ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน เอกราช บญุ ชื่น วทิ ยาลยั เทคนิคกาญจนาภเิ ษก มหานคร
ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน การปฏิบตั ิงาน สิ่งสาคญั ประการหน่ึงที่ตอ้ งคานึงถึงคือ ความปลอดภยั เพราะหากเกิดอนั ตรายจากการปฏิบตั ิงาน ผลเสียท่ีเกิดข้ึนอาจจะนาความเดือนร้อนท้งั ต่อตนเองหรือต่อผอู้ ่ืนบางคร้ังหากเกิดความรุนแรง ความเสียหายที่เกิดข้ึนอาจถึงทุพพลภาพ หรือ ถึงแก่ชีวติ ฉะน้นัผปู้ ฏิบตั ิงานควรใหค้ วามสาคญั และคานึงถึง ดงั คาท่ีวา่ “ปลอดภยั ไวก้ ่อน”1.สาเหตุทที่ าให้เกดิ อนั ตรายจากการทางาน หลกั ใหญ่ของสาเหตุทที่ าให้เกดิ อนั ตรายจากการทางาน สามารถแบ่งออกได้ 4 ประการ ดงั น้ี -เกดิ จากผู้ปฏบิ ัตเิ อง เช่น การแต่งกายของผปู้ ฏิบตั ิงานไม่รัดกมุ ชายเส้ือรุ่มร่ามสวมใส่เครื่องประดบั ร่างกายของผปู้ ฏิบตั ิงานไม่ปกติ มีความเครียด อ่อนเพลีย เจบ็ ป่ วย -เกดิ จากเคร่ืองมือ วสั ดุอปุ กรณ์ เช่น เครื่องมือ หรือ เครื่องจกั รที่ใชม้ ีสภาพไมพ่ ร้อมจะใชง้ าน ชารุด หรืออุปกรณ์บางอยา่ งหมดอายุ -เกดิ จากการจดั ระบบงาน เช่น ระบบงานอาจวางแผนไวไ้ ม่ดี -เกดิ จากสภาพแวดล้อม เช่น พ้ืนท่ีบริเวณปฏิบตั ิงานไม่เหมาะสม มีแสงสวา่ งไม่เพยี งพอ
2.แนวทางในการปฏบิ ัติงานเพ่ือให้เกดิ ความปลอดภยั -ในการปฏิบตั ิงานตอ้ งมีสติระลึกไวเ้ สมอวา่ คิดก่อนทาและปลอดภยั ไวก้ ่อน -โตะ๊ บริเวณท่ีปฏิบตั ิงานจะตอ้ งสะอาด -เกบ็ เคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ ใหเ้ ป็นสดั ส่วนเพือ่ สะดวกในการหยบิ ใชง้ าน -หากปฏิบตั ิงานไฟฟ้า ควรตดั กระแสไฟฟ้าใหเ้ รียบร้อยเพือ่ ป้องกนั อนั ตราย -อุปกรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าจะตอ้ งมีการต่อสายดินเพ่ือป้องกนั ไฟรั่ว -อยา่ นาเคร่ืองมือที่มีคมใส่กระเป๋ าเส้ือหรือกางเกงขณะปฏิบตั ิงาน -อยา่ ใชไ้ ขควงแทนสิ่วหรือสกดั -อยา่ ใชค้ อ้ นหรือตะไบที่มีดา้ มหลวมหรือแตก และ อยา่ ใชต้ ะไบแทนคอ้ น -ก่อนหลงั ปฏิบตั ิงานควรตรวจสภาพเคร่ืองมืออุปกรณ์และทาความสะอาดทุกคร้ัง3.การป้องกนั อบุ ตั เิ หตุ อุบตั ิเหตุเกิดข้ึนไดท้ ุกเวลา วธิ ีการท่ีดีที่สุด คือ การป้องกนั ก่อนที่จะเกิดข้ึนโดยการลดหรือป้องกนั อุบตั ิเหตุ สามารถกระทาไดด้ งั น้ี -ตรวจสอบเครื่องมือเคร่ืองใชแ้ ละบารุงรักษาใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน -มีความพร้อมในทุก ๆ ดา้ น ของร่างกายขณะปฏิบตั ิงาน -จดั บริเวณปฏิบตั ิงานใหเ้ รียบร้อย ไม่มีสิ่งกีดขวางหรือบดบงั แสงสวา่ ง -ขณะปฏิบตั ิงานในท่ีสูง ตอ้ งมีเคร่ืองป้องกนั เช่น เขม็ ขดั นิรภยั -หากปฏิบตั ิงานใกล้ วตั ถุไวไฟ ควรมีอุปกรณ์ เช่น ถงั ดบั เพลิงวางไวใ้ กล้ ๆ หลกั ความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน การปฏิบตั ิงานเราควรยดึ หลกั 5 ส. อนั ไดแ้ ก่สะสาง สะดวก สะอาด
สุขลกั ษณะ และสร้างนิสยั สะสาง Seiri (เซริ) (ทาใหเ้ ป็นระเบียบ) คือ การแยกระหวา่ งของที่จาเป็นตอ้ งใช้กบั ของท่ีไม่จาเป็น ตอ้ งใช้ ขจดั ของท่ีไม่จาเป็นตอ้ งใชท้ ิ้งไป สะดวก Seiton (เซตง) = สะดวก (วางของในท่ีท่ีควรอย)ู่ คือ การจดั วางของที่จาเป็นตอ้ งใชใ้ หเ้ ป็นระเบียบสามารถหยบิ ใชง้ านไดท้ นั ที สะอาด Seiso (เซโซ) = สะอาด (ทาความสะอาด) คือการปัดกวาดเชด็ ถูสถานท่ีสิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเคร่ืองจกั ร ใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ สุขลกั ษณะ Seiketsu (เซเคทซึ) = สภาพหมดจด สะอาดตา ถูกสุขลกั ษณะ(รักษาความสะอาด) คือ การรักษาและปฏิบตั ิ 3ส ไดแ้ ก่ สะสาง สะดวก และสะอาดใหด้ ีตลอดไป สร้างนิสัย Shitsuke (ซึทซึเคะ) = การอบรม สร้างนิสัยในการปฏิบตั ิงานตามระเบียบวนิ ยั ขอ้ บงั คบั อยา่ งเคร่งครัด (ฝึกใหเ้ ป็นนิสยั ) คือ การรักษาและปฏิบตั ิ 4ส หรือสิ่งที่กาหนดไวแ้ ลว้ อยา่ งถูกตอ้ งจนติดเป็นนิสัย
4.การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในงานช่าง การปฐมพยาบาล (First Aid) หมายถึง การใหค้ วามช่วยเหลือต่อผบู้ าดเจบ็ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใชอ้ ุปกรณ์เท่าท่ีหาได้ ก่อนท่ีจะนาส่งโรงพยาบาล ควรมีความรู้พอสังเขปดงั น้ี การช่วยเหลือผู้ได้รับเศษวสั ดุหรือสารแปลกปลอมเข้าตา กรณีสารพษิ เขา้ ตา ซ่ึงจะทาได้เกิดระคายเคืองของเยอื่ ตา อาจมีผลทาใหต้ าบอดได้ -ลา้ งตาดว้ ยน้าสะอาดมาก ๆ นาน ๆ -ใหผ้ บู้ าดเจบ็ นอนตะแคง เอาตาขา้ งท่ีถูกสารพิษลงขา้ งล่าง -เปิ ดเปลือกตาแลว้ เทน้าจากหวั ตามาดา้ นหางตา (อยา่ ใหน้ ้ากระเดน็ เขา้ อีกขา้ งหน่ึง) -หา้ มขย้ตี า ปิ ดตาดว้ ยผา้ สะอาดแลว้ รีบนาส่งโรงพยาบาล
การช่วยเหลือผู้บาดเจบ็ ถูกไฟไหม้หรือนา้ ร้อนลวก แผลไฟไหมน้ ้าร้อนลวกคือแผลท่ีถูกความร้อนจากไฟหรือน้าร้อน เกิดข้ึนใน 3 ลกั ษณะ -ทาลายเฉพาะหนงั กาพร้าผวิ หนงั จะแดงไม่พองและหายเองไดภ้ ายใน 2 – 3 วนั -ทาลายหนงั กาพร้าหนงั แทเ้ กิดบวมแดงปวดแสบปวดร้อน มีตุ่มพองมี น้าเหลือง -ทาลายเน้ือถึงกระดูก เกิดการทาลายเน้ือแผลอยา่ งรุนแรง ตอ้ งปฐมพยาบาล ดงั น้ี 1ใชน้ ้าแขง็ หรือความเยน็ ประคบ ปิ ดแผลดว้ ยผา้ สะอาด 2.หา้ มเจาะตุ่มพองและหา้ มใส่ยาลงในแผล 3.ถา้ เป็นแผลบริเวณแขนหรือขาใหย้ กอวยั วะน้นั ใหส้ ูงเพื่อลดอาการบวม 4.ถา้ แผลพุพองแดงใหท้ าความสะอาดบาดแผลเหมือนวธิ ีการทาแผล
การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บทปี่ ระสบอนั ตรายจากไฟฟ้า ไดแ้ ก่ การช่วยเหลือผบู้ าดเจบ็ และการช่วยเหลือผบู้ าดเจบ็ ท่ีหมดสติ ซ่ึงการปฐมพยาบาลสามารถทาไดด้ งั น้ี 1.หากพบผถู้ ูกกระแสไฟฟ้าดูดใหร้ ีบตดั กระแสไฟฟ้าทนั ที เช่น คทั เอาท์ หรือเตา้ เสียบ 2.ใชไ้ มแ้ หง้ หรือฉนวนไฟฟ้าเขี่ยอุปกรณ์ไฟฟ้าใหพ้ น้ จากผทู้ ี่ถูกกระแสไฟฟ้าดูด หรือใชผ้ า้ แหง้ เชือก ดึงผปู้ ่ วยออกจากจุดท่ีเกิดเหตุโดยเร็ว เพอ่ื ทาการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 3.ปฐมพยาบาลข้นั ตน้ โดยการวางผปู้ ่ วยใหน้ อนหงาย แลว้ ชอ้ นคอผปู้ ่ วยใหแ้ หงนข้ึน 4.ตรวจดูวา่ มีสิ่งอุดตนั ในช่องปากหรือไม่ หากพบใหน้ าออกและช่วยเป่ าปาก โดยใช้นิ้วงา้ งปากและบีบจมูกของผปู้ ่ วย
ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหมดสติ วธิ ีผายปอดแบบเป่ าปาก 1.ประกบปากกบั ผปู้ ่ วยใหส้ นิท เป่ าลมเขา้ แรง ๆ ประมาณ 12 - 15 คร้ัง/นาทีเดก็ 20 คร้ัง สังเกตการขยายของหนา้ อก หากเป่ าปากไม่ไดใ้ หเ้ ป่ าจมูกแทน 2.หากหวั ใจหยดุ เตน้ ตอ้ งนวดหวั ใจโดยวางผปู้ ่ วยนอนราบแลว้ เอามือกดเหนือลิ้นป่ี ใหถ้ ูกตาแหน่ง กดลงไปเป็นจงั หวะเท่ากบั การเตน้ ของหวั ใจ (ผใู้ หญ่ประมาณนาทีละ 60 คร้ัง เดก็ประมาณ 80 คร้ัง) 3.ถา้ หยดุ หายใจ และหวั ใจหยดุ เตน้ ใหเ้ ป่ าปาก 2 คร้ัง นวดหวั ใจ 15 คร้ังสลบั กนั 4.ถา้ มีผชู้ ่วยเหลือ 2 คน ตอ้ งสลบั กนั เป่ าปาก 1 คร้ัง นวดหวั ใจ 5 คร้ัง
วธิ ผี ายปอดแบบกดหลงั ยกแขน 1.ขยายเส้ือผา้ เขม็ ขดั ใหห้ ลวมลว้ งเอาสิ่งแปลกปลอมในปากออก 2.จบั ผปู้ ่ วยใหน้ อนควา่ งอขอ้ ศอกท้งั สองขา้ งและวางฝ่ ามือของผปู้ ่ วยใหท้ บั กนั จบัศีรษะวางลงบนฝ่ ามือของผปู้ ่ วย โดยเอียงศรี ษะของผปู้ ่ วยไปขา้ งใดขา้ งหน่ึง 3.ผชู้ ่วยเหลือนงั่ คุกเข่าขา้ งหน่ึงเหนือศีรษะผปู้ ่ วย หนั หนา้ ไปทางปลายเทา้ ใหเ้ ข่าอยู่ระหวา่ งแขน และหวั ของผปู้ ่ วย ส่วนเทา้ อีกขา้ งหน่ึงวางอยรู่ ะดบั ศอกของผปู้ ่ วย 4.วางฝ่ ามือท้งั สองขา้ งบนหลงั ผปู้ ่ วยปลายนิ้วแม่มือท้งั สองขา้ งชิดกนั ตรงกลางสันหลงั ต่ากวา่ กระดูกสะบกั แลว้ โนม้ ตวั ลงจนแขนต้งั ฉากกบั ลาตวั ผปู้ ่ วยใหน้ ้าหนกั กดลงไปบนหลงั ท้งั หมดพร้อมนบั ดงั ๆ หน่ึง สอง ระวงั อยา่ งอขอ้ ศอก 5.แลว้ เล่ือนตวั กลบั ที่เดิม เลื่อนนิ้วมือไปจบั ขอ้ ศอกของผปู้ ่ วยนบั สาม ดงั ๆ 6.ยกขอ้ ศอกและแขนของผปู้ ่ วยข้ึนใหพ้ น้ จากพ้นื ชา้ ๆ นบั ส่ี หา้ อยา่ งดึงผปู้ ่ วยไปขา้ งหนา้ เพราะจะทาใหท้ างเดินของอากาศอุดตนั 7.ค่อยๆ ลดศอกผปู้ ่ วยลงเล่ือนมือเราไปไวบ้ นหลงั ในท่าแรกนบั หก ทาเช่นน้ีต่อเน่ืองจงั หวะสม่าเสมอ จนผปู้ ่ วยเร่ิมหายใจเอง จึงยกเฉพาะขอ้ ศอกและแขน การผายปอดจงั หวะแรกไม่ควรกดแรงเกินไปหากแขนและทรวงอกไดร้ ับอนั ตราย ใหผ้ ายปอดโดยยกใตไ้ หล่ของผปู้ ่ วยกพ็ อ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: