละพัฒนาปา ตนนา้ํ เปน พิเศษ จากแนวพระราชดํารขิ องพระองคไดก อใหเ กิดโครงการตาง ๆ ไดแก 1. ศนู ยศ ึกษาการพฒั นาหว ยฮองไครอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ อาํ เภอดอยสะเกด็ จังหวัดเชียงใหม 2. ศูนยศกึ ษาการพฒั นาหวยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ไดประสบผลสําเร็จ อยางสูงในดา นการลดปญ หาการบุกรกุ ทาํ ลายปา การปอ งกันไฟปา 3. ศูนยวิจัยและศึกษาธรรมชาติปาพรุสิรินธร อําเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส มีวัตถุประสงค เพ่ือทําการศึกษาคน ควาเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละสภาพแวดลอ มของปาพรุ เปนตน

70 3. ดานการจัดการทรัพยากรท่ีดนิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงวางแนวทางแกไขปญหาทรัพยากรท่ีดิน ที่เส่อื มโทรม ขาดคุณภาพ และการขาดแคลนที่ดนิ ทํากนิ สําหรับเกษตรกร แบงไดเปน 3 ดา นหลกั ไดแก 1. การจัดและพฒั นาทดี่ ิน ปญหาการขาดแคลนทดี่ ินทํากินของเกษตรกร เปนปญหาสําคัญอยางมาก และพระองคทานทรง ใหความสาํ คญั เพ่อื แกไขปญหาการไมมีที่ดินทํากินของเกษตรกร โดยพระราชดําริแนวทางหนึ่งในการแกไข ปญหานี้ ไดแ ก วธิ กี ารปฏริ ปู ที่ดนิ มาใชใ นการจัดและพัฒนาที่ดินที่เปนปาเสื่อมโทรม ทิ้งรางวางเปลา นํามา จดั สรรใหเกษตรกรที่ไรท ีท่ ํากิน ไดประกอบอาชีพในรปู ของหมูบา นสหกรณ นอกจากนี้ยังมีการจัดพื้นท่ีทํากิน ใหราษฎรชาวไทยภูเขา สามารถดํารงชีพอยูไดเปนหลักแหลง โดยไมตองทําลายปาอีกตอไป โดยดําเนิน โครงการเกี่ยวกับการพัฒนาท่ีดินเพ่ือการเกษตรควบคูไปกับการพัฒนาแหลงนํ้า เชน โครงการนิคมสหกรณ หุบกะพง (ในพระบรมราชูปถัมภ) อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี โครงการจัดพัฒนาที่ดินทุงลุยลาย อันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริ อําเภอคอนสาร จังหวดั ชยั ภูมิ เปนตน 2. การพฒั นาและอนรุ ักษด นิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงใหค วามสําคญั มากขึ้นในการอนรุ กั ษแ ละ ฟนฟูทด่ี นิ ที่มีสภาพธรรมชาติ และปญ หาที่แตกตางกันออกไปในแตล ะภมู ภิ าค เพ่ือแกไ ขปญ หาที่ดนิ มากขน้ึ เชน การศกึ ษาวจิ ัย เพ่ือแกไ ขปญ หาดนิ เคม็ ดินเปร้ยี ว ดินทราย ในภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ปญ หาดนิ พรุในภาคใต การพัฒนาและอนรุ กั ษด นิ ทสี่ าํ คัญ แบงได 3 สว น คือ ก) แบบจาํ ลองการพฒั นาพื้นท่ที ม่ี สี ภาพขาดความอุดมสมบรู ณ เพอื่ ทําการศกึ ษา คนควา เก่ยี วกับการสรา งระบบอนรุ กั ษดินและน้าํ ข) การแกไ ขปญหาดินเปรีย้ วดว ยวธิ ี \"การแกลงดนิ \" จากน้นั จึงทาํ การปรบั ปรุงดินดวยวิธกี ารตา ง ๆ ค) มกี ารศึกษาทดลองปลกู หญาแฝก เพ่อื ปอ งกันการชะลา งพังทลายของดิน และอนรุ ักษ ความชุมชนื้ ไวใ นดนิ 3. การดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั กรรมสิทธทิ์ ดี่ ิน “ปาเตรยี มสงวน” จากปญ หาความรุนแรงในการบกุ รกุ เขาไปครอบครองที่ดินของรัฐ โดยราษฎรท่ีไมมีท่ีดินทํากิน เปนหลักแหลง จึงไดทรงพระราชทานแนวทางการจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไม สําหรับท่ีดินปาสงวน ที่เสื่อมโทรมและราษฎรไดเขาไปทํากินอยูแลวนั้นโดยรัฐใหกรรมสิทธ์ิแกราษฎรในการทํากินไดอยางถูกตอง ตามกฎหมาย แตม ไิ ดม กี ารออกโฉนดท่ีจะสามารถนาํ ไปซอ้ื ขายได เพียงแตควรออกใบหนังสือรับรองสิทธิทํากิน (สทก.) แบบสามารถเปนมรดกตกทอดแกทายาทใหสามารถทํากินไดตลอดไป ทําใหวิธีการนี้ชวยใหราษฎร มีกรรมสทิ ธ์ทิ ่ดี นิ เปนของตนเองและครอบครวั โดยไมอาจนําที่ดินน้ันไปขายและจะไมไปบุกรุกพื้นที่ปาสงวน อนื่ ๆ อกี ตอไป

71 4. ดานการจดั การทรัพยากรประมง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีแนวพระราชดําริในการจัดการทรัพยากร ประมง เพ่อื แกไขปญหาแหลง นํ้าธรรมชาตทิ ี่เส่ือมโทรมและการผลิตสัตวน้าํ จาํ พวกปลาน้ําจืดเปนแหลงอาหาร ราคาถกู ทใ่ี หสารอาหารโปรตีนใหประชาชน ดงั น้ี 1. โครงการสว นพระองคส วนจติ รลดา ท่มี บี อ เพาะเลี้ยงปลานิล 2. การจัดการทรพั ยากรประมง ที่เกีย่ วกับการพฒั นาการเพาะเล้ยี งสัตวนาํ้ ชายฝง ไดพ ระราชทานดําริ เพ่ือหาแนวทางการเพาะเลย้ี งกงุ กลุ าดาํ อยางยง่ั ยนื รวมท้งั การใชป ระโยชนท รพั ยากรชายฝงแบบเอนกประสงค และเก้อื กูลกนั ณ “ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาอา วคงุ กระเบน” จงั หวดั จนั ทบรุ ี 5. ดา นการจดั การทรัพยากรการผลิตทางการเกษตร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดําริในการพัฒนาประสิทธิภาพ การผลติ ทางการเกษตรใหมากทสี่ ุด ภายใตขอจาํ กัดของสภาพภูมศิ าสตรและทรัพยากรธรรมชาตมิ งุ เนน การใช เทคโนโลยที ีง่ าย ไมยุง ยากซบั ซอ น ไดแ ก 5.1 ทฤษฎีการพัฒนาการเกษตรแบบ “พึ่งตนเอง” และเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเกษตรกร สามารถพงึ่ ตนเอง และชว ยเหลอื ตนเองในดา นอาหารกอนเปนสาํ คัญ ไมใ หพ ึง่ พาอยกู บั พชื เกษตรเพยี งชนดิ เดียว ใหปลูกพืชหลากหลายชนดิ 5.2 ทฤษฎีใหม : แนวทางการจัดการท่ดี นิ และน้ําเพ่ือการเกษตรที่ย่ังยืน พระองคทรง พระราชทาน “ทฤษฎใี หม” เพอ่ื แกไขปญ หาการขาดแคลนท่ีดนิ ทํากินของเกษตรกร 5.3 เกษตรยั่งยืนและระบบเกษตรธรรมชาติ มุงใชประโยชนจากธรรมชาติเปนปจจัยท่ีสําคัญ เพื่อชวยลดคา ใชจ ายในการทาํ มาหากนิ ของเกษตรกรลงใหเ หลอื นอยที่สดุ เชน การสนับสนุนใหเกษตรกรใชโค กระบือในการทํานา มากกวาการใชเคร่ืองจักร , การปลูกพืชหมุนเวียน หลีกเล่ียงใชสารเคมีตาง ๆ ท่ีมี ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม 6. ดา นการอนุรกั ษส่ิงแวดลอม พระองคทรงมุงเนนการอนุรักษและฟนฟูสภาพส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะหลักการ “นํ้าดีไลน้ําเสีย” หลกั การบัดนํ้าเสียดว ยผักตบชวา ทฤษฎีการบําบัดน้ําเสียดวยการผสมผสานระหวางพืชนํ้ากับระบบการเติม อากาศ ทฤษฎกี ารบําบัดน้ําเสียดวยระบบบอ บาํ บดั และวชั พืชบําบัด และ “กงั หันนํ้าชัยพฒั นา” ฯลฯ พระราชกรณียกจิ ดา นการแพทย พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหมีคณะแพทยท่ีเปน ผูเชี่ยวชาญในแตละสาขาจากโรงพยาบาลตาง ๆ พรอมดวยเวชภัณฑและเครื่องมือแพทย เพ่ือใหการ รักษาพยาบาลราษฎรท่ปี ว ยไขไดทันทีและมีโครงการทันตกรรมพระราชทาน ชวยเหลือในทองถิ่นทุรกันดาร ที่หางไกล

72 พระราชกรณียกจิ ดานการศึกษา พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงตระหนกั ถงึ การพัฒนาการศกึ ษาใหกับเยาวชน โดยจัดตั้งมูลนิธิอานันทมหิดล เพ่ือใหทุนการศึกษาแกนักศึกษาไปศึกษาหาความรูตอในวิชาการขั้นสูง ในประเทศตาง ๆ เพื่อท่ีจะไดน ําความรูนั้น ๆ กลับมาใชพัฒนาประเทศชาติใหเจริญกาวหนาตอไป พระองค ทรงมพี ระราชดาํ ริใหจัดทาํ สารานุกรมไทยสาํ หรบั เยาวชน เพ่ือใชสาํ หรับศึกษาหาความรู พระราชกรณยี กจิ ดา นความสัมพันธตางประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ไดเสดจ็ พระราชดําเนินเยอื นประเทศตา ง ๆ หลาย ประเทศ ท้ังในทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกาเหนือ เพื่อเปนการเจริญทางพระราชไมตรีระหวาง ประเทศไทย กับบรรดามติ รประเทศเหลานนั้ ใหแนนแฟน ยงิ่ ข้นึ พระราชกรณยี กจิ ดา นภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระอัจฉริยภาพดานภาษาและวรรณกรรม สง่ิ ที่แสดงใหเห็นถงึ พระอัจฉริยะดา นวรรณศิลปของพระองคอยางสมบูรณ คือ พระราชนิพนธเร่ือง พระมหาชนก ซึง่ พระองคท รงพระราชนิพนธทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในเลมเดยี วกัน พระราชกรณยี กจิ ดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1. โครงการฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ไดทรงคนหาวิธีการชวยเหลือภัยแลงใหกับ พสกนกิ รโดยการนําเทคโนโลยีสมยั ใหมมาประยุกต กับทรัพยากรทม่ี ีอยูใหเ กดิ มีศกั ยภาพของการเปนฝนใหได “ฝนหลวง” หรอื ฝนเทียม 2. โครงการแกมลิง กกั ตนุ แลวระบายนํ้าตามแรงโนม ถว ง มกี ารขดุ คลองตา ง ๆ เพือ่ ชกั นํา้ มารวมกันไวเ ปน บอพักทเ่ี ปรยี บไดก ับแกมลิง แลวคอย ๆ ระบายนาํ้ ลง ทะเลเมือ่ นํ้าทะเลลดลง จากการดาํ เนนิ โครงการไดชว ยแกป ญหาน้าํ ทวมในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

73 3. กงั หันนํา้ ชัยพฒั นา ปน น้าํ เสยี เติมออกซิเจน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงโปรดเกลาฯ ใหมูลนิธิชัยพัฒนาผลิต เครือ่ งกงั หันนาํ้ ชยั พัฒนา ซึง่ เปนเครอื่ งกลเติมอากาศ เปน กงั หนั น้าํ แบบทนุ ลอยซง่ึ ใชใ นการบาํ บดั นํา้ เสีย กงั หันนําชัยพัฒนา กังหันน้ําชัยพัฒนาไดรับสิทธิบัตรจากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2536 นับวาเปนสทิ ธิบัตรในพระปรมาภไิ ธยของพระมหากษัตรยิ พ ระองคแ รกของไทย และครงั้ แรกของโลก และถือวา วนั ท่ี 2 กุมภาพันธ ของทกุ ป เปน “วันนักประดิษฐ” 4. เขอ่ื นดนิ อางเก็บน้าํ ทไ่ี มใ ชค อนกรีต เปน แนวทางการพัฒนาแหลงนํ้าผวิ ดินตามแนวพระราชดาํ ริ เขือ่ นดนิ ไมเ พียงบรรเทาปญ หาขาดแคลนน้ํา หากแตยังปองกันนํ้าทวมไดอีกดวย อีกท้ังยังเปนแหลงเพาะพันธุสัตวนํ้าขนาดเล็กอยางปลาและกุงนํ้าจืด ไดอีกดวย 5. ไบโอดเี ซลจากปาลม ประกอบอาหารสเู ช้ือเพลงิ เครื่องยนต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช ทรงเปนผูนาํ ทางดา นการพฒั นาพลังงานทดแทน มพี ระราชดํารดิ านการพัฒนาน้ํามันปาลมเพ่ือใชกับเครื่องยนตดีเซล การพัฒนาไบโอดีเซลจากนํ้ามันปาลม ในช่ือ “การใชน้ํามันปาลมกลั่นบริสุทธิ์เปนเช้ือเพลิงสําหรับเครื่องยนตดีเซล” ไดจดสิทธิบัตรท่ีกระทรวง พาณิชย เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2544 อีกท้ังในป 2546 ทรงไดรับการทูลเกลาฯ ถวายรางวัลจาก “โครงการนาํ้ มนั ไบโอดีเซลสตู รสกัดจากนาํ้ มนั ปาลม ” ในงาน “บรสั เซลส ยูเรกา” ซง่ึ เปน งานแสดส่ิงประดษิ ฐ ใหมข องโลกวิทยาศาสตร ณ กรุงบรสั เซลส ประเทศเบลเยียม จากพระอจั ฉริยภาพ และพระราชกรณยี กิจอนั ใหญห ลวงของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา- ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทไ่ี ดพระราชทานความรกั ความเมตตาแกอ าณาประชาราษฎร เพอ่ื ใหอาณาประชาราษฎร มคี วามสขุ ทาํ ใหป ระชาชนคนไทยทุกคน ทกุ หมูเหลา ตา งกส็ ํานึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ อันลน พนของพระองค และเทิดทนู พระเกยี รตคิ ณุ ท้งั ในหมชู าวไทยและชาวโลกดวยการสดดุ แี ละการทลู เกลาฯ ถวายปรญิ ญากติ ติมศกั ด์ิ เปนจํานวนมากทุกสาขาวชิ าการ

74 บทที่ 3 เศรษฐศาสตร สาระสําคญั การศกึ ษาและทาํ ความเขาใจเกย่ี วกบั ทรพั ยากร ลกั ษณะอาชพี ปญหาและสาเหตุการวา งงานในทองถิน่ และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในสังคม ตลอดจนระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางความสัมพันธของระบบ เศรษฐกจิ และความจําเปน ของการรว มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลกจะทาํ ใหผเู รียนสามารถบริหารจัดการ ทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใชทรพั ยากรท่มี ีอยอู ยางจํากัดไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพและคมุ คา ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ เศรษฐศาสตรในครอบครัวและชมุ ชนได 2. อธิบายความสัมพันธระหวางความตองการทรัพยากรทองถ่ินกับปริมาณและขอจํากัดของ ทรัพยากรในดา นตาง ๆ ได 3. ใชทรัพยากรบนพืน้ ฐานของความพอเพียงดานเศรษฐกิจอยางมคี ุณธรรม 4. นําระบบและวธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใชกับชีวิตประจาํ วันไดอ ยางเหมาะสม 5. ใชทรพั ยากรบนพ้ืนฐานของความพอเพียงดานเศรษฐกจิ อยา งมีคุณธรรม 6. อธบิ ายระบบการพ่งึ พาการแขง ขันและประสานประโยชนใ นทางเศรษฐกจิ ไดถกู ตอ ง ขอบขา ยเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชมุ ชน เรอ่ื งท่ี 2 กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เรอื่ งท่ี 3 คณุ ธรรมของผผู ลติ ผบู รโิ ภค เรื่องที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มในทอ งถิน่ และชมุ ชน

75 เร่ืองท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชมุ ชน คนทั่วไปมกั จะเขา ใจกันวา เศรษฐศาสตร หมายถึง การใชประโยชนจากสินคา และบรกิ ารในการบําบดั ความตองการ หรือตอบสนองความพอใจของมนุษยเทานั้น เปนเร่ืองของความตองการที่จะบริโภค แตโ ดยทแี่ ทจ ริงแลวการบาํ บดั ความตองการ เพอื่ ใหไ ดร บั ความพงึ พอใจตองใหม ผี ลตามมาโดยเกิดคณุ ภาพชวี ติ ดังนั้น การบริโภคตองมีความหมายเพ่อื ใหไ ดค ุณภาพชวี ิตดว ย การเรียนรูเศรษฐศาสตรเก่ียวของกับการศึกษาพฤติกรรมมนุษยในสังคมทางดานกิจกรรมทาง เศรษฐกิจ การดํารงชีวิต และการศึกษาวิธีการนําเอาทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพ่ือบําบัดหรือตอบสนอง ความตอ งการใหเ กดิ ประโยชนแ ละใหเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดทง้ั ในปจ จบุ ันและอนาคต ความหมายและความสําคญั ของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร หมายถึง การศึกษาเก่ียวกับการท่ีมนุษยเลือกใชวิธีการตาง ๆ ในการนําเอา ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูมาใชในการผลิตสินคา และบริการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อสนองความ ตอ งการและหาวธิ กี ารกระจายสินคา และการบริการไปสูประชาชนไดอ ยางรวดเร็ว ความสําคญั ของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรมคี วามสําคญั ตอ มนุษยท กุ สถานภาพ เชน ผูผ ลติ ผูบรโิ ภค เจา ของการผลิตหรือรฐั บาล ผบู ริโภคที่มีความรูทางเศรษฐศาสตร จะชวยใหรูขอมูลและเขาใจสภาวะเศรษฐกิจของประเทศและ ของโลก สามารถปรับตัวและวางแผนทางเศรษฐกิจของครอบครัวไดอยางเหมาะสมและเกิดประโยชน เชน การหารายไดที่สัมพันธก ับรายจาย การออมทรพั ย และการบริโภค เปนตน ผูผลิต การมขี อ มูลสําหรับการวเิ คราะห การวางแผน การผลิต การบริการสินคา รวมท้ังการจัดสรร สนิ คาไปสูกลมุ เปา หมายอยางเปนระบบ มีคุณภาพและไดมาตรฐาน ซ่ึงเปนผลดีทั้งผูผลิตและผูบริโภค และ สามารถพัฒนาสินคา ใหเ ปน ทตี่ องการของผูบรโิ ภคมากข้ึน กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเรียนบอกถึงความหมายของเศรษฐศาสตร และความสําคญั ของเศรษฐศาสตร ตอการดาํ เนนิ ชีวติ ของมนุษยม าพอเขา ใจ

76 เร่อื งที่ 2 กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ การผลติ การผลติ หมายถงึ การทาํ ใหเกดิ มีข้นึ ตามความตอ งการ โดยแรงคนหรือเครอื่ งจกั ร รวมถงึ วธิ ีการ อ่นื ๆ ท่ีทาํ ใหเกดิ ขึ้น ปจ จัยในการผลติ สนิ คา และบรกิ าร ส่งิ ทมี่ คี วามสาํ คัญในการผลิตสินคาและบรกิ าร 4 ประการ ไดแก 1. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถงึ สงิ่ ทีม่ คี า ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เชน น้ํามัน แรธาตุ ทองคํา นํ้า ปา ไม และสมุนไพร เปน ตน 2. ทนุ หมายถึง เงินหรอื ทรพั ยส นิ เชน โรงงาน เคร่ืองจกั รและอปุ กรณในการผลติ ท่ใี ชใ นการดาํ เนนิ กจิ กรรมเพื่อหาผลประโยชน 3. แรงงาน หมายถงึ ความสามารถและกจิ กรรมทค่ี นในวัยทํางานกระทําในการทํางาน เพ่ือใหเกิด ประโยชนในทางเศรษฐกจิ 4. การประกอบการ หมายถึง ความสามารถของผูประกอบการในการนําทรัพยากรธรรมชาติ ทุน และแรงงานมารวมกันเพ่ือผลิตสินคา และบริการ โดยไดรับคาตอบแทนเปนกาํ ไร ปจ จัยในการเพม่ิ การผลติ สินคาและบรกิ าร ส่งิ ทีท่ าํ ใหผ ปู ระกอบการเพิม่ การผลติ สนิ คา และบริการใหม ีปริมาณมากยิง่ ข้นึ อยกู ับปจจยั ไดแ ก 1. ความตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย หมายถึง ปจจยั 4 คอื อาหาร เคร่อื งนุงหม ยารกั ษาโรคและ ท่อี ยูอาศัย สง่ิ เหลา น้เี ปน สิง่ ท่มี นุษยตอ งการในการดํารงชีวติ 2. การโฆษณาชวนเชื่อ ผูประกอบการมักใชส่ือ เชน โทรทัศน วิทยุ และหนังสือพิมพ เปนตน เพ่ือทจ่ี ะแนะนําใหป ระชาชนไดรูจักสินคาและบริการในวงกวางมากขึ้น เพ่ือกระตุนใหเกิดการ บริโภคสินคาและบรกิ ารเพ่มิ ข้ึน 3. ประเพณี เปนสวนท่ีมีความสําคัญในการเพ่ิมผลผลิต เพื่อตอบสนองความตองการของบุคคล เชน ประเพณีเขาพรรษา ผูประกอบการจะเพมิ่ ผลผลติ เทยี นจํานําพรรษาและประเพณสี งกรานต ผูประกอบการจะเพิม่ การผลติ นํา้ อบและแปง เปนตน 4. สภาพสังคม เนือ่ งจากสภาพสังคมที่ผูคนตองการความสะดวกสบายมากย่ิงข้ึน ผูประกอบการ จึงมีการเพ่ิมการผลิตสินคาเพ่ือตอบสนองความตองการ เชน รถยนต เครื่องปรับอากาศ เคร่อื งซักผา เตารดี และตูเยน็ เปนตน แรงจูงใจในการผลิตสนิ คา 1. การเพม่ิ ข้นึ ของประชากร เมื่อประชากรเพิ่มขนึ้ ความตองการบริโภคสินคาและบริการยอม เพมิ่ ขึน้ ดังนั้น ผูประกอบการยอมตอ งผลติ สนิ คามากขน้ึ เพอ่ื ตอบสนองความตองการ

77 2. การจัดสรรทรัพยากร เปนการนําทรพั ยากรที่มีอยอู ยางจาํ กัดมาทําใหเกิดประโยชนสูงสุดใน การผลิตสินคา และบริการ 3. การกระจายทรัพยากร เปนการนําทรัพยากรจากแหลงที่มีอยูมากไปสูแหลงที่มีอยูนอย โดยผูประกอบการตอ งคํานึงถงึ ประโยชนสูงสดุ และเหมาะสมมากที่สดุ การใชทรพั ยากรในจังหวดั และภมู ิภาคของตน การทีผ่ ูประกอบการนําทรัพยากรในพื้นที่มาใชในการผลิตสินคา เน่ืองมาจากสาเหตุหลายประการ ดงั น้ี 1. การใชท รัพยากรในพ้นื ท่ีมาผลติ สนิ คา ทําใหล ดตน ทนุ ในการขนสง อีกท้งั ประหยัด เวลาอกี ดวย 2. ทําใหสนิ คามรี าคาถกู ลง เนอื่ งจากตนทุนมรี าคาตํ่า 3. เกิดอาชพี ขึ้นภายในทอ งถ่นิ การบรโิ ภคและการบริการ การบริโภค หมายถึง การใชสินคาและบริการของประชาชน การบริโภค สามารถแบงออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแ ก 1. การบรโิ ภคสินคาที่ไมคงทน คือ สินคาที่ใชแลวหมดไป เชน อาหาร ยารักษาโรค เคร่ืองดื่ม ปากกา ยางลบ สมุด และดินสอ เปนตน 2. การบริโภคสินคาที่คงทน คือ สินคาท่ีใชแลวยังคงอยู เชน โตะ เกาอ้ี รถยนต เสื้อ กางเกง กระเปา และรองเทา เปนตน หลักเกณฑใ นการเลอื กซือ้ สินคา 1. ความจําเปน พจิ ารณาวา สินคาชนดิ นน้ั มีความจําเปน ตอการดาํ รงชวี ิตหรอื ไม 2. คุณภาพ เปนส่ิงท่ีมีความสําคัญอยางย่ิงในการเลือกซื้อสินคา โดยเลือกสินคาท่ีมีคุณภาพดี เหมาะสมกับราคาและปรมิ าณ 3. ราคา เปน สว นหน่ึงในการเลือกซ้ือ โดยเฉพาะสินคาชนิดเดยี วกนั คุณภาพเทากันและปริมาณ เทากัน ดังน้นั ราคาจึงเปนหลกั เกณฑใ นการพจิ ารณาสนิ คา อยา งหนง่ึ การบริการ หมายถึง การปฏิบัติเพื่อใหความสะดวกสบายในดานตาง ๆ เชน การขึ้นรถโดยสาร การตัดผมและการเลนเครอื่ งเลนในสวนสนกุ เปน ตน ตลาด ตลาด หมายถึง สถานท่ที เ่ี ปนแหลง ชุมนุมของผูคา เพือ่ จาํ หนายสินคาประเภทตาง ๆ ลักษณะของ ตลาดแบงเปน 2 ประเภท ไดแ ก

78 1. ตลาดแขงขันสมบูรณ หรือตลาดเสรี หมายถึง ตลาดท่ีมีการแขงขันสูง มีผูซ้ือและผูขาย จํานวนมาก ราคาของสินคาเปนไปตามกลไกตลาด และผูผลิตมีอิสระในการเขา – ออกใน ตลาดอยางเสรี 2. ตลาดแขงขันไมสมบูรณ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 2.1 ตลาดผูกขาด คือ ตลาดที่มีหนวยธุรกิจเดียวในการจัดหาสินคาและบริการในตลาด ไมม ีคแู ขง ทางการตลาดเลย 2.2 ตลาดผูขายนอยราย คือ ตลาดท่ีมีหนวยธุรกิจเพียง 3 – 4 รายในการจําหนายสินคา ชนิดเดยี วกันในตลาด ทาํ ใหสามารถจาํ หนา ยสนิ คา ไดในจํานวนมาก เชน ผูผลิตรถยนต นํา้ อัดลม ปูนซีเมนตและเหล็ก เปนตน 2.3 ตลาดก่งึ แขง ขันกงึ่ ผูกขาด คอื ตลาดที่มผี ูขายจาํ นวนมากแตมีสัดสวนในตลาดนอย เชน รานตัดผม รานอาหารและรานบริการซอ ม เปน ตน ปจจยั ท่ีกําหนดโครงสรา งทางการตลาด 1. จํานวนผผู ลิตในตลาด 2. สภาพภูมิศาสตร 3. ความสามารถของสนิ คา ในตลาดทส่ี ามารถใชท ดแทนกนั มีมากนอ ยเพียงใด การแขง ขัน การแขงขัน หมายถึง การตอสูระหวางผูผลิตที่ผลิตสินคาในลักษณะเดียวกัน เพื่อจําหนายใหแก ผบู รโิ ภคในปริมาณท่ีมากขน้ึ โดยอาศยั ปจจัยตาง ๆ ไดแ ก 1. เทคโนโลยี หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตรทีน่ ํามาใชในการผลติ สินคาเพ่ือใหไดสินคา ทม่ี ีคุณภาพดีข้ึน แตร าคาถกู ลง โดยเทคโนโลยแี บงออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ - เทคโนโลยที างการเกษตร เปน การนําวิทยาศาสตรมาพัฒนางานดา น การเกษตรต้ังแตวิธกี ารผลติ เชน การไถนา การเก่ยี วขาวและวิธีการรดนาํ้ เปน ตน การขยายพันธุ คณุ ภาพและปริมาณของผลิต รวมถึงการใชยาปราบ- ศตั รูพืช - เทคโนโลยีดานอุตสาหกรรม เปน การนําเคร่อื งจกั รมาใชแ ทนแรงงานคน เพอ่ื ใหไดส นิ คาทร่ี วดเรว็ มปี รมิ าณมากและมมี าตรฐานเทา เทยี มกนั ซงึ่ ทาํ ใหสนิ คา มรี าคา ถูกลงและคณุ ภาพดีข้ึน 2. การเลือกใชทรัพยากรทอ งถิ่น เปนการลดตนทุนการผลิต อีกท้ังยังเปนการเพิ่มรายไดใหกับ ทองถิ่นของตนเอง เชน ภาคใตมีแรบุกจํานวนมาก ทําใหเกิดโรงงานถลุงแร และการทํา โรงงานนํ้าปลาใกลก ับชายฝง ทะเลท่มี ีการจบั ปลากนั มาก เปนตน

79 ประโยชนข องการแขง ขนั 1. ทําใหเ กิดสินคา ชนดิ ใหมในตลาด เพ่อื ตอบสนองความตอ งการของผบู รโิ ภค 2. ทาํ ใหสนิ คามรี าคาถูกลง แตค ุณภาพดขี น้ึ 3. มีสนิ คา ใหเ ลือกมากขนึ้ สถาบันการเงนิ สถาบนั การเงนิ หมายถงึ องคกรท่ีดําเนินการเกี่ยวกับธุรกิจ การเงินและการใหสินเชื่อเปนตัวกลาง ในการเชอ่ื มโยงผูออมเงนิ กบั ผูตองการกเู งนิ หนาทข่ี องสถาบนั การเงนิ ในทน่ี ข้ี อกลา วถึงหนา ทีข่ องสถาบันการเงนิ ประเภทธนาคารพาณิชยเ ทา น้นั สวนสถาบนั การเงินเฉพาะ อยางก็จะมีหนาที่เฉพาะขององคก รแตกตางกนั ไป หนาท่หี ลักของธนาคารพาณิชย มดี ังนี้ 1. บริการรบั ฝากเงินสาํ หรบั ผูมเี งินออม โดยผอู อมเงินจะไดร บั ดอกเบีย้ ตอบแทน บริการรบั ฝาก เงนิ มหี ลายลกั ษณะ ไดแก เงินฝากกระแสรายวนั เงินฝากออมทรพั ย เงนิ ฝากประจํา 2. บริการสนิ เชอื่ โดยแบง ประเภทสนิ เชือ่ ไดด งั นี้ - เงนิ กทู ่วั ไป โดยนาํ หลกั ทรัพยห รอื เงนิ ฝากมาคา้ํ ประกัน - เงนิ กเู บกิ เงินเกินบญั ชี โดยนําหลักทรพั ยหรอื เงินฝากมาทาํ วงเงินคํ้าประกนั การเบิกเงินเกนิ บัญชี - รบั ซือ้ ต๋ัวเงินทมี่ กี าํ หนดระยะเวลา 3. บริการอืน่ ๆ เชน - ใหบริการในดา นเปน ตัวแทนของลกู คา เชน ชวยเก็บเงินตามเช็ค ต๋ัวเงินและ ตราสารอ่ืน ๆ ชวยเกบ็ และจา ยเงินประเภทอน่ื ๆ เชน คา เชา คาดอกเบีย้ คาไฟฟา คานา้ํ ประปา คา ภาษหี รอื คา ธรรมเนียมใหแกหนว ยงานราชการตาง ๆ และชวยเปน ตัวแทนรฐั บาลในการขายพันธบตั ร ตวั๋ เงนิ คลงั เปนตน - ใหบรกิ ารชว ยเหลอื ดา นการคาและการชาํ ระเงินระหวางประเทศ กิจกรรมที่ 2 ผเู รยี นมีหลักในการเลือกซอื้ ของใชอ ยางไรบาง จดั ลําดบั ใหเ หน็ ความสาํ คญั มาประกอบดว ย

80 สหกรณ สหกรณ หมายถึง การรวมกลุมกันของคณะบุคคลเพ่ือดําเนินกิจการตาง ๆ โดยมีวัตถุประสงค ชวยเหลือซ่งึ กันและกันระหวางสมาชิก และไดจดทะเบียนเปนสหกรณต ามกฎหมาย หลักการของสหกรณ 1. เปด รบั สมาชิกตามความสมัครใจ เขามาเปนสมาชิกดว ยความเต็มใจ 2. เปด รบั สมาชกิ โดยไมจํากดั เช้ือชาติ ศาสนา หรอื ฐานะทางสงั คม 3. ดําเนนิ การตามหลกั ประชาธิปไตย คอื สมาชกิ มสี ทิ ธิแสดงความคิดเห็นและมีสทิ ธิออกเสยี ง 4. สหกรณตอ งจดั สรรผลประโยชนใหแ กสมาชกิ ในรูปของเงินปน ผลจากหนุ สวนที่สมาชิกมีอยู 5. เจาหนาที่และสมาชิกของสหกรณมีสิทธิ์ในการรับทราบขอมูลที่เปนประโยชนตอการพัฒนา กิจการสหกรณ 6. เจาหนา ท่ีและสมาชกิ สหกรณค วรหาความรใู หม ๆ และแลกเปลีย่ นความรูระหวางกัน เพื่อนํามา พัฒนากิจการของสหกรณ ระเบียบการจดั ตงั้ สหกรณ 1. กําหนดชือ่ และประเภทของสหกรณ 2. กําหนดวัตถปุ ระสงคข องการจดั ตง้ั สหกรณ 3. ตองมคี ณะบุคคลตงั้ แต 10 คนข้นึ ไป 4. ตอ งจดทะเบยี นจดั ตั้งสหกรณตามพระราชบญั ญัตสิ หกรณ พ.ศ. 2511 5. ตอ งดาํ เนินการตามหลกั การของสหกรณ วิธีการจดั ตั้งสหกรณโ รงเรยี น 1. จัดประชมุ เพื่อเชิญชวนใหผสู นใจเขารวมเปนสมาชิก โดยช้ีแจงขอดี ขอเสีย รวมถึงผลประโยชน ในการเขา เปน สมาชิกของสหกรณ 2. แตงตงั้ คณะบคุ คลเพื่อดําเนินการจัดตั้งสหกรณ 3. กาํ หนดระเบยี บเกย่ี วกับสมาชิก ราคาหุน เงนิ ปนผล และระเบยี บขอบงั คบั ตา ง ๆ 4. เปดรบั สมคั รสมาชกิ ทสี่ นใจ 5. จัดประชุมสมาชกิ ท้ังหมดเก่ียวกบั วธิ ีการดําเนนิ งานของสหกรณ วธิ ีการจดั ตั้งสหกรณข ้ึนในชุมชน 1. ขั้นเตรยี มการ - สาํ รวจความพรอมของบุคลากรภายในชุมชน - จดั หาสถานทีใ่ นการจดั ตง้ั สหกรณ - แตง ตั้งคณะผดู าํ เนินงานจัดตงั้ สหกรณ

81 - คน ควาหาความรเู ก่ียวกบั การดําเนินกจิ การสหกรณและหลกั การในการจัดตัง้ - กาํ หนดระเบยี บ ขอบังคับ และกฎเกณฑก ารรบั สมาชิก ราคาหุน วัตถปุ ระสงค และวิธกี ารดําเนินงานของสหกรณ 2. ข้ันดาํ เนนิ การจัดตงั้ - เปดรบั สมาชิกสหกรณ - ประชมุ สมาชิกเพอ่ื แตง ต้งั คณะกรรมการดําเนนิ งาน 3. ข้ันตอนดาํ เนินกิจการ - คณะกรรมการตองดําเนินกจิ การของสหกรณใหเปนไปตามวตั ถปุ ระสงค หลักการและระเบยี บขอบงั คบั ของสหกรณ ประโยชนข องการจัดตง้ั สหกรณ 1. สมาชิกของสหกรณส ามารถซอื้ สินคา ไดในราคาที่ถกู ลง 2. การรวมตวั กันทําใหเ กดิ การชวยเหลอื ซ่ึงกนั และกันในหมสู มาชกิ 3. สมาชกิ ไดร บั ประโยชนจ ากเงินปนผล 4. สงเสริมใหเ กดิ ความสามัคคขี ้ึนในชุมชน 5. เปนแหลงเงนิ กขู องสมาชิก 6. ทําใหเ กิดการเรียนรกู ารดาํ เนินธุรกจิ ในรปู แบบหนึง่ ซง่ึ สามารถนําไปปรบั ใชใ นการทาํ ธรุ กจิ รูปแบบอน่ื ได ภาษี ภาษี หมายถงึ เงินทีร่ ัฐหรอื ทอ งถ่นิ เรียกเกบ็ จากบคุ คล เพอื่ ใชจายในการบรหิ ารประเทศหรือทองถ่ิน ภาษถี อื วาเปน รายไดสาํ คัญของรฐั ทน่ี าํ มาใชจา ยดานตา ง ๆ การเสียภาษจี ะคิดตามปภ าษี เรม่ิ ต้ังแต 1 เมษายนปนี้ – 31 มีนาคมปถัดไปของทุกป การหลีกเล่ียง ไมเสียภาษีตองเสียคาปรับหรืออาจถูกจําคุกได การเสียภาษีเปนสิ่งควรทําเพราะเงินภาษีถูกนําไปใชในการ พัฒนาประเทศ ประโยชนข องภาษี 1. ใชในการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เชน สรางถนน สรางโรงพยาบาล สรางโรงเรียนและ กอสรา งส่ิงตา ง ๆ อนั เปนประโยชนแกป ระชาชนสว นรวม เปน ตน 2. ใชเปนเงินเดือนขา ราชการประจาํ และขา ราชการการเมอื ง ซงึ่ ใหบ รกิ ารประชาชนในดา นตาง ๆ

82 ลกั ษณะของการจัดเกบ็ ภาษี แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแก 1. ภาษีทางตรง คือ ภาษีที่รัฐเรียกเก็บโดยตรงจากบุคคลผูมีรายได เชน ภาษีเงินได เปน ตน 2. ภาษที างออ ม คอื ภาษีท่ผี ูเสยี ภาษีผลักภาระใหผ อู ื่นจายแทน เชน ภาษมี ลู คาเพิม่ ซึ่งผูซอื้ สนิ คา หรือบริการ เปนผจู ายแทนผปู ระกอบการ เปน ตน ประเภทของภาษี 1. ภาษีเงินได เปนภาษที ่เี รียกเก็บจากบุคคลท่ีไดรับเงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอยางอื่น ซ่งึ อาจคาํ นวณเปนเงนิ ได แบงออกเปน 2 ลกั ษณะ ไดแก - ภาษเี งนิ ไดบ ุคคลธรรมดา เปนภาษีทีร่ ัฐเรียกเก็บจากบุคคลที่มีรายได เชน ขาราชการ พนกั งานบรษิ ัท และพนักงานรัฐวสิ าหกิจ เปน ตน - ภาษีเงินไดนิติบุคคล เปนภาษีที่รัฐเรียกเก็บจากผูประกอบการท่ีเปนกลุมบุคคลหรือ องคกร เชน บรษิ ทั หา งหนุ สวน เปน ตน โดยคิดภาษจี ากกําไรทีไ่ ดรบั 2. ภาษบี ํารุงทองที่ เปนภาษีท่เี จา ของทด่ี นิ ตองเสียเปนรายปจากราคาปานกลางของท่ีดิน ตามท่ที างราชการไดกาํ หนดไว เพ่อื ใหเ ปน รายไดข ององคก ารบรหิ ารสวนทอ งถ่ินซึ่งที่ดิน อยใู นเขตนนั้ 3. ภาษโี รงเรอื นและท่ีดิน เปนภาษีท่ีรัฐเรียกเก็บจากผูท่ีมีกรรมสิทธิ์ในท่ีดินและโรงเรือน รวมถึงสิ่งปลูกสรางอ่ืนบนท่ีดินท่ีใหเชา ประกอบธุรกิจการคาหรือผลประโยชนอ่ืนใด ทีเ่ จาของไดร ับตอบแทนตองเสียภาษีเปน รายปต ามท่รี ฐั กาํ หนด 4. ภาษีมลู คาเพ่ิม เปนการเรียกเก็บภาษีทางออมที่รัฐเรียกเก็บจากบุคคลที่ซ้ือสินคาหรือ บริการโดยจดั เกบ็ เฉพาะมูลคาสว นท่เี พิม่ ขน้ึ ในแตละข้ันตอนของการผลิต การจําหนาย หรือการใหบ ริการ 5. ภาษีสรรพสามติ เปนภาษีท่ีกรมสรรพสามิตเรียกเก็บจากสินคาท่ีผลิตหรือนําเขา และ การใหบ รกิ ารในทางธุรกิจตามที่กฎหมายกําหนด เชน ภาษีสุรา ภาษีบุหร่ี ภาษีกิจการ สถานบนั เทงิ และภาษีรถยนต เปน ตน กิจกรรมท่ี 3 ผเู รียนสาํ รวจชมุ ชนของตนเองวา มีสถาบันการเงนิ ทมี่ บี ทบาทหนาท่ีใหการออม และการใหสินเชอื่ หรอื ไม อยา งไร อธบิ ายมาพอเขาใจ กจิ กรรมท่ี 4 ผูเ รียนเปนสมาชกิ กลมุ สหกรณใ ดหรอื ไม หากเปนสหกรณดงั กลา วมีวัตถปุ ระสงค และการดําเนนิ งานอยางไร อธบิ ายมาพอเขาใจ กจิ กรรมท่ี 5 การเกบ็ ภาษีอากรในประเทศไทย มหี นว ยงานใดรบั ผิดชอบจัดเกบ็ บา งและจัดเกบ็ ภาษีอากร ประเภทใด อธบิ ายมาพอเขา ใจ

83 เร่อื งท่ี 3 คณุ ธรรมของผูผลิตและผูบ ริโภค ความหมายของผผู ลติ ผผู ลติ หมายถงึ ผูผลติ สนิ คาและบรกิ าร โดยการนําปจจัยการผลิตมาแปรรูปเปนสินคา เชน นําองุน มาทาํ เปนไวน นาํ ขาวสาลีมาทําเปน ขนมปง นําถัว่ เหลอื งมาสกดั เปนน้าํ มัน หรอื สรางบรกิ ารในรปู แบบตา ง ๆ เชน บรกิ ารขนสง บรกิ ารความบันเทิงตา ง ๆ เปน ตน ความหมายของผบู รโิ ภค ผูบริโภค หมายถึง ผูใชประโยชนจากสินคาและบริการ ซ่ึงอาจจะเปนการบริโภคโดยตรง เชน การดม่ื การรบั ประทาน การใชสินคาหรอื การบรโิ ภคทางออม เชน การใชน าํ้ มนั ในการขบั รถยนต การใชไฟฟา ในเคร่อื งใชไ ฟฟา ตาง ๆ เปนตน ความสมั พันธของผผู ลติ และผบู รโิ ภคสนิ คาและบรกิ าร ในระบบเศรษฐกิจ บุคคลคนหนึ่งอาจทําหนาท่ีเปนเพียงผูบริโภค เปนเพียงผูผลิตเปนเพียงเจาของ ปจ จยั การผลติ หรอื เปนทั้งผูบริโภคและผูผ ลติ เปนท้งั ผูบรโิ ภคและเปนเจาของปจ จัยการผลติ หรือเปนทั้งสาม ประการก็ได ผบู ริโภคทําหนาที่วินิจฉัยและตดั สนิ ใจวา จะบรโิ ภคสินคาและบริการอะไรที่ตองการ เพื่อแสวงหา ความพึงพอใจใหม ากทสี่ ดุ เมอื่ ตัดสินใจเลือกประเภทของสินคาและบริการท่ีจะบริโภคหรือใชแลว ผูบริโภค ก็ตองมาคดิ วา จะมปี จ จยั ทางดานการเงินทจี่ ะนํามาซอ้ื สินคา และบริการเหลา นั้นหรือไม หนทางหน่งึ ทผี่ บู ริโภค จะไดเงนิ มาใชจา ยกค็ ือ จากกาํ ไรที่ไดใ นฐานที่ทําหนา ทผ่ี ูผ ลติ สินคาหรือจากผลตอบแทนของการเปนเจาของ ปจจัยการผลิตแลวขาย หรือใหเชาปจจัยการผลิตที่ตนมีหรือครอบครองอยู ดังนั้น ผูบริโภคทุกคนจึงตอง ทาํ หนาทเ่ี ปนผผู ลติ หรือเปนเจาของปจจัยการผลิตหรอื เปนท้ังสองอยางไปในตัว ในฐานะที่เปนผูผลิต บุคคลตองมีหนาที่ในการนําเอาปจจัยการผลิตตาง ๆ ที่อาจไดจากการ ครอบครองของตนหรือไดจ ากการหาซอื้ หรือเชาซื้อจากบุคคลอื่นมาผลิตเปนสินคาสําเร็จรูปหรือบริการแลว ขายหรอื มอบใหแกผ ูบ รโิ ภค ดงั นน้ั หนา ที่สาํ คญั ของผูผลิตก็คือ การผลิตสินคาและบริการตามความตองการ ของผูบริโภคดวยตนทุนการผลิตท่ีตํ่าท่ีสุด เพ่ือใหสามารถขายสินคาและบริการเหลานั้นในราคาท่ีตํ่ากวา คแู ขง ขันรายอนื่ ๆ การผลิตสนิ คาและบริการนบ้ี างครงั้ ผูผ ลติ ตองเส่ียงตอ การขาดทนุ ถาตน ทนุ การผลติ สงู กวา รายรับท่ีไดจากการขายสินคาและบริการนั้น ดังน้ัน ผูผลิตจึงตองมีการวางรูปแบบของการดําเนินการท่ีดี เพอ่ื หลกี เล่ียงการขาดทุนและเพอ่ื ใหไดกาํ ไรคุมกบั ความเหนอ่ื ยยากและความลําบากตลอดจนการลงทุนของตน ในฐานะทีเ่ ปน เจาของปจ จัยการผลิต บคุ คลจําตองนําเอาปจจัยการผลิต ซึ่งไดแก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และการประกอบการไปเสนอขายหรือใหบริการแกผูผลิต เพ่ือนําไปผลิตสินคาและบริการตาง ๆ เม่ือผูผลิต ตกลงรบั ซือ้ นําเอาปจจยั เหลา นั้นไปผลิตกจ็ ะใหผลตอบแทนแกเ จาของปจจัยการผลิตในรูปของคาเชา คาจาง ดอกเบย้ี และกาํ ไร ซ่งึ เจา ของปจ จยั การผลติ กจ็ ะนาํ เอาผลตอบแทนซง่ึ อยูในลกั ษณะตาง ๆ กันไปใชจายหาซื้อ สินคา ตาง ๆ เพ่ือการอุปโภคและบริโภค บางคร้ังเจาของปจจัยการผลิตอาจทําหนาที่เปนผูผลิตเองโดยการ นาํ เอาปจ จยั การผลติ ทตี่ นมอี ยไู ปใชผลติ สินคา และบริการตาง ๆ

84 คณุ ธรรมของผผู ลติ ผูผลติ สนิ คา และบรกิ าร ควรมคี ณุ ธรรมพืน้ ฐานในการดาํ เนนิ การ เพื่อสรางความเช่ือมน่ั ใหกับผบู ริโภค และเพือ่ ผลประโยชนข องผผู ลติ ในระยะยาว ดงั นี้ 1. ผผู ลติ ตองไมทําในส่งิ ที่ไมถกู ตอง การทําใหผบู ริโภคไดร บั อนั ตรายจากการใชสินคา หรือบริการของตนเองเปน สิง่ ท่นี าละอายและขาดความรบั ผิดชอบ ผูผลติ ควรละเวนและตอ งไมก ระทํา 2. ผผู ลิตตอ งพัฒนาคณุ ภาพสินคา อยูเสมอ ผผู ลติ ตอ งถอื วา เปนความจาํ เปน ที่จะตองพัฒนา สินคาใหไดม าตรฐาน โดยการนําสินคาของตนไปตรวจสอบคุณภาพกอนที่จะนําไปจําหนายแกผูบริโภค เชน นําสนิ คา ไปตรวจสอบที่สาํ นกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอตุ สาหกรรม (มอก.) เพือ่ เปน หลักประกนั แกผบู รโิ ภค 3. ผผู ลติ ตอ งรกั ษาความซอ่ื สตั ยตอผบู ริโภค การผลิตสินคา ทไ่ี ดม าตรฐานเดียวกันหมด เปน สิง่ ท่ีสาํ คัญ เปนการสรา งความเชอื่ มัน่ และศรทั ธาในสินคาและถอื วาแสดงความซอ่ื สตั ยต อ ผูบรโิ ภค 4. การรักษาสภาพแวดลอม ผผู ลติ ตอ งถอื เปน หนา ทแี่ ละความรับผดิ ชอบตอ การรกั ษา สภาพแวดลอ มมใิ หถูกทําลาย รวมท้งั ตอ งอนรุ กั ษส ิง่ แวดลอ มใหคงอยตู อไป เชน จัดสภาพแวดลอมโรงงานให นา อยู สะอาด และถกู สขุ อนามัย จัดระบบการบําบัดนํ้าเสยี อยา งดี เชน มีการปลูกตน ไมและจัดกิจกรรมสงเสริม การอนรุ ักษส ภาพแวดลอ มใหดขี น้ึ คณุ ธรรมของผูบริโภค คุณธรรมของผูบริโภคเปนหลักการในการเลือกบริโภคสินคาและบริการตาง ๆ ผูบริโภคควรปฏิบัติ โดยคาํ นงึ ถงึ หลกั การ ดังน้ี 1. ความจาํ เปน หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคในสิ่งจําเปน เชน ดา นปจ จัยส่ี ซง่ึ ประกอบดว ย เส้อื ผา ยารักษาโรค อาหาร ที่อยูอาศยั ในปริมาณที่พอเพียงตอการดํารงชีวิตประจําวัน ไมควรบริโภคอุปโภค สินคา และบรกิ ารในปรมิ าณที่มากเกินไป เพราะกอใหเ กดิ ความสนิ้ เปลอื งของสงั คมและเปน ผลเสียตอ สขุ ภาพ 2. ความมีประโยชนและความปลอดภัย หมายถงึ การบรโิ ภคอปุ โภคในสิง่ จําเปน ทีก่ อใหเ กดิ ประโยชน เชน มนุษยค วรรบั ประทานอาหารเพื่อประทังชวี ติ โดยตองคาํ นงึ ถงึ คณุ คา ของสารอาหารดวย ไมควร ซ้ือสินคา และบริการดวยเหตผุ ลท่ีวา ราคาถกู 3. ความประหยดั หมายถึง การบริโภคอุปโภคโดยการใชจ า ยใหเ หมาะสมกบั ฐานะทาง เศรษฐกจิ ของตน ไมฟมุ เฟอย ไมท้งิ ขวาง ไมเลียนแบบการบริโภคของบุคลอื่น ซึ่งมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวา ท่ีอาจนิยมบรโิ ภคอุปโภคสนิ คา และบริการท่ีมีราคาแพงและไมบริโภคตามการโฆษณา หลักการความจําเปน หรอื ความพอเพยี ง ความมปี ระโยชน ความปลอดภัยและความประหยัดเปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นพรอม ๆ กัน ซ่ึงเปน หลักการทีส่ ามารถเกิดขน้ึ ไดเ สมอ ถา บุคคลใชส ตแิ ละปญญาไตรตรองกอนที่จะตัดสินใจบริโภคอุปโภคสินคา และบรกิ าร

85 กจิ กรรมที่ 1 การทผี่ ูผลติ และผบู รโิ ภคสินคา และบริการมีคณุ ธรรม มีประโยชนต อเศรษฐกจิ อยางไร บอกมา 3 ขอ กิจกรรมที่ 2 หากผเู รยี นมคี วามจําเปนจะตองใชส ินคาชนดิ หนงึ่ แตราคาสนิ คาชนดิ น้นั แพงมาก ผเู รยี นคดิ วา จะซือ้ สินคานั้นหรือไม เพราะเหตใุ ด บอกมาใหเขาใจ เรือ่ งที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มในทอ งถนิ่ และชมุ ชน ทรัพยากร ความหมายของทรพั ยากร ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง ส่ิงมีคาท้ังปวง ซ่ึงอาจจะเกิดข้ึนเองหรือมีอยูตามธรรมชาติ และเกดิ จากการท่มี นษุ ยสรา งหรอื ประดษิ ฐข้ึน ประเภทของทรพั ยากร ทรัพยากรแบง ออกเปน ประเภทตาง ๆ ดงั น้ี 1. ทรัพยากรมนษุ ย หมายถึง บคุ คลหรือมนุษยใ นฐานะทเ่ี ปน แรงงานหรอื ผปู ระกอบการ ซง่ึ เปน สวนหนง่ึ ของกระบวนการผลติ และการพฒั นาประเทศในดานตาง ๆ 2. ทรพั ยากรทไี่ มใชม นษุ ย ประกอบดว ย ก. ทรัพยากรท่ีมนุษยสรางขึ้น หมายถึง ทรัพยากรที่มนุษยสรางข้ึน เชน เครื่องจักร คอมพิวเตอร รถยนต รถจักรยาน บาน และเคร่อื งใชไมส อยตาง ๆ ข. ทรัพยากรธรรมชาติ ซงึ่ หมายถึง ทรพั ยากรท่เี กิดข้นึ เองหรอื มอี ยตู ามธรรมชาติ ซึ่งอาจแบง ยอ ยได 3 ประเภท ดังน้ี - ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใี่ ชแลว ไมหมดเปลอื งหรอื สญู หายไป ไดแ ก อากาศ นาํ้ ในวฏั จักรหมนุ เวียน - ทรพั ยากรท่ที ดแทนหรือรกั ษาไวไ ด เชน น้ํา (ทอ่ี ยูเฉพาะท่ีเฉพาะแหง ดิน ทด่ี นิ ปาไม ทุง หญา สตั วป า - ทรพั ยากรทไ่ี มเ พมิ่ ขนึ้ ใชแลวหมดไป เชน แรธ าตุ น้ํามัน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีทดแทนหรือรักษาไวไดและทรัพยากรธรรมชาติที่ไมเพ่ิมขึ้นใชแลวหมดไป ถือเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพราะถึงแมบางอยางจะสรางทดแทนหรือบํารุงรักษาได แตก็ตองใช ระยะเวลายาวนาน เชน ทรัพยากรปา ไม เปนตน

86 ภาวะวกิ ฤติทรพั ยากรธรรมชาติ ปจจุบันประเทศไทยประสบภาวะวิกฤติการณทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อนํามาใชมากเกินไปโดยไมมีการสรางทดแทนก็จะทําใหเกิดการ สูญเสียหรือถูกทําลายได เชน การตดั ถนน เพอื่ ใชในการคมนาคม การสรางเขื่อนเก็บน้ํา จะตองใชเนื้อท่ีและ บริเวณพ้ืนดินจํานวนมหาศาล ทําใหพื้นดินที่เปนปาไมถูกโคนทําลายลง ทําใหปาไมลดลง สัตวปาลดลง เกิดความแหง แลง ฤดกู าลผนั แปร ฝนตกไมตรงตามฤดกู าลหรอื ตกนอ ย มีการทําลายปาเพื่อการเพาะปลกู และ ใชสารเคมีในการเพาะปลูกเกินความจําเปน ทําใหดินท่ีอุดมสมบูรณ เสื่อมสภาพ เมื่อทรัพยากรเส่ือม สภาพแวดลอมกเ็ สอ่ื มสภาพไปดว ย ลกั ษณะอาชพี ของครอบครวั ชมุ ชน ประเทศ ความหมายของอาชีพ อาชีพ หมายถงึ งานหรือกิจกรรมใด ๆ ทีก่ อ ใหเกดิ ผลผลิตทส่ี ามารถประเมินคาเปนเงินหรือ รายไดแ ละกิจกรรมนน้ั ตอ งสจุ ริตเปนท่ียอมรับของสงั คม ความสําคญั ของอาชีพ 1. ความสําคัญตอบุคคลและครอบครัว การท่ีมนุษยจะดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี ความสุขตามอัตภาพนั้น จําเปนตองประกอบอาชีพเพ่ือใหมีรายได เพื่อที่จะนําไปซื้อ เคร่อื งอปุ โภคบริโภค ส่งิ ของท่ีจําเปน ในการดาํ รงชวี ิตของตนเองและคนในครอบครัว 2. ความสาํ คญั ตอ ชุมชน ประเทศ ในระดับชุมชน อาชีพมีความสําคัญตอเศรษฐกิจภายใน ชุมชน ทําใหมีการใชทรัพยากรในทองถิ่น แกปญหาความยากจนของคนในชุมชน เม่อื ประชาชนมรี ายไดยอมกนิ ดอี ยดู ี รางกายแข็งแรง สุขภาพจิตดี สงผลตอการพัฒนา ชุมชน และในระดับประเทศ เมือ่ ชุมชนพัฒนาสังคมสวนรวมก็จะเจรญิ กา วหนาไปดว ย ประเภทของอาชีพ อาชพี แบงไดหลายประเภท ดงั น้ี 1. แบง ตามลกั ษณะอาชีพ - อาชพี อิสระ หมายถงึ อาชพี ทผ่ี ปู ระกอบการดําเนินการดว ยตนเอง อาจเปน ผูผ ลติ สินคาหรอื เปนผบู ริการกไ็ ด - อาชพี รบั จา ง หมายถึง อาชพี ทผ่ี ปู ระกอบการไมไดเ ปน เจา ของ แตไ ดร ับจา งจาก นายจางเปน ชว งระยะเวลา เชน รายชั่วโมง รายวัน รายเดอื น 2. แบงตามลักษณะรายไดแ ละความมนั่ คง - อาชพี หลัก หมายถงึ อาชีพที่ผูป ระกอบการใชเวลาสว นใหญใ นการประกอบการ - อาชพี รองหรอื อาชพี เสริม หมายถึง อาชีพที่ผูประกอบการใชเวลานอกเวลางานหลัก ดาํ เนนิ การ

87 3. แบงตามสาขาประกอบการ - อาชีพดา นอุตสาหกรรม เชน ชา งยนต ชา งไฟฟา ชางวทิ ยุ เปนตน - อาชีพดา นเกษตรกรรม เชน ทํานา ทาํ ไร เลี้ยงสัตว ทําการประมง เปน ตน - อาชีพดา นคหกรรม เชน ศลิ ปหัตถกรรม เชน ตดั เย็บเส้อื ผา ทําอาหาร ขนม เปน ตน - อาชพี ดา นพาณิชยกรรม เชน คา ขาย บัญชี เลขานกุ าร เปน ตน - อาชพี ดานอ่ืน ๆ เชน ดา นกีฬา ดานบันเทงิ ดนตรี นาฏกรรม เปนตน ปจจัยทมี่ ีอิทธพิ ลตอ การเปล่ยี นแปลงทางอาชพี ทาํ ใหเ กิดอาชีพใหม ทําใหเกิดการพัฒนาอาชีพหรือแมกระทั่งเกิดความเสื่อมทางอาชีพ มีหลายปจจัย ดังน้ี 1. ความเจรญิ กา วหนา ทางเทคโนโลยี ความเปลย่ี นแปลงทางดานเทคโนโลยี ปจ จบุ นั วทิ ยาการไดเ จรญิ กาวหนาไปอยางรวดเร็ว และเปน สาเหตทุ ําใหเ กิดเทคโนโลยใี หม ๆ ตลอดเวลา ซ่ึงมีผลตอการเกิดการพัฒนาและการเส่ือมของอาชีพ เปนอยางยง่ิ เชน การนําเคร่อื งจักรมาใชแทนแรงงานคน การนาํ เทคโนโลยีทางการเกษตรมาใชในการเกษตร การนาํ คอมพวิ เตอรม าใชในสาํ นักงาน เปนตน 2. ความเปล่ียนแปลงทางทรัพยากร ทรพั ยากรนับวา เปน ปจ จยั ในการผลติ เบื้องตนท่สี ําคัญ ซ่ึงกอ ใหเ กิดอาชีพ ทรัพยากรน้ัน มมี ากมายและแตกตา งกนั ไปในทองถิน่ เชน ปา ไม นํ้า แรธ าตุ นาํ้ มนั พืช ผัก และผลไม สัตวบก สัตวน้ํา ฯลฯ ทรพั ยากรมีการเปลย่ี นแปลงอยูต ลอดเวลา มีทั้งท่ีจํานวนลดลงอันเน่ืองมาจากมนุษยนําไปใชประโยชน มีทั้ง ทรัพยากรท่เี กดิ ขึ้นมาใหม เชน นาํ้ มัน และกา ซธรรมชาติ เปน ตน 3. ความเปลี่ยนแปลงทางดา นการเมือง การเมอื งเปนปจ จัยสําคัญในการลงทุน การทจ่ี ะมนี กั ลงทุนมาลงทุนมากหรือนอยข้ึนอยู กับสภาพทางการเมือง ถารัฐบาลมีเสถียรภาพมั่นคง ไมเปล่ียนแปลงรัฐบาลบอย ๆ ผูท่ีจะมาลงทุนใน อุตสาหกรรมตาง ๆ กจ็ ะเกดิ ความมน่ั ใจท่จี ะมาลงทุน นอกจากน้ันนโยบายของรฐั บาลจะเปนตัวกําหนดอาชีพ ตา ง ๆ ไดเปน อยางดี 4. ความเปลยี่ นแปลงทางสงั คม โดยเฉพาะการทมี่ ปี ระชากรเพม่ิ มากข้ึน ตองการส่งิ ของอปุ โภค บริโภคและสิ่งดํารงชีวติ มี มากขนึ้ ทําใหเ กิดการลงทุนเพอื่ ผลิตสินคาและบริการมากขนึ้ ดวย

88 การสํารวจความพรอ มในการเลอื กประกอบอาชพี การทจ่ี ะเลือกประกอบอาชีพใด ควรไดสาํ รวจความพรอ มทกุ ๆ ดา น ดังนี้ 1. ความพรอมของตนเอง แบง ไดด ังน้ี - สง่ิ ตาง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งกบั การประกอบอาชีพทต่ี นเองมอี ยูในขณะน้นั เชน เงินทุน ที่ดิน แรงงาน วัสดเุ คร่อื งมือ เคร่อื งใช และอน่ื ๆ ที่จําเปนตอ การประกอบอาชีพทีก่ ําลังตดั สินใจเลือก - ความรู ทักษะและความถนัดของตนเอง การท่ีจะประกอบอาชีพใหไดผลดีจะตอง พจิ ารณาถงึ ความรู ทกั ษะและความถนดั ของตนเองดว ยเสมอ เพราะสิ่งเหลา นี้จะชวยใหการกระทําในสิ่งที่ตน ถนดั นั้น เปน ไปอยา งสะดวก รวดเรว็ คลอ งแคลว และมองเหน็ ชองทางทจ่ี ะพัฒนาอาชีพใหร ุดหนา ไดดีกวาคนที่ ไมม คี วามรู ทกั ษะและถนัดในอาชพี น้นั ๆ แตตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชพี นน้ั ๆ - ความรกั และความจริงใจ เปนองคประกอบที่เกิดจากความรูสึกภายในของแตละคน ซึง่ ความรูสกึ นจี้ ะเปนแรงผลกั ดนั ใหเกดิ การทาํ งานดวยความมานะ อดทน ขยนั กลาสู กลาเส่ียง ซึ่งถือวาเปน องคประกอบในการตัดสินใจที่สําคัญอยางหน่ึง หากการพิจารณาตัดสินใจมิไดคํานึงถึงสิ่งน้ีแลว การท่ีจะ ประกอบอาชีพไปไดอยา งเดด็ เดยี่ ว มนั่ คง และลดนอ ยลงไป 2. ความพรอมของสังคม สิง่ แวดลอม คอื ความพรอมของส่ิงตาง ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตัวเราหรือ จะตอ งเขามาเกีย่ วขอ งที่จะสงผลดี ผลเสยี ตอ การประกอบอาชีพของตน เชน ทําเล ตลาด สวนแบงของตลาด ทรพั ยากรที่เอ้ือในทองถนิ่ แหลง ความรู ตลอดจนผลทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตอชุมชน หากเลอื กอาชีพนัน้ ๆ 3. ความพรอมทางวิชาการของอาชีพ คือ ความพรอมของขอมูลความรูและเทคนิคตาง ๆ สาํ หรบั การประกอบอาชพี นน้ั ๆ เชน การบํารงุ รกั ษาตน ออนพืช การฉีดยาฆาแมลงกอนเก็บเก่ียว การเคลือบ สารเคมี เปน ตน ปจ จยั สําคัญในการประกอบอาชพี 1. ทนุ เปน ปจจยั ทส่ี ําคัญในการใหการสนบั สนนุ ในการจัดหาทรพั ยากรและเอื้ออํานวยในกิจการให ดาํ เนนิ ไปดวยความเรยี บรอย 2. คน เปน ทรัพยากรบคุ คลท่ถี ือไดว า เปนปจ จยั ทม่ี คี วามสําคัญอยา งยิง่ ที่จะกอผลสําเรจ็ กบั กจิ การได เปน อยางมาก 3. ท่ีดิน คือ แหลงหรือท่ีทํามาหากินของผูประกอบอาชีพอิสระจะเปนท่ีต้ังสํานักงานและบริเวณ ประกอบอาชพี 4. เคร่ืองจกั ร เปนอุปกรณทจ่ี ัดหามาเพ่ือใชปฏบิ ตั ิงานใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ และคุม คา 5. วัสดุ เปน ปจ จยั สําคัญเพราะเปน วัตถุดิบที่จะนาํ มาใชผ ลิตหรือใหบรกิ าร วัสดุที่ใชตองมีคุณภาพดี และมปี รมิ าณพอ 6. การคมนาคม คือ เสนทางติดตอระหวางผดู ําเนนิ กจิ การกบั ผูม าใชบรกิ าร สามารถติดตอ ไดสะดวก และปลอดภัย

89 7. การตลาด เปนแหลงชวยกําหนดทิศทางความตองการของสินคา แลกเปลี่ยนสินคา การแขงขัน สนิ คาดา นคณุ ภาพและราคา 8. การจดั การ คือ การวางแผนการดําเนินการประกอบอาชีพอาชีพ เพ่ือใหเกิดผลดีอยางเหมาะสม คุมคา คุมเวลา คุมทุนและหวงั ไดก าํ ไรสงู สุด เริ่มตน ต้งั แตก ารเลือกสิ่งท่ีจะผลิต จะบริการวิธีการ และการใชวสั ดุอุปกรณ 9. การประชาสัมพันธ เปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางย่ิงที่ผูประกอบอาชีพอิสระจะตองกระทํา เพ่ือเปนการบอกกลา วช้แี จงใหผูอนื่ ทราบวา เราดําเนินกจิ การอะไร อยางไร เมอ่ื ไร ทไ่ี หน หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอสรุปสาระสาํ คญั ๆ ไดดงั ตอไปนี้ 1. การพง่ึ ตนเอง หลกั เศรษฐกิจพอเพียงมุงเนน การผลิตพชื ผลใหเพยี งพอกับความตองการ บริโภคในครัวเรือนกอนท่เี หลือจากบริโภค จึงดําริเพ่ือการคาเปนอันดับรองและสามารถพึ่งตนเองได มีชีวิต อยางไมฟุงเฟอ ลดคาใชจาย โดยการสรางสิ่งอุปโภคบริโภคในท่ีดินของตนเอง เชน ขาว นํ้า ปลา พืชผัก เปน ตน 2. การรวมกลุมของชาวบาน หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงจะใหความสําคัญกับการ รวมกลุมของชาวบาน มุงเนนใหชาวบานรวมกลุมกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตาง ๆ อาทิเชน การทํา เกษตรแบบผสมผสาน รวมกลุมกันทําหัตถกรรม การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร การใชภูมิปญญาจาก ทองถิ่น การพัฒนาเทคโนโลยีพื้นบาน และเทคโนโลยีสมัยใหมที่เหมาะสม สอดคลองกับความตองการ และสภาพแวดลอ มของทองถน่ิ ตนเอง การรวมกลุมของชาวบานจะเปนการพัฒนาสมาชิกในชุมชน ใหมีการสรางเครือขาย ชุมชนท่ีเขมแข็ง สมาชิกในกลุมจะคอยใหคําแนะนําในการแกปญหาตาง ๆ และหาวิธีการใหสมาชิกภายใน กลมุ มีรายไดจ ากการประกอบอาชีพเพ่มิ ขึน้ เม่อื กลุมชาวบา นไดรบั การพัฒนาที่ดีแลวกจ็ ะชวยใหสงั คมเขมแข็งขึ้น เศรษฐกิจของประเทศก็จะเจริญเติบโตไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความมั่นคง ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว และมกี ารกระจายรายไดทีด่ ีข้นึ อีกดวย 3. ความเอ้ืออาทรและความสามัคคี เศรษฐกิจพอเพียงต้ังอยูบนพ้ืนฐานของการท่ีสมาชิก ของชมุ ชนมีความเอ้ือเฟอ เออื้ อาทร ชวยเหลือและสามัคคี รวมแรงรวมใจ เพื่อประกอบกิจกรรมหรืออาชีพ ตาง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จ ยอ มเปน ผลประโยชนต อ สวนรวมเปน สาํ คัญ สมาชิกของชุมชนสามารถอยูรวมกันได อยา งมคี วามสขุ การปฏิบตั ิตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื ทจ่ี ะสามารถดํารงชวี ติ ไดอยางพออยูพ อกิน เราควรที่จะปฏิบตั ติ นตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี งดังนี้ 1. จะตองยดึ หลกั พออยู พอกนิ พอใช 2. มคี วามประหยดั โดยพยายามตัดทอนรายจายและลดความฟุมเฟอยในการดํารงชวี ิต

90 3. ประกอบอาชพี ดว ยความถูกตองและสจุ รติ ไมประกอบอาชพี ท่ผี ดิ ศีลธรรมและผิด กฎหมาย 4. ไมค วรแกงแยงประโยชนแ ละแขง ขันในการประกอบอาชีพอยา งรนุ แรง 5. รูจักแสวงหาความรเู พ่ิมเติมและพยามยามพฒั นาตนเองใหม คี วามรูความสามารถมากขึ้น แลวนาํ ความรู ความเขาใจท่ีไดร ับมาน้ันมาปรบั ใชใ นการดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั 6. ใชความรู ความสามารถมาพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อเปนการเพิ่มพูนรายไดใหกับ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน 7. ชวยเหลอื เกือ้ กลู ซงึ่ กันและกัน มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ และมีความสามัคคีในครอบครัว และชุมชน แนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง เปนทางเลือกใหมของประชาชนชาวไทยเพ่ือที่จะสามารถ ดาํ รงชวี ติ แบบพออยพู อกนิ และสามารถพง่ึ พาตนเองได เศรษฐกิจพอเพียง มีความสําคญั ตอ การพฒั นาประเทศ อันจะนาํ ไปสสู ังคมท่มี คี ุณภาพท้ังทางดา นเศรษฐกิจและสงั คม ดงั นนั้ ประชาชนชาวไทยทุกคนควรนาํ ไปปฏบิ ัติ อยางจริงจงั กองทนุ หมูบ า น กองทุนหมูบานไมใชบาน กองทุนหมูบานเปนอะไรท่ีใหญโตและมีคุณคายิ่งกวาเงินมากนัก กองทุน หมบู านมคี วามหมายและมีความสําคัญยิ่ง กองทุนน้ีไมใชมีความหมายเปนเพียงแตเงินทุนของคนในหมูบาน เทานั้น แตกองทุนนี้เปนกองทุนของการดําเนินชีวิตของชุมชน ซ่ึงประกอบดวยทุนท่ีเปนตัวของแตละคน ทุนทางสงั คมทถี่ กั ทอคนแตล ะคนมาเปนกลุมคนหรือสงั คมทุนทางวัฒนธรรม คอื วิถีชีวิตรวมกันของกลุมคนท่ี ประสานสอดคลองกับสิ่งแวดลอ ม ทุนทางศลี ธรรม หมายถึง ความถูกตองแหงการอยูรวมกัน เชน ความเอ้ือ อาทรตอ กัน ความเชื่อถอื และไววางใจกันในความสุจริต เสียสละ ทุนทางทรัพยากร เชน ดิน นํ้า ปา อากาศ ที่มีการอนรุ ักษ มีการใชอ ยา งเปนธรรมและย่ังยืน ทุนทางปญญา ไดแก การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติและ นําเอาความรทู ่มี ีอยูในชุมชนและความรูจากภายนอกชุมชนมาสังเคราะหเปนปญญา ทุนท่ีเปนเงินที่ชวยกัน ออมไวเพื่อใหกระบวนการออมและการจัดการเปนเครื่องกระตุนและสิ่งเสริมทุนท่ีไมใชเงิน (ประเวศ วะสี อา งใน เสรี พงศพ ิศ, 2544) กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเ รยี นสํารวจทุนในชมุ ชนของผเู รยี นวา มอี ะไรบา งและบอกดว ยวา จะนําทนุ เหลานน้ั ไปใชใหเ กิดประโยชน อยา งไร กิจกรรมท่ี 2 ใหผเู รียนรวมกลมุ อภิปรายถงึ ความหมายและวิธีการดําเนินชวี ิตตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียงตามทผ่ี เู รยี น เขา ใจ แลว สรุปสง มา 1 – 2 หนา กระดาษ กจิ กรรมท่ี 3 ใหผ เู รียนบนั ทกึ รายรบั – รายจายของผเู รยี นเอง โดยใชร ะยะเวลา 30 วนั และใหค ดิ แบบบันทกึ (บัญช)ี ข้ึนเอง

91 บทที่ 4 การเมืองการปกครอง สาระสําคญั การศึกษาและทําความเขาใจเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยเปนประมุขและรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย จะทําใหผูเรียนสามารถปฏิบัติตนตาม หนา ทข่ี องพลเมอื งดี ตามกฎหมาย ประเพณี วัฒนธรรมไทยไดอ ยา งถกู ตอง สง ผลใหผ เู รยี นดาํ รงชีวิตอยูร ว มกนั ในชุมชน สงั คมไทย และสงั คมโลกไดอยางเปน สุข ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวัง อธิบายขอมูลเก่ียวกับการเมือง การปกครองท่ีเกี่ยวของกับตนเอง ชุมชน ทองถิ่นและประเทศได ปฏิบัติตนตามบทบาทหนาที่และรักษากฎระเบียบภายใตรัฐธรรมนูญไดเห็นคุณคาของตนเอง เคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผอู ่นื ไดอยา งถูกตอง เหมาะสม ขอบขายเนอื้ หา เรือ่ งท่ี 1 ความหมายความสําคญั ของการเมืองการปกครอง เรือ่ งท่ี 2 โครงสรา งการบรหิ ารราชการแผน ดิน เรอ่ื งท่ี 3 ความสมั พนั ธระหวางอํานาจนติ ิบญั ญัติ อาํ นาจบริหาร อาํ นาจตุลาการ เรอื่ งที่ 4 การมสี วนรวมทางการเมอื ง การปกครองในระดบั ทองถน่ิ และระดบั ประเทศ

92 เรอื่ งที่ 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเมอื งการปกครอง ความเปนมาของรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายสูงสุดหรือเปนกฎหมายหลักของประเทศท่ีออกโดยฝายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาอันประกอบดวยตัวแทนของประชาชน ดังนั้น รัฐธรรมนูญ จึงเปนกฎหมายที่ประชาชนสวนใหญให ความเหน็ ชอบ ความสําคญั รัฐธรรมนูญ เปนกฎหมายหลักท่ีสําคัญท่ีสุด เปนเสมือนกฎหมายหรือกติกาท่ีประชาชนในสังคม ยอมรับใหเปนหลักในการปกครองและการบริหารประเทศ ซ่ึงการออกกฎหมายใด ๆ ยอมตองดําเนินการ ภายในกรอบของบทบญั ญัติในรัฐธรรมนูญ กฎหมายใดท่ีขดั แยง ตอ รัฐธรรมนูญจะไมส ามารถใชบังคับได สาเหตุทม่ี ีรฐั ธรรมนูญในประเทศไทย สาเหตทุ ส่ี าํ คญั มาจากการท่ีประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเริ่มมีแนวคิดมาตั้งแตรัชกาลท่ี 6 โดยกลุมบุคคล ที่เรียกตนเองวา “คณะราษฎร” ประกอบดวย ขาราชการ ทหาร พลเรือน ไดเขายึดอํานาจการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยหู วั จึงไดทรงลงพระปรมาภไิ ธยในรา งรฐั ธรรมนญู การปกครองแผนดินฉบับ ชวั่ คราวที่คณะราษฎรไ ดเ ตรยี มไว นบั วาเปนรัฐธรรมนญู ฉบบั แรกของไทย เม่อื วนั ท่ี 10 ธันวาคม 2475 ถือไดว า ประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยนับแตน น้ั มา จนถงึ ปจ จบุ ันไดม กี ารเปลย่ี นแปลง แกไ ข และประกาศใชร ฐั ธรรมนญู การปกครองหลายฉบับ เพื่อใหเหมาะสม สอดคลองกับสภาวการณบานเมืองท่ีผันแปรเปล่ียนในแตละยุคสมัย โดยมีสาระสําคัญ เหมือนกัน คือ ยึดม่ันในหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จะมี เนือ้ หาแตกตางกนั ก็เพอื่ ใหเ หมาะสมกบั สภาวการณข องบานเมอื งในขณะนัน้ ประเทศไทยมีรัฐธรรมนญู มาแลว จํานวน 18 ฉบับ และปจ จุบนั ใชร ัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 หลกั การสาํ คัญของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2550 รัฐธรรมนญู ฉบบั ปจ จุบันมหี ลกั การและเจตนารมณทจ่ี ะธาํ รงรกั ษาไวซ ่ึงเอกราชและความม่ันคง ของชาติ เทดิ ทนู พระมหากษตั ริย ซึ่งหลักการสําคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ไดร ะบไุ วในหมวด 1 บททว่ั ไป สรุปไดดังน้ี ประเทศไทย เปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได มีการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ อาํ นาจอธปิ ไตยเปน ของปวงชนชาวไทย ศักด์ิศรีความเปน มนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาพของบุคคลตองไดรับความคมุ ครองประชาชนชาวไทยทุกคน ไมแยก เพศ ศาสนา และยอมไดรบั ความคมุ ครองเทา เทยี มกนั

93 โครงสรางของรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 แบง โครงสรา งออกเปน 105 หมวด และมี บทเฉพาะกาล สรปุ สาระสาํ คญั แตล ะหมวดดังนี้ หมวด 1 บทท่ัวไป ประเทศไทย เปน ราชอาณาจักรอันหนง่ึ อนั เดียวจะแบง แยกมิได มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ พระมหากษตั ริยท รงใชอ าํ นาจทางรฐั สภา คณะรัฐมนตรีและศาล หมวด 2 พระมหากษตั ริย ทรงอยูในฐานะอันเปนที่เคารพ ผูใดจะละเมิดมิได ทรงเลือกและแตงต้ังประธานองคมนตรีและ องคมนตรีไมเ กนิ 18 คน หมวด 3 สทิ ธิและเสรีภาพของชนชาวไทย การใชอาํ นาจโดยองคก รของรฐั ตองคํานึงถงึ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ท้ังดานการประกอบอาชีพ การสอ่ื สาร การแสดงความคดิ เหน็ ความเปนธรรมดานการศึกษา การสาธารณสุข และสวสั ดกิ ารของรัฐ เสรภี าพในการชุมชนทไี่ มล ะเมดิ สทิ ธิผอู ่ืนและกฎหมาย หมวด 4 หนาทข่ี องชนชาวไทย บคุ คลมหี นา ท่ีพทิ ักษร กั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีหนาที่ปองกันรักษาผลประโยชนของชาติ ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยเฉพาะหนา ทไี่ ปใชสทิ ธเิ ลือกตง้ั หมวด 5 แนวนโยบายพน้ื ฐานแหงรฐั เนน ใหป ระชาชนมีสวนรว ม การกระจายอาํ นาจ การดําเนนิ งาน มุงเนนการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม มปี ระสิทธภิ าพ โปรง ใสใหค วามคมุ ครองและพัฒนาเด็ก เยาวชน สง เสริมความรรู กั สามัคคี หมวด 6 รัฐสภา รัฐสภามหี นาทบ่ี ญั ญตั กิ ฎหมายและควบคมุ การปฏิบตั งิ านของฝายบรหิ าร ประกอบดวย 2 สภา คือ สภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) และวุฒสิ ภา (ส.ว.) หมวด 7 การมีสว นรวมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน ประชาชนมีผูมีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิเขาช่ือรองขอตอวุฒิสภาใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงได เพราะมีสิทธอิ อกเสยี งประชามติ หมวด 8 การเงิน การคลงั และงบประมาณ เพอ่ื กาํ หนดหลกั เกณฑเ ก่ียวกับการจัดหารายได การกําหนดรายจาย การกอหน้ีหรือการดําเนินการ ท่ีผูกพนั ทรพั ยส ินของรัฐ หลักเกณฑการกําหนดวงเงินสํารองจาย เพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ซึ่งเปนกรอบ ในการกํากับการใชจายเงินตามแนวทางการรักษาวินัยการเงิน การคลังและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ อยางย่ังยนื และเปน แนวทางในการจดั ทํางบประมาณรายจา ยของแผนดนิ

94 หมวด 9 คณะรัฐมนตรี รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหม ีนายกรฐั มนตรี 1 คน และมีรฐั มนตรอี นื่ อีกไมเกนิ 35 คน โดยไดรับการแตงตง้ั จากพระมหากษตั ริย หมวด 10 ศาล กําหนดใหศ าลหรืออาํ นาจตลุ าการ แบง เปน ท่วั ไป ศาลรฐั ธรรมนญู ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร หมวด 11 องคก รตามรฐั ธรรมนญู กําหนดใหม อี งคกรท่ีจะดําเนนิ การตรวจสอบ ตดิ ตามการทาํ งานของบคุ คล คณะบคุ คล และหนวยงาน ท้งั ภาครัฐและเอกชน ดงั นี้ 1. องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย คณะกรรมการการเลือกตั้ง ผูตรวจการ- แผนดนิ คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ และคณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน 2. องคก รอนั ตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน- แหง ชาติ และสภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ หมวด 12 การตรวจสอบการใชอ ํานาจรัฐ กาํ หนดใหมกี ารตรวจสอบขาราชการประจาํ และขาราชการการเมือง หมวด 13 จรยิ ธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมอื งและเจา หนาท่ีของรฐั การพิจารณา สรรหา แตงต้ังบคุ คลเขาสตู าํ แหนง ตอ งเปนไปตามระบบคุณธรรมและคาํ นงึ ถงึ พฤตกิ รรมทางจรยิ ธรรมดวย หมวด 14 การปกครองสว นทอ งถิ่น ใหค วามเปน อสิ ระแกองคก รปกครองสวนทอ งถิน่ มสี ภาทอ งถน่ิ ในการบรหิ ารงานเนนการกระจาย อํานาจ ใหการสนับสนนุ กําหนดนโยบายการบรหิ าร หมวด 15 การแกไ ขเพมิ่ เตมิ รฐั ธรรมนญู มีการแกไขเพมิ่ เตมิ ได แตหา มแกไขทีม่ ีผลตอ การเปลีย่ นแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุขหรอื เปลี่ยนแปลงรปู ของรฐั บทเฉพาะกาล ใหอ งคมนตรดี าํ รงตําแหนง อยูในวนั ประกาศใชรัฐธรรมนญู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook